หน่วยท่ี 1 เครื่องมือและอปุ กรณ์ในการเขียนแบบ
หน่วยที่ 1 พฒั นาการการเขยี นแบบ DRAWING DEVELOPMENT แนวคิด การเขียนแบบเป็ นพ้ืนฐานในงานอุตสาหกรรม ซ่ึงการเขียนแบบเป็ นภาษาสากลที่ใช้ ในการสื่อสารในงานอุตสาหกรรม ระหวา่ งสถาปนิก วิศวกร ช่างเทคนิค และผปู้ ฏิบตั ิงาน โดยมี ววิ ฒั นาการอยา่ งต่อเนื่องจนถึงปัจจุบนั การเขียนแบบเป็ นงานท่ีมีความสาคญั มีคุณค่า และมีความ ชดั เจน ดงั น้นั การเขียนแบบที่จะใหไ้ ดม้ าตรฐานและรวดเร็ว จาเป็ นตอ้ งใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ ในการเขียนแบบอยา่ งถูกตอ้ ง ซ่ึงเป็นปัจจยั สาคญั อยา่ งหน่ึงของการเขียนแบบ ผทู้ ่ีปฏิบตั ิการเขียนแบบ จึงควรทาความเขา้ ใจกบั เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชเ้ สียก่อน เพื่อให้สามารถเลือกใชเ้ คร่ืองมือและ อุปกรณ์เขียนแบบที่มีคุณภาพดีและเหมาะสมกบั งานมากท่ีสุด สาระการเรียนรู้ พฒั นาการการเขียนแบบ 1. ความหมายของการเขียนแบบ 2. ววิ ฒั นาการของการเขียนแบบ 3. ความสาคญั ของการเขียนแบบ 4. ลกั ษณะของการเขียนแบบ 5. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ 6. วธิ ีการใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์ในการเขียนแบบ จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงคท์ วั่ ไป 1. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจววิ ฒั นาการในการเขียนแบบ ความสาคญั ของการ เขียนแบบและลกั ษณะการเขียนแบบ 2. เพ่ือให้ผูเ้ รียนมีความรู้ความเข้าใจ เลือกใช้ และการบารุงรักษาเครื่องมือและ อุปกรณ์เขียนแบบ
2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของการเขียนแบบได้ 2. บอกววิ ฒั นาการของการเขียนแบบได้ 3. บอกความสาคญั ของการเขียนแบบได้ 4. บอกลกั ษณะของการเขียนแบบได้ 5. บอกชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์การเขียนแบบได้ 6. บอกวธิ ีการใชง้ านของเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเขียนแบบได้ 7. ใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง คุณธรรมจริยธรรมอนั พงึ ประสงค์ 1. ตรงต่อเวลาในการเขา้ ช้นั เรียน 2. แต่งกายถูกตอ้ งตามระเบียบของวทิ ยาลยั การอาชีพพนสั นิคม 3. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ในการเรียน 4. ความต้งั ใจใฝ่ รู้ ขยนั หมน่ั เพยี รในการเรียน
3 ความหมายของการเขยี นแบบ การเขียนแบบ หมายถึง การถ่ายทอดจินตนาการความคิด สร้างสรรค์ ของสถาปนิก วิศวกร หรือ นกั ออกแบบ ใหอ้ อกมาเป็ นรูปร่างของชิ้นงานบนกระดาษ โดยการลากเส้นประกอบกนั หลายลกั ษณะ เช่น เส้นตรงในแนวนอน แนวดิ่ง แนวเอียง ตลอดจนเส้นโคง้ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั จนเกิดเป็ นรูปร่างของชิ้นงานข้ึน เรียกว่า แบบงาน สาหรับนาไปสร้างเป็ นชิ้นส่วน เคร่ืองจกั รกลและผลิตภณั ฑต์ ่างๆ ข้ึน ววิ ฒั นาการของการเขยี นแบบ มนุษยเ์ ร่ิมรู้จกั การเขียนแบบต้งั แต่สมยั โบราณ ในสมยั ยคุ หิน มนุษยถ์ ้ามีการส่ือสารกนั โดยการเขียนภาพชนิดต่างๆ ไวบ้ นผนงั ถ้า ก้อนหิน ผิวหนงั ในยุคของอียิปตโ์ บราณสมยั ของ กษตั ริยฟ์ าโรห์โซเซอร์ (Djozer) แห่งราชวงศท์ ี่ 3 ไดค้ น้ พบบนั ทึกเป็ นภาษารูปภาพ (ฮีโรกราฟิ ก) ซึ่งมีอายุประมาณ 4,500 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช คือ วิหารฮทั เซปสุต ซึ่งเชื่อวา่ เป็ นผลงาน การออกแบบของอิมโฮเท็ป (Imhothep) ผูท้ ี่ได้รับการยกย่องนับถือให้เป็ นเทพเจา้ แห่งปัญญา ความรอบรู้และสถาปัตยกรรม โดยเป็ นผูอ้ อกแบบที่ฝังพระศพของพระองค์ จากจินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ของอิมโฮเทป็ จึงเป็ นตน้ แบบในการสร้างที่ฝังพระศพของกษตั ริยฟ์ าโรห์และ ราชวงศอ์ ียปิ ตโ์ บราณในยคุ ต่อมา รูปที่ 1.1 แสดงสญั ลกั ษณ์ท่ีมนุษยถ์ ้าบนั ทึกไวบ้ นแผน่ หินและวหิ ารฮทั เซปสุตในหุบเขากษตั ริย์ ท่ีมา : มนตรี น่วมจิตต์ และคณะ, ม.ป.ป. : หนา้ 7 ; ประเวช มณีกตุ . 2547 : หนา้ 2
4 ต่อมามีการคน้ พบหลกั ฐานชิ้นสาคญั ทางโบราณคดี ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ งานทางสถาปัตยกรรม จึงตอ้ งมีการใช้รูปภาพกราฟิ กและสัญลกั ษณ์ต่างๆ มาเกี่ยวขอ้ งในการเขียนแบบ โดยคน้ พบแผ่นหินที่มีการขีดเขียนเป็ นภาพแปลนป้ อมปราการ ซ่ึงสันนิษฐานว่าเขียนข้ึนโดย ชาเดลกูตวั วิศวกรชาวเมโซโปเตเมีย ซ่ึงมีอายุประมาณ 4,000 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช และประมาณ 1,000 ปี ก่อนที่จะมีการนากระดาษมาใชใ้ นงานเขียนแบบ รูปที่ 1.2 แสดงแปลนป้ อมปราการบนแผน่ หิน ท่ีมา : นริศ ศรีเมฆ. 2550 : หนา้ 2 ในยุคอาณาจกั รโรมนั รุ่งเรือง ซ่ึงเป็ นยุคท่ีมีการพฒั นาในการเขียนแบบมากข้ึน โดยมี การประดิษฐเ์ ครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเขียนแบบ เช่น วงเวยี น และปากกา เป็นตน้ รูปท่ี 1.3 แสดงวงเวยี นและปากกาเขียนแบบ ที่มา : นริศ ศรีเมฆ. 2550 : หนา้ 3
5 นอกจากน้ี ลีโอนาโด ดาวินซี ชาวอิตาลี ได้รับการยกย่องเป็ นผู้ทรงภูมิปัญญา ในวิทยาการดา้ นต่างๆ เช่น จิตรกร ที่ไดร้ ับสร้างสรรค์งานดา้ นศิลปกรรมไวม้ ากมาย และยงั เป็ น วิศวกรที่ถ่ายทอดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ โดยการสเกตซ์เป็ นภาพสามมิติ (Pictorial Drawing) หลายชิ้น ซ่ึงเป็ นตน้ แบบในการนามาเป็ นแนวทางพฒั นาสร้างข้ึนเป็ นเครื่องจกั รกล ในงานวศิ วกรรมปัจจุบนั และ ลีโอนาโด ดาวนิ ซี ยงั ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ นบิดาแห่งวงการเขียนแบบ ในปัจจุบนั รูปที่ 1.4 แสดงภาพสเกตซ์ของ ลีโอนาโด ดาวนิ ซี ท่ีมา : นริศ ศรีเมฆ. 2550 : หนา้ 3 ; ประเวช มณีกุต. 2547 : หนา้ 4 แกสมาร์ด มอคกิจ ชาวฝรั่งเศส เป็ นผรู้ ิเร่ิมเขียนรูปร่างดา้ นต่างๆ ของชิ้นงาน แลว้ นามาใช้ ในงานก่อสร้าง ทาให้สามารถมองเห็นรายละเอียดของชิ้นงานไดช้ ดั เจนข้ึน ซ่ึงพฒั นาการมาเป็ น การเขียนแบบภาพฉาย (Orthographic Projection) และเป็ นพ้ืนฐานการเขียนแบบภาพฉาย ในปัจจุบนั โดยปัจจุบันการเขียนแบบได้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มีการนาซอร์ฟแวร์ คอมพิวเตอร์มาช่วยในการเขียนแบบและออกแบบการผลิต ทาให้การเขียนแบบและออกแบบ การผลิตง่ายและสะดวกยง่ิ ข้ึน ไดแ้ ก่ ซอร์ฟแวร์ของ Auto CAD และ Solid Work เป็นตน้
6 รูปท่ี 1.5 แสดงแบบภาพฉายในปัจจุบนั ความสาคัญของการเขยี นแบบ การเขียนแบบมีการพฒั นามาเป็ นระยะโดยตลอด ซ่ึงปัจจุบัน การเขียนแบบ เป็ นภาษาสากลที่ใช้ในการสื่อสารในงานอุตสาหกรรม ระหว่าง สถาปนิก วิศวกร นักออกแบบ ช่างเทคนิค และผูป้ ฏิบตั ิงานที่เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต โดยแบบที่เขียนข้ึนจะตอ้ งสื่อความหมาย ในทางการคน้ หา ไม่ใช่งานทางศิลปะ เพราะเป็ นองคป์ ระกอบสาคญั ของกระบวนการผลิตในงาน อุตสาหกรรม แบบงานจึงตอ้ งมีลกั ษณะง่ายๆ กระชบั และเที่ยงตรง ปราศจากสิ่งตกแต่งท่ีสวยงาม องค์ประกอบที่สาคญั ซ่ึงเป็ นหัวใจของการเขียนแบบ คือ ความเขา้ ใจ สามารถถ่ายทอดความ มุ่งหมายที่ตอ้ งการอยา่ งชดั เจน ตอ้ งสะอาด ตอ้ งมีความกระชบั เที่ยงตรง และไม่มีลวดลายสวยงาม ในการเขียนแบบท่ีดีจะตอ้ งมีความรู้ครอบคลุมถึงมาตรฐานการเขียนเส้น การเขียน ตวั อกั ษร การเขียนภาพฉาย การเขียนแบบภาพตดั และการใช้สัญลกั ษณ์พ้ืนฐานในการเขียนแบบ ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์ในการเขียนแบบ ซ่ึงการเขียนแบบโดยใช้มือต้องอาศัยทักษะและ ประสบการณ์ของผเู้ ขียน จนปัจจุบนั มีการพฒั นานาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเขียนแบบ ซ่ึงทาให้ สามารถเขียนแบบไดส้ ะดวก เรียบร้อย สวยงามและรวดเร็วยงิ่ ข้ึน
7 รูปท่ี 1.6 แสดงการใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ ลกั ษณะของการเขียนแบบ ลกั ษณะของการเขียนแบบไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็ นภาษาสากล ท่ีใชส้ ่ือสารกนั ระหวา่ ง สถาปนิก วิศวกรผูอ้ อกแบบ ช่างเทคนิค และผูป้ ฏิบตั ิงาน ซ่ึงผูเ้ ขียนแบบจาเป็ นต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจในมาตรฐานการเขียนแบบเพ่ือส่ังงาน และมีความสามารถในการอ่านแบบเพ่ือทางาน ตามแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งสมบรู ณ์ การเขียนแบบจึงเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกบั อุตสาหกรรมการผลิตทุกสาขา ดงั น้ี 1. การเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม เป็ นแบบที่เขียนข้ึนเพ่ือใช้ในงานก่อสร้างต่างๆ เช่น อาคารสานกั งาน ที่พกั อาศยั อาคารพาณิชย์ เป็นตน้ รูปที่ 1.7 แสดงแบบบา้ น
8 2. การเขียนแบบโครงสร้าง เป็ นแบบวิศวกรรมที่เขียนข้ึนในงานก่อสร้างอีกชนิดหน่ึง แตจ่ ะคานึงถึงโครงสร้าง ของอาคารเป็นหลกั เช่น ฐานราก คานและเสา เป็นตน้ รูปที่ 1.8 แสดงแบบโครงสร้างอาคาร 3. การเขียนแบบไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นแบบที่เขียนแสดงลกั ษณะการจดั วาง ตาแหน่งของอุปกรณ์ในงานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ลักษณะวงจรและทิศทางการไหลของ กระแสไฟฟ้ า รูปท่ี 1.9 แสดงแบบไฟฟ้ าอิเลก็ ทรอนิกส์ ท่ีมา : ประเวช มณีกุต. 2547 : หนา้ 6
9 4. การเขียนแบบเคร่ืองมือกล เป็ นแบบที่เขียนแสดงชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องจกั ร เคร่ืองกล เพื่อนามาผ่านกระบวนการผลิต และข้ึนรูป เช่น การกลึง การไส การกดั การเจาะ หรือ เจียระไน แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 4.1 การเขียนแบบภาพประกอบ (Assembly Drawing) เป็ นการเขียนแบบแสดง ลกั ษณะการประกอบชิ้นส่วนเครื่องจกั รกลต่างๆ ซ่ึงการประกอบชิ้นส่วนแต่ละชิ้นประกอบกนั อยใู่ นตาแหน่งอยา่ งไร โดยแบบภาพประกอบมีความสาคญั และจาเป็ นต่อการผลิตชิ้นส่วนที่ตอ้ งใช้ หลายชิ้นประกอบกนั ทาใหส้ ามารถวางแผนและควบคุมการผลิตใหเ้ ป็นไปตามแบบงาน รูปที่ 1.10 แสดงแบบภาพประกอบ ที่มา : นริศ ศรีเมฆ. 2546 : หนา้ 256 4.2 การเขียนแบบภาพแยกชิ้น (Detail Drawing) เป็ นการเขียนแบบชิ้นส่วนแต่ละชิ้น ของเครื่องจกั รกลต่างๆ เพื่อแสดงลกั ษณะ รูปร่าง และรายละเอียดของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น ให้ชัดเจน ทาให้ง่ายต่อการอ่านแบบและทาการผลิตชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อนามาประกอบกัน เป็นเคร่ืองจกั ร และอุปกรณ์ตอ่ ไป
10 รูปท่ี 1.11 แสดงแบบภาพแยกชิ้น 5. การเขียนแบบสาหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ เป็ นแบบท่ีเขียนข้ึนเพื่อใช้ในการผลิต ผลิตภณั ฑ์ที่มีจานวนมาก หรือมีการผลิตแบบต่อเนื่องซ่ึงเป็ นลักษณะการเขียนแบบเครื่องกล อีกชนิดหน่ึง รูปท่ี 1.12 แสดงแบบสาหรับผลิตภณั ฑ์
11 6. การเขียนแบบงานท่อ เป็ นแบบท่ีเขียนแสดงชนิดและอุปกรณ์ในงานท่อ สาหรับ ติดต้งั ภายในอาคารที่พกั อาศยั หรือในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อใชส้ าหรับลาเลียงน้าหรือของเหลว รูปที่ 1.13 แสดงแบบงานท่อ ท่ีมา : ประเวช มณีกุต. 2547 : หนา้ 6 7. การเขียนแบบงานเชื่อมโลหะ เป็ นแบบที่เขียนแสดงการประกอบชิ้นส่วนงาน แต่ละชิ้นเขา้ ดว้ ยกนั โดยการเชื่อมประสานโลหะใหห้ ลอมละลายติดกนั รูปท่ี 1.14 แสดงแบบงานเชื่อมโลหะ
ไปก ิบนท ์ร ุบ ีร 12 8. การเขียนแบบแผ่นคลโ่ี ลหะ เป็ นการเขียนแบบลงบนพ้ืนผิวโลหะแผน่ เพ่ือทาเป็ น ผลิตภณั ฑ์ต่างๆ เช่น ภาชนะบรรจุของเหลว ระบบท่อระบายอากาศภายในอาคาร ตวั ถงั รถยนต์ เป็ นตน้ รูปที่ 1.15 แสดงแบบแผน่ คลี่ ท่ีมา : ประเวช มณีกตุ . 2547 : หนา้ 7 9. การเขียนแบบแผนที่ เป็ นการเขียนแบบแผนที่รังวดั ที่ดิน สภาพภูมิประเทศ แผนผงั ที่ต้งั อาคาร อุทกศาสตร์ การบิน และถนน รูปที่ 1.16 แสดงแบบแผนท่ี
13 10. การเขียนแบบสิทธิบัตร เป็ นการเขียนแบบสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่คิดคน้ ข้ึนได้ เพ่ือ แสดงต่อกองสิทธิบตั รของทางราชการเพ่ือป้ องกนั การลอกเลียนแบบ การเขียนแบบสิทธิบตั รน้ี จะต้องแสดงและแยกส่วนประกอบต่างๆ ท่ีสาคญั ของส่ิงประดิษฐ์ โดยอาจจะเป็ นภาพสามมิติ (Pictorial) หรือเขียนเป็นภาพฉาย (Orthographic) หรือท้งั สองแบบกไ็ ด้ 1. กลอ่ งปล่อยลูกปิ งปอง 2. ใบพดั ลาเลียงลกู 3. มอเตอร์ชุดเฟื องขบั 4. ท่อลาเลียงลกู 5. ชุดขบั ลกู 6. จุดปรับองศา 7. เพลาปรับระดบั 8. จุดลอ็ กแกนเพลา 9. ชุดขา 10. กลอ่ งควบคุม รูปที่ 1.17 แสดงแบบสิทธิบตั ร เครื่องมอื และอปุ กรณ์ในการเขยี นแบบ การเขียนแบบท่ีไดม้ าตรฐานและรวดเร็ว ผอู้ อกแบบตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการ เลือกใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ ตลอดจนมีความเขา้ ใจในเทคนิค วิธีการเขียนแบบ จึงจะทาให้การเขียนแบบไดแ้ บบงานที่มีคุณภาพไดม้ าตรฐาน และถูกตอ้ ง เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ แบง่ ไดด้ งั น้ี 1. โต๊ะเขยี นแบบ (Drawing Table) โต๊ะเขียนแบบเป็ นโตะ๊ ท่ีใชส้ าหรับยึดติดกระดาษ เขียนแบบ มีโครงสร้างแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั บริษทั ผูผ้ ลิต โดยทว่ั ไปจะมีความสูงเป็ นมาตรฐาน เดียวกัน สามารถปรับความสูงได้เพื่อให้มีความสูงเหมาะสมกับผู้ใช้งาน พ้ืนโต๊ะเป็ นรู ป สี่เหลี่ยมผืนผา้ ทาจากไมอ้ ดั ปิ ดทบั ดว้ ยวสั ดุที่ผิวเรียบ เช่น ฟอร์เมการ์ หรือลามิเนต เป็ นตน้ ขอบโต๊ะ
14 ตอ้ งตรงและเป็ นมุมฉากท้งั ส่ีดา้ น โต๊ะเขียนแบบมีหลายขนาดให้เลือกใช้ เช่น ขนาด 400 x 600 มิลลิเมตร, 600 x 1,000 มิลลิเมตร และ 800 x 1,200 มิลลิเมตร เป็ นตน้ รูปที่ 1.18 แสดงโตะ๊ เขียนแบบ 2. กระดานเขียนแบบ (Drawing Board) กระดานเขียนแบบ เป็ นอุปกรณ์เขียนแบบ ท่ีใช้งานเช่นเดียวกบั โต๊ะเขียนแบบ ไม่มีโครงโต๊ะและขาโต๊ะ สามารถเคลื่อนยา้ ยไปไหนได้ง่าย และสะดวกสบาย ขอบท้งั สี่ดา้ นตอ้ งเรียบตรงและไดฉ้ ากกนั ท้งั สี่ดา้ น กระดานเขียนแบบมีหลายขนาด ใหเ้ ลือกใช้ เช่น ขนาด 360 x 470 มิลลิเมตร, 470 x 650 มิลลิเมตร และ 650 x 950 มิลลิเมตร เป็นตน้ รูปท่ี 1.19 แสดงกระดานเขียนแบบ
15 การบารุงรักษาโต๊ะเขียนแบบและกระดานเขยี นแบบ มีดงั น้ี 1. หา้ มขีดเขียนใดๆ ลงบนผวิ หนา้ ของกระดานเขียนแบบ เพราะจะทาใหส้ กปรก 2. ทาความสะอาดผวิ หนา้ ของกระดานใหส้ ะอาดก่อนใชง้ านเสมอ เพราะจะส่งผล ใหม้ ีผลต่อกระดานเขียนแบบสะอาดไมส่ กปรก 3. หา้ มใชข้ องมีคมกรีดลงบนผวิ หนา้ ของกระดาน เพราะจะทาให้ผิวหนา้ กระดาน เสียหาย เป็ นรอยร่องลึก ไม่สามารถนาไปใช้รองเขียนแบบได้ เนื่องจากจะทาให้เกิดการสะดุด เวลาขีดเส้นในรูปแบบต่างๆ 4. ควรรักษาผิวและบริเวณขอบโต๊ะไม่ให้มีรอยและส่ิงสกปรก พร้อมท้งั ต้อง ไดฉ้ ากอยเู่ สมอ 3. บรรทัดตัวทีหรือไม้ที (T–Square) เป็ นเครื่องมือท่ีใช้ในการเขียนแบบเส้นตรง ในแนวนอน และใช้ร่วมกบั ฉากสามเหลี่ยมในการเขียนเส้นตรงในแนวดิ่ง และเส้นเอียงมุมต่างๆ มีลกั ษณะรูปร่างเป็นตวั ที (T) มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนหวั (Head) และส่วนใบ (Blade) ทาจาก ไมห้ รือพลาสติก ท้งั สองส่วนจะยึดติดกนั เป็ นมุมฉาก ส่วนบนของใบจะมีมาตราวดั ติดยาวตลอด ความยาวโดยทวั่ ไปจะมีหน่วยเป็นระบบเมตริกท่ีวดั เป็นมิลลิเมตร รูปท่ี 1.20 แสดงลกั ษณะไมท้ ี 4. บรรทัดเลื่อนหรือทีสไลด์ (Parallel Slide or T–Side) เป็ นเครื่องมือที่ใช้งาน ในลกั ษณะเป็ นบรรทดั มีมาตราวดั สามารถนามาประกอบกบั โต๊ะเขียนแบบโดยใชห้ ลกั การทางาน ของเชือกและรอก ท่ีปลายท้งั 2 ขา้ ง สามารถเคล่ือนท่ีในทิศทางข้ึน-ลงขนานกบั กระดาษเขียนแบบ ทาใหม้ ีความสะดวกในการใชง้ านและมีความขนานเที่ยงตรงกวา่ ไมท้ ี
16 รูปท่ี 1.21 แสดงลกั ษณะบรรทดั เล่ือน การบารุงรักษาไม้ทแี ละทสี ไลด์ มีดงั น้ี 1. ไม่ควรงดั ไมท้ ีกบั ขอบโต๊ะหรือกระดานเขียนแบบขณะใช้งาน ควรจบั เล่ือน ข้ึนลงดว้ ยแรงธรรมดา เพราะจะทาใหห้ วั ไมท้ ีชารุดหลวมขาดความเที่ยงตรงขณะใชง้ าน 2. ไม่ควรนาไมท้ ีไปเคาะกนั และเคาะกับส่ิงอื่น เพราะจะทาให้ขอบของไมท้ ี เป็ นรอยเสียหาย 3. ไม่ควรนาไมท้ ีไปกดยนั กบั พ้ืนขณะพกพา เพราะจะทาให้บรรทดั เกิดการบิด เสียรูปทรง 4. เช็คทาความสะอาดก่อนใชง้ านทุกคร้ัง 5. เก็บไมท้ ีทุกคร้ังเม่ือเลิกใชง้ าน โดยควรเก็บไมท้ ีไวบ้ นโตะ๊ เขียนแบบ หรือโต๊ะ ทางาน เพอ่ื ป้ องกนั ไมใ่ หเ้ กิดการเสียรูปทรงและบิดงอ 6. ขณะใชง้ านทีสไลด์ ควรจบั บรรทดั ยกข้ึนเล็กนอ้ ยก่อนท่ีจะเล่ือนบรรทดั ข้ึนลง และค่อยๆ วางลงเบาๆ อยา่ ปล่อยวางลงทนั ที เพราะบรรทดั จะแตกเสียหายได้ 5. บรรทดั สามเหลย่ี มหรือเซ็ท (Triangles or Set) หรือฉากสามเหล่ียม ปกติจะทาจาก พลาสติกใส เพ่ือให้สามารถมองเห็นเส้นที่เขียนและส่วนอื่นๆ ของแบบได้ชดั เจน บริเวณขอบ บรรทดั จะมีมาตราวดั ไวใ้ ช้งาน ท้งั ระบบเมตริกที่วดั เป็ นมิลลิเมตรและระบบองั กฤษที่วดั เป็ นนิ้ว บรรทดั สามเหล่ียมจะใชค้ ู่กบั ไมท้ ีสาหรับใชเ้ ขียนเส้นในแนวดิ่ง เขียนเส้นในแนวเอียงเป็ นมุมต่างๆ มีอยู่ 2 แบบ ดงั น้ี
17 5.1 ฉากสามเหล่ียมแบบตายตัว (Set Square) ทาจากพลาสติกเป็ นรูปสามเหล่ียม ท่ีบริเวณขอบฉากสามเหล่ียมจะมีดา้ นเรียบและดา้ นเอียง มีมาตราวดั ไวใ้ ช้งานท้งั ระบบเมตริกและ ระบบองั กฤษ มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบมุมภายใน 45 - 90 องศา และแบบมุมภายใน 30 - 60 - 90 องศา รูปที่ 1.22 แสดงฉากสามเหล่ียมแบบตายตวั 5.2 ฉากสามเหลี่ยมแบบปรับมุมได้ (Adjustable Triangle) ทาจากพลาสติกเป็ นรูป สามเหลี่ยมมีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่กบั ที่และส่วนที่เคลื่อนที่มีมาตราวดั มุมติดกบั บรรทดั สามารถปรับมุมต่างๆ ได้ รูปที่ 1.23 แสดงฉากสามเหล่ียมแบบปรับมุมได้
18 การบารุงรักษาบรรทดั สามเหลย่ี ม มีดงั น้ี 1. ควรรักษาขอบของบรรทดั สามเหลี่ยมไม่ให้มีรอยแตก เวา้ เพราะจะทาให้เกิด การสะดุดเวลาเขียนเส้นที่ไดไ้ ม่ตรงและมีรอยหยกั 2. ก่อนใช้งานทุกคร้ังควรเช็ดทาความสะอาดผิวหน้าของบรรทัดด้วยผา้ นุ่ม ที่สะอาด ไม่ควรใชผ้ า้ แขง็ หรือกระดาษชาระเช็ด เพราะจะทาใหเ้ ส้นบนบรรทดั ลบเลือนหายไป 3. ห้ามใชน้ ้ายาและสารละลายต่างๆ เช่น ทินเนอร์มาเช็ดบนบรรทดั เป็ นอนั ขาด เพราะจะทาใหผ้ วิ บรรทดั มวั หมองใชก้ ารไมไ่ ด้ 4. ไม่ควรนาบรรทดั สามเหล่ียมไปตากแดดหรือใกล้ความร้อน เพราะจะทาให้ เกิดการเสียรูปและบิดงอได้ 5. เม่ือเลิกใช้งานควรเก็บบรรทดั สามเหล่ียมไวใ้ นกล่องพลาสติกทุกคร้ัง เพื่อ ป้ องกนั ฝ่ นุ เกาะและการลบเลือนของเส้นบรรทดั 6. บรรทัดเขียนส่วนโค้งหรือเคอร์ฟ (Irregular Curves) บรรทดั เขียนส่วนโคง้ เป็ นเครื่องมือที่ใช้เขียนส่วนโคง้ หรือเส้นโคง้ ท่ีไม่สามารถใช้วงเวียนเขียนได้ การใช้บรรทดั โคง้ จะตอ้ งวางบรรทดั โคง้ ใหส้ ัมผสั จุดที่ตอ้ งการเขียนส่วนโคง้ อยา่ งนอ้ ย 3 จุด จึงจะทาให้ส่วนโคง้ น้นั เรียบและตอ่ เนื่องกนั อยา่ งสมบูรณ์ รูปท่ี 1.25 แสดงบรรทดั เขียนส่วนโคง้ และการเขียนส่วนโคง้ ดว้ ยบรรทดั เขียนส่วนโคง้
19 การบารุงรักษาบรรทดั เขยี นส่วนโค้ง มีดงั น้ี 1. ควรรักษาขอบของบรรทดั เขียนส่วนโค้งไม่ให้มีรอยแตก เวา้ เพราะจะทาให้ ส่วนโคง้ ที่เขียนมีรอยหยกั ไมส่ มดุลทาใหไ้ มไ่ ดร้ ูปตามที่ตอ้ งการ 2. ควรรักษาอย่าให้ขอบของบรรทดั เขียนส่วนโคง้ สกปรกและมีฝ่ ุนเกาะบริเวณ ขอบเวา้ ของบรรทดั เขียนส่วนโคง้ เพราะจะทาใหแ้ บบงานสกปรก เวลาเขียนเส้นส่วนโคง้ 7. บรรทัดสเกล (Scale) บรรทดั สเกลเป็ นบรรทดั ท่ีมีมาตราส่วนต่างๆ หลายขนาด ข้ึนอยกู่ บั บริษทั ผผู้ ลิต เช่น 1 : 1 , 1 : 2 , 1 : 3 , 1 : 5 เป็ นตน้ เพ่ือให้สะดวกในการเขียนแบบท่ีตอ้ งใช้ มาตราส่วนในการเขียนแบบโดยใชม้ าตราส่วนยอ่ หรือขยายทาใหส้ ะดวกและรวดเร็ว รูปที่ 1.24 แสดงบรรทดั สเกล การบารุงรักษาบรรทัดสเกล มีวธิ ีเช่นเดียวกบั บรรทดั ฉากสามเหลี่ยม และเมื่อเลิกใชง้ าน ตอ้ งเกบ็ ใส่กล่องทุกคร้ังเพอ่ื ป้ องกนั การลบเลือนและจางหายของเส้น 8. บรรทดั กระดูกงู (Flexible Spine) บรรทดั กระดูกงู เป็ นอุปกรณ์ที่ใชเ้ ขียนส่วนโคง้ ที่มีขนาดยาว ๆ ต่อกันหลาย ๆ ช่วง มีลักษณะเป็ นเส้นยาว ขอบนอกทาจากพลาสติกภายใน เป็นโลหะท่ีโคง้ งอไดโ้ ดยไมห่ กั สามารถดดั โคง้ งอเป็นส่วนโคง้ ตามตอ้ งการ รูปที่ 1.26 แสดงบรรทดั กระดูกงู
20 การบารุงรักษาบรรทดั กระดูกงู มีดงั น้ี 1. ห้ามบิดตวั และหกั งอบรรทดั กระดูกงูเป็ นมุมแคบเกินไป เพราะจะทาใหล้ วดโลหะ ภายในหกั เสียหายได้ 2. ห้ามใชบ้ รรทดั กระดูกงูตีกบั ขอบโต๊ะ และสิ่งอื่นใดเพราะจะทาให้ลวดโลหะ ภายในเสียรูปทรงอาจทาใหฉ้ ีกขาดได้ 9. วงเวียน (Compass) วงเวียนเป็ นเคร่ืองมือท่ีใช้เขียนส่วนโคง้ (Arcs) หรือวงกลม (Circle) สามารถปรับขยายขาใหแ้ คบและกวา้ งได้ ขาขา้ งหน่ึงเป็นเหล็กแหลม อีกดา้ นหน่ึงจะมีชุดจบั ดินสอ แบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านได้ 4 แบบ ดงั น้ี 9.1 วงเวียนขาตาย (Dies Compass) หรือวงเวียนดินสอ เป็ นวงเวียนท่ีใช้สาหรับ เขียนวงกลมหรือส่วนโคง้ ไส้ดินสอท่ีอยกู่ บั ปลายของวงเวยี นมีขนาด 2 มิลลิเมตร จะตอ้ งอ่อนกวา่ ไส้ดินสอท่ีใชเ้ ขียนแบบท่ีนิยมใช้ คือ เกรด 2B เนื่องจากการใชว้ งเวียนเขียนวงกลมหรือส่วนโคง้ น้นั จะไม่สามารถออกแรงกดขาของวงเวียนไดเ้ ท่ากบั การกดที่ดินสอเขียนแบบ วงเวยี นชนิดน้ีเวลาปรับ รัศมีวงเวียนตอ้ งใชน้ ิ้วกางขาวงเวยี นออก เมื่อตอ้ งการรัศมีกวา้ งและใชน้ ิ้วบีบขาวงเวียนให้หุบเขา้ เมื่อตอ้ งการรัศมีแคบ รูปท่ี 1.27 แสดงวงเวยี นขาตายหรือวงเวยี นดินสอและวงเวยี นขาสปริง
21 9.2 วงเวียนขาสปริง (Bow Compass) เป็ นวงเวียนที่ใช้สาหรับเขียนวงกลมและ ส่วนโคง้ ที่ตอ้ งการความละเอียดและเท่ียงตรงสูง ขาของวงเวียนดา้ นที่จบั ยดึ ดินสอ ส่วนใหญ่ดินสอ ท่ีใชส้ าหรับวงเวียนแบบน้ีจะเป็ นดินสอเขียนแบบหรือดินสอกดแบบส้ัน วงเวียนชนิดน้ีเวลาปรับ รัศมีของวงเวียนให้มีรัศมีกวา้ งและแคบน้นั สามารถปรับไดโ้ ดยการหมุนปรับหรือคลายสกรูที่อยู่ ตรงกลางระหวา่ งขาวงเวยี นใหไ้ ดร้ ัศมีตามที่ตอ้ งการ 9.3 วงเวียนถ่ายขนาด (Dividers) เป็ นวงเวียนที่มีลกั ษณะคล้ายวงเวียนทวั่ ไป แตกต่างตรงท่ีขาวงเวียนท้งั สองขา้ งจะทาจากเหล็กแหลม ใชส้ าหรับถ่ายขนาดจากเคร่ืองมือวดั และ นาไปถ่ายขนาดแบบงานลงในกระดาษเขียนแบบหรือโลหะชิ้นงาน หรือใช้แบ่งเส้นตรงออกเป็ น หลายส่วนเท่าๆ กนั ซ่ึงทาใหม้ ีความรวดเร็วในการถ่ายขนาดมากกวา่ การใชว้ งเวยี นทว่ั ไป รูปที่ 1.28 แสดงวงเวยี นถ่ายขนาด 9.4 วงเวียนคาน (Beam Compass) เป็ นวงเวียนที่ใช้สาหรับเขียนวงกลม หรือ ส่วนโคง้ ท่ีมีขนาดใหญ่ ซ่ึงไม่สามารถเขียนดว้ ยวงเวียนธรรมดาได้ มีส่วนประกอบหลกั 3 ส่วน คือ ส่วนท่ีหน่ึงเป็ นแกนหลักเรียกว่า คาน (Beam) ส่วนท่ีสองเป็ นชุดเหล็กปลายแหลม ส่วนที่สาม เป็นชุดดินสอหรือเหล็กแหลม โดยส่วนท่ีสองและสามสามารถเลื่อนไปมาบนคานแกนหลกั และมี สกรูสามารถยดึ ตาแหน่งไว้
22 รูปท่ี 1.29 แสดงวงเวยี นคาน การบารุงรักษาวงเวยี น มีดังนี้ 1. ไม่ควรใชป้ ลายแหลมของวงเวยี นขีดเขียนบนผวิ ของวสั ดุท่ีเป็ นโลหะและวสั ดุ ท่ีแขง็ กวา่ 2. เม่ือหยุดใช้วงเวียน ในขณะเขียนแบบควรวางวงเวียนในบริเวณท่ีไม่ลื่นไหลตก จากโตะ๊ เพราะจะทาใหป้ ลายแหลมของวงเวยี นตกกระแทกพ้ืนแลว้ บิดงอหรือดินสอหกั เสียหาย 3. การพกพาวงเวียนควรใส่กล่องให้เรียบร้อย เพื่อป้ องกนั อนั ตรายจาก ปลายแหลมทิ่มแทง 4. ไมค่ วรใชว้ งเวยี นหยอกลอ้ เล่นกนั เพราะเป็นอนั ตรายทาใหบ้ าดเจบ็ ได้ 10. ปากกาเขียนแบบ (Drawing Pen) ปากกาเขียนแบบเป็ นเครื่องมือท่ีใชส้ าหรับเขียนเส้น ลงในกระดาษไข ปากกาเขียนแบบประกอบดว้ ยหลอดหมึก และปลายเข็มใชส้ าหรับเขียนเส้นที่มีขนาด ความหนาของเส้น ตามอนุกรมกา้ วหนา้ เรขาคณิต คูณดว้ ย 2 รูปท่ี 1.30 แสดงปากกาเขียนแบบ
23 การบารุงรักษาปากกาเขียนแบบ มีดงั น้ี 1. ขณะเขียนไม่ควรกดปลายปากกาในลกั ษณะเขียนเอียงแรงเกินไป เพราะจะทาให้ ปลายปากกาเสียรูปและบิดงอได้ 2. ควรระวงั ไม่ให้ปากการ่วงลงพ้ืน เพราะจะทาให้ไส้ปากกาบิดงอ เสียรูปและ แตกเสียหายได้ 3. เมื่อเขียนเส้นและตวั อกั ษรไม่ติด หรือติดบา้ งไม่ติดบา้ งแสดงว่าไส้ปากกา อุดตนั ให้ถอดไส้ปากกาออกมาทาความสะอาดโดยแช่น้าอุ่นไวร้ ะยะหน่ึงแลว้ ใชแ้ ปรงปัด ขจดั น้าหมึกท่ีแหง้ ติดไส้ปากกาออก แลว้ ลา้ งน้าอุ่นซ้าอีกคร้ัง 11. ดินสอเขียนแบบ (Drawing Pencil) ดินสอเขียนแบบ เป็ นเคร่ืองมือท่ีใชเ้ ขียนเส้น ลงบนกระดาษเขียนแบบตวั ไส้ดินสอทาจากการ์ไฟต์ (Graphite) มีอยู่ 2 แบบ ดงั น้ี 11.1 ดินสอเปลือกไม้ (Wood Pencil) เป็ นดินสอเปลือกไมท้ ่ีหุ้มไส้ดินสอขนาด 2 มิลลิเมตร เวลาใช้งานตอ้ งเหลาให้ไส้ดินสอให้ยื่นออกมาจากเปลือกไม้ และสามารถลบั ปลาย ดินสอที่ใชใ้ นการเปล่ียนแบบได้ 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี รูปท่ี 1.31 แสดงดินสอเปลือกไม้ 11.1.1 การลบั แบบกรวยแหลม เหมาะสาหรับการเขียนตวั อกั ษร การลากเส้น และงานทวั่ ไปแตก่ ารลบั แบบกรวยแหลมน้ี ไส้ดินสอจะสึกหรอไดเ้ ร็ว 11.1.2 การลับแบบลิ่ม การลบั ดินสอแบบลิ่มมีความแข็งแรงกว่า การลบั แบบกรวยแหลม สึกหรอชา้ กวา่ เหมาะสาหรับการลากเส้นตรงไดด้ ี ซ่ึงไดเ้ ส้นขนาดที่เล็ก และมีขนาดเท่ากนั
24 ท่ี 1.32 แสดงการลบั ดินสอแบบตา่ งๆ การเลอื กใช้เกรดดนิ สอในการเขยี นแบบ 1. ดินสอไส้แข็ง (Hard) เกรดต้งั แต่ 9H ถึง 4H เหมาะสาหรับการเขียนเส้นร่างแบบ เส้นเต็มบางและงานที่ตอ้ งการความละเอียดสูง เช่น การเขียนแบบโครงสร้างหรือเขียนแบบ ก่อสร้างอาคาร เกรดที่นิยมใช้ คือ 4H 2. ดินสอไส้แข็งปานกลาง (Medium) เกรดต้งั แต่ 3H ถึง B เหมาะสาหรับเขียนเส้น ขอบรูป เส้นแสดงแนวตดั ตวั เลข ตวั อกั ษร และงานเขียนแบบทวั่ ไป เกรดท่ีนิยมใช้ คือ HB และ B 3. ดินสอไส้อ่อน (Soft) เกรดต้งั แต่ 2B ถึง 7B เหมาะสาหรับงานศิลปะ เช่น การวาดรูปเหมือนดว้ ยดินสอ การแรเงา กลุ่มไสแ้ ขง็ กลมุ่ ไสป้ านกลาง กล่มุ ไสอ้ ่อน รูปที่ 1.33 แสดงการเลือกเกรดดินสอ ที่มา : อานาจ ทองแสน. 2547 : หนา้ 8 11.2 ดินสอแบบเปลี่ยนไส้ ดินสอแบบเปลี่ยนไส้ เป็ นดินสอท่ีไม่มีเปลือกดินสอ มีแต่ไส้ดินสอโดยใชค้ ู่กบั ตวั โครงคลา้ ยปากกา ซ่ึงใชง้ ่ายและสะดวก มีอยู่ 2 แบบดงั น้ี 11.2.1 ดินสอกดแบบไส้ใหญ่ (Mechanical Pencil) เป็ นดินสอกดท่ีใส่ไส้ดินสอ ขนาด 2 มิลลิเมตร ตวั โครงทาจากโลหะหรือพลาสติก ซ่ึงมีกลไกจบั ยึดไส้ดินสอสาเร็จรูปเม่ือกดปลาย ดินสอกลไกไส้ดินสอก็จะเลื่อนเขา้ ออกได้
25 รูปท่ี 1.34 แสดงดินสอกล 11.2.2 ดินสอกดแบบเส้ นเล็ก (Fine Line) หรือดินสอกดไส้มาตรฐาน ลักษณะการทางานคล้ายกบั ดินสอกดแบบไส้ใหญ่ขนาด 2 มิลลิเมตร แต่ไส้ดินสอจะเป็ นแบบ สาเร็จรูปและมีขายตามทอ้ งตลาดทวั่ ๆไป ไส้ดินสอมีขนาดเล็กเหมือนเขม็ มีหลายขนาด เช่น 0.25 , 0.35 , 0.5 และ 0.7 มิลลิเมตร ใช้งานสะดวกไม่ตอ้ งเหลาและลบั ปลายดินสอ เหมาะสาหรับเขียน แบบเส้นตามขนาดความหนาของเส้นที่ตอ้ งการ รูปท่ี 1.35 ดินสอเส้นเล็กหรือดินสอกด การบารุงรักษาดนิ สอเขียนแบบ มีดงั น้ี 1. ขณะเขียนไมค่ วรกดดินสอในลกั ษณะเขียนเอียงแรงเกินไป จะทาให้ปลายของ ดินสอคด หกั งอไดแ้ ละสิ้นเปลืองไส้ดินสอเพราะไส้หกั บอ่ ย 2. เม่ือไส้ดินสอหกั คาและกดไม่ออกควรใชเ้ ส้นลวดเส้นเลก็ เท่าไส้ดินสอแทงออก 3. ควรเกบ็ รักษาดินสอเขียนแบบไวใ้ นกล่องหรือตลบั สาหรับใส่ดินสอ
26 4. ควรระวงั ไม่ใหด้ ินสอร่วงลงพื้น เพราะจะมีโอกาสที่ปลายแกนโลหะดา้ ม ดินสอเกิดการบ้ีแบนเสียรูปทรง และทาให้กดไส้ดินสอออกมาไม่ได้ จะตอ้ งใชเ้ ส้นลวดเหล็กท่ีแขง็ แทงสวนรูปลายแกนออกมา หรือใชป้ ลายแหลมของวงเวยี นงดั ปลายรูแกนดินสอให้บานออก จึงจะ ทาใหส้ ามารถกดไส้ดินสอออกมาใชง้ านได้ 12. เคร่ืองเหลาดินสอ (Pencil Sharpeners) เคร่ืองเหลาดินสอ เป็ นอุปกรณ์มาตรฐาน ท่ีใช้ในการเขียนแบบเพ่ืออานวยควา มสะดวกในการทางานโดยเครื่ องเหลา ดินสอจะเหลาปอก เฉพาะเปลือกไมอ้ อก ซ่ึงจะปล่อยไส้ดินสอเปลือยไวเ้ พื่อให้สามารถนาไปทาการเหลาเป็ นรูปทรง ท่ีตอ้ งการ รูปที่ 1.36 แสดงเครื่องเหลาดินสอ การบารุงรักษาเครื่องเหลาดินสอ มีดงั น้ี 1. เครื่องเหลาดินสอแบบยึดกบั โต๊ะควรยึดให้แน่นป้ องกนั การตกกระแทกแตก ชารุดเสียหาย 2. ขณะเหลาดินสอควรหมุนกา้ นหมุนเบาๆ เพ่ือป้ องกนั การชารุดของใบมีดและ ป้ องกนั การหกั เสียของไส้ดินสอขณะใชเ้ ครื่องเหลา 3. ขณะเหลาดินสอดว้ ยเคร่ืองเหลาดินสอควรเหลาเบาๆ เพ่ือป้ องกนั ความเสียหาย เน่ืองจากใบมีดขดั ถูกบั ดินสอขณะเหลา ทาใหใ้ บมีดทื่อและเสียความคมเร็วเกินไป
27 13. แผ่นแบบ (Templates) เป็ นอุปกรณ์ช่วยในการเขียนแบบ มีลกั ษณะรูปร่างต่างๆ หลายแบบและหลายขนาดตามแบบที่ตอ้ งการ เช่น แผ่นตวั อกั ษร วงกลม วงรี สามเหลี่ยม ส่ีเหล่ียม ห้าเหล่ียม หกเหล่ียม เป็ นตน้ รูปท่ี 1.37 แสดงแผน่ แบบ การบารุงรักษาแผ่นแบบ มีวิธีบารุงรักษาเช่นเดียวกบั บรรทดั ฉากสามเหล่ียม เมื่อเลิกใช้ ควรเก็บแผ่นแบบใส่ไวใ้ นซองพลาสติกทุกคร้ัง เพื่อป้ องกนั ฝ่ ุนเกาะและการลบเลือนของตวั อกั ษร บนแผน่ แบบ 14. ลรี อย (Leroy) เป็นอุปกรณ์ช่วยในการเขียนตวั อกั ษร ตวั เลข เพ่ืออานวยความสะดวก ในการเขียนแบบ รูปที่ 1.38 แสดงลีรอย
28 การบารุงรักษาลรี อย มีดงั น้ี 1. ก่อนใชง้ านทุกคร้ังควรเช็ดทาความสะอาดดว้ ยผา้ นุ่ม 2. ขณะเขียนตวั อกั ษรควรใชห้ วั เขม็ ใส่ลงร่องตวั อกั ษรขนาดเท่ากบั ร่องความหนา ของตวั อกั ษร เพื่อป้ องกนั ร่องตวั อกั ษรขยายตวั มากเกินไปและเสียหาย ทาใหเ้ ขียนตวั อกั ษรไม่ตรง ตามมาตรฐานตวั อกั ษรที่กาหนด 3. เม่ือหยุดหรือเลิกเขียนตวั อกั ษรจะตอ้ งวางชุดเขียนลีรอยในกล่องใส่เสมอ เพื่อป้ องกนั การกระแทกเสียหาย 15. ยางลบดินสอ (Erasers) เป็ นอุปกรณ์ใชล้ บรอยขีดเขียนที่ไม่ตอ้ งการออกจากบน พ้ืนผิวกระดาษ ยางลบที่ดีควรเป็ นยางลบที่มีเนื้อยางอ่อนนุ่ม มีคุณภาพดี เมื่อใช้ลบงานแล้ว จะไมท่ าใหก้ ระดาษเป็นขยุ รูปท่ี 1.39 แสดงยางลบดินสอ การบารุงรักษายางลบดนิ สอ มีดงั น้ี 1. ควรเก็บรักษายางลบไวใ้ นกล่องหรือตลบั สาหรับใส่ยางลบ 2. หา้ มนายางลบดินสอไปใชล้ บเส้นท่ีเขียนดว้ ยปากกาเด็ดขาด 3. หา้ มนายางลบไปถูกบั พ้นื ท่ีสกปรก เพราะเมื่อนามาลบจะทาใหช้ ิ้นงานสกปรกได้ 16. แผ่นก้ันลบ (Erasing Shield) เป็ นแผน่ โลหะบางๆ เจาะรูไวห้ ลายลกั ษณะเพื่อใช้ ก้นั ลบตรงบริเวณที่เขียนเส้นผดิ พลาด
29 รูปที่ 1.40 แสดงแผน่ ก้นั ลบ การบารุงรักษาแผ่นก้นั ลบ มีดงั น้ี 1. ก่อนใช้แผ่นก้ันลบทุกคร้ังตอ้ งทาความสะอาดแผ่นก้ันลบและแบบงาน ให้ปราศจากส่ิงสกปรก และฝ่ ุนยางลบก่อนวางแผ่นก้นั ลบลงบนกระดาษเขียนแบบทุกคร้ัง เพ่ือ ป้ องกนั การเกิดช่องว่างระหว่างแบบงานกบั แผ่นก้นั ลบ เม่ือลบแบบงานตามช่องอีกจะทาให้เกิด รอยยางลบเป้ื อนดาตามแบบงาน 2. หา้ มบิดหรือหกั งอแผน่ ก้นั ลบเพราะจะทาใหแ้ ผน่ ก้นั ลบฉีกขาดและเสียหายได้ 3. ขณะหยบิ จบั แผน่ ก้นั ลบ ควรระมดั ระวงั ขอบของแผน่ ก้นั ลบบาดมือ เน่ืองจาก แผน่ ก้นั ลบทาจากโลหะแผน่ บาง 17. แปรงปัด (Dusting Brush) เป็ นแปรงขนอ่อน ใชส้ าหรับปัดเศษยางลบ และเศษ สิ่งสกปรกตา่ งๆ ออกจากกระดาษเขียนแบบ รูปที่ 1.41 แสดงแปรงปัด http://www.loeitech.ac.th/~we lding/2553/img/Sheets1.pdf
30 การบารุงรักษาแปรงปัด ควรวางแปรงปัดในแนวนอนและไม่ควรนาแปรงปัดไปกดั เล่น กบั วสั ดุแขง็ เพราะจะทาใหข้ นแปรงแตกและหลุดร่วงได้ 18. บรรทัดวัดมุม (Protractor) ใชใ้ นการเขียนมุมเป็ นองศาต่างๆ ตามตอ้ งการ โดยมี วธิ ีการบารุงรักษาเช่นเดียวกบั บรรทดั สามเหล่ียม รูปท่ี 1.42 แสดงบรรทดั วดั มุม 19. เทปกาว (Adhesive Tape) ใชส้ าหรับยดึ กระดาษใหต้ ิดกบั โตะ๊ เขียนแบบ รูปท่ี 1.43 แสดงเทปกาว
31 วธิ ีการใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์เขียนแบบ 1. ลาดับข้นั การตดิ ยดึ กระดาษกบั โต๊ะเขียนแบบ ข้นั ที่ 1 วางกระดาษลงบนโต๊ะเขียนแบบโดยให้เส้นขอบกระดาษขนานกบั ขอบไมท้ ี แลว้ ติดกระดาษท่ีมุมบนดา้ นซา้ ยมือ ข้นั ท่ี 2 รีดกระดาษจากมุมบนดา้ นซา้ ยมือมายงั มุมล่างขวามือ แลว้ ยดึ ดว้ ยเทปกาว ข้นั ท่ี 3 รีดกระดาษจากมุมบนดา้ นซา้ ยมือพร้อมรีดจากมุมล่างดา้ นขวา มายงั มุมบน ดา้ นขวาแลว้ ยดึ ดว้ ยเทปกาว ข้นั ท่ี 4 รีดกระดาษจากมุมบนดา้ นขวามือลงมายงั มุมดา้ นล่างซ้ายมือให้ตรึง แลว้ ยึด ดว้ ยเทปกาว รูปที่ 1.44 แสดงข้นั ตอนการติดยดึ กระดาษกบั โตะ๊ เขียนแบบ
32 2. การจับดินสอเขียนแบบ ตอ้ งจบั ดินสอให้กระชบั มือ ไม่แน่นหรือหลวมเกินไป แนวแกนของดินสอทามุมกบั พ้ืนกระดาษเป็ นมุมประมาณ 60 องศา ปลายดินสอยดึ ติดกบั ขอบไมท้ ี หรือ บรรทดั สามเหล่ียม ขณะเขียนเส้นควรหมุนดินสอไปพร้อมดว้ ยช้าๆ ทิศทางตามเข็มนาฬิกา จะทาใหเ้ ส้นที่เขียนมีความหนาสม่าเสมอกนั ตลอดความยาวเส้น รูปท่ี 1.45 แสดงการจบั ดินสอเขียนแบบ 3. วธิ ีเขียนเส้นในแนวนอน จบั ดินสอเอียงทามุมกบั กระดาษประมาณ 60 องศา และให้ ปลายดินสอชิดกบั ขอบไมท้ ี แลว้ เขียนเส้นในแนวนอน โดยหมุนดินสอไปพร้อมชา้ ๆ จากดา้ นซา้ ย ไปทางขวามือ โดยใหส้ ่วนปลายดินสอติดกบั ขอบไมท้ ี รูปท่ี 1.46 แสดงการเขียนเส้นตรงในแนวนอนดว้ ยไมท้ ี
33 4. วิธีเขียนเส้นในแนวดิ่งด้วยบรรทัดสามเหลี่ยม จบั ดินสอเอียงทามุมกบั กระดาษ ประมาณ 60 องศา โดยใชป้ ลายดินสอชิดกบั ขอบของบรรทดั สามเหล่ียม แลว้ จึงเขียนเส้นโดยให้ หมุนดินสอไปพร้อมชา้ ๆ จากดา้ นล่างข้ึนดา้ นบน ตามแนวต้งั ฉากของบรรทดั สามเหลี่ยม รูปท่ี 1.47 แสดงการเขียนเส้นในแนวต้งั ดว้ ยบรรทดั สามเหลี่ยม 5. วธิ ีเขียนเส้นในแนวเอยี งด้วยฉากสามเหล่ยี ม วิธีใชบ้ รรทดั สามเหลี่ยมมุม 45 - 90 องศา และมุม 30 - 60 - 90 องศา มาประกอบกนั เพื่อเขียนเส้นในแนวเอียงต่างๆ ข้ึนอยูก่ บั มุมที่ตอ้ งการ ซ่ึงเม่ือนาบรรทดั สามเหลี่ยมดงั กล่าวมารวมกนั แล้วได้มุมเล็กสุด คือ 15 องศา โดยวิธีการเขียน เส้นจากด้านซ้ายไปดา้ นขวาตามแนวของบรรทดั สามเหลี่ยม รูปท่ี 1.48 แสดงการเขียนเส้นในแนวเอียงดว้ ยบรรทดั สามเหลี่ยม
34 6. การต้ังปรับปลายดินสอวงเวยี น มีวธิ ีการดงั น้ี 6.1 ปลายดินสอจะตอ้ งส้ันกวา่ ขาเหลก็ แหลมวงเวยี นเล็กนอ้ ย 6.2 ปลายดินสอควรลบั ปลายเป็นรูปลิ่ม กรณีเป็นดินสอไส้ 2 มิลลิเมตร 6.3 กรณีเป็ นดินสอกด เพื่อให้น้าหนกั เส้นเข้ม ควรใช้ไส้ดินสอเกรดความแข็ง ประมาณ 2B รูปที่ 1.49 แสดงการต้งั ปรับปลายดินสอวงเวยี น 7. วธิ ีใช้วงเวยี นเขียนวงกลม หรือส่วนโค้ง มีวธิ ีการเขียนดงั น้ี ข้นั ที่ 1 ต้งั ระยะรัศมีที่ตอ้ งการเขียนกบั สเกลบรรทดั รูปท่ี 1.50 แสดงการต้งั ระยะรัศมีวงเวยี น
35 ข้นั ท่ี 2 วางปลายขาเหลก็ วงเวยี นในตาแหน่งศูนยก์ ลางของวงกลมหรือรัศมี รูปที่ 1.51 แสดงการวางตาแหน่งปลายขาวงเวยี น ข้นั ที่ 3 เร่ิมเขียนวงกลมหรือส่วนโค้งโดยเอียงวงเวียนไปด้านหลังประมาณ 15 องศา และเขียนโดยหมุนวงเวยี นไปตามเขม็ นาฬิกา รูปที่ 1.52 แสดงการเขียนวงกลมดว้ ยวงเวยี น
36 สรุป การเขียนแบบเป็ นภาษาสากลที่ใช้ส่ือสารกนั ในงานอุตสาหกรรมระหว่างสถาปนิก วศิ วกร นกั ออกแบบ ช่างเทคนิค และผปู้ ฏิบตั ิงาน เพื่อใหง้ านที่ปฏิบตั ิ ถูกตอ้ งตามความตอ้ งการของ ผอู้ อกแบบจึงจาเป็นตอ้ งมีการเขียนแบบเพื่อใชใ้ นการส่ังงาน ซ่ึงการเขียนแบบผเู้ ขียนแบบจะตอ้ งมี ความรอบรู้ความเขา้ ใจ และรู้เทคนิควธิ ีการใชเ้ ครื่องมือ และอุปกรณ์เขียนแบบเป็ นอยา่ งดี จึงจะทาให้ ไดง้ านเขียนแบบท่ีดีและมีคุณภาพ
37 แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน หน่วยที่ 1 พฒั นาการการเขยี นแบบ คาชี้แจง จงทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อกั ษรหนา้ คาตอบขอ้ ที่ถูกที่สุดเพยี งขอ้ เดียว ในกระดาษคาตอบ 1. ขอ้ ใดไม่ใช่ความหมายของการเขียนแบบ ก. การเขียนภาพเหมือนธรรมชาติ ข. การถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นภาพ ค. เป็นการสัง่ งานโดยใชร้ ูปภาพแทนคาพดู ง. การลากเส้นลกั ษณะต่างๆ ใหเ้ กิดเป็นภาพ 2. ภาพแปลนป้ อมปราการที่ ซาลเดน กตู วั เขียนข้ึนน้นั เป็นภาพลกั ษณะใด ก. ภาพสามมิติ ข. ภาพตดั ค. ภาพแปลนดา้ นบน ง. ภาพช่วย 3. ผทู้ ่ีไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นผทู้ ่ีใหก้ าเนิดการเขียนแบบคือใคร ก. ลิโอนาโด ดาวนิ ซี ข. ซาลเดล กตู วั ค. ราฟาเอล ง. แกสพาร์ค มอคกิจ 4. ผทู้ ่ีเริ่มเขียนภาพฉายในงานเขียนแบบคือใคร ก. ลิโอนาโด ดาวนิ ซี ข. ซาลเดล กตู วั ค. ราฟาเอล ง. แกสพาร์ค มอคกิจ 5. การผลิตบวั รดน้า ตอ้ งเขียนแบบงานลกั ษณะใด ก. แบบภาพประกอบ ข. แบบแผน่ คลี่โลหะ ค. แบบงานเช่ือม ง. แบบเคร่ืองกล
38 6. ขอ้ ใดไม่ใช่ลกั ษณะการเขียนแบบสิทธิบตั ร ก. เขียนเป็นภาพฉาย ข. เขียนเป็นภาพสามมิติ ค. เขียนแสดงตาแหน่งและการประกอบ ง. เขียนแยกแยะส่วนประกอบที่สาคญั 7. การเขียนแบบมีความสาคญั กบั งานลกั ษณะใดมากที่สุด ก. การเกษตรกรรม ข. พาณิชยกรรม ค. อุตสาหกรรม ง. ศิลปกรรม 8. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของแบบที่ใชใ้ นงานอุตสาหกรรม ก. สะอาดเรียบร้อย ข. ลงสีเพอ่ื ความสวยงาม ค. ถูกตอ้ งตามมาตรฐานการเขียนแบบ ง. แสดงรายละเอียดชดั เจน 9. ในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต วศิ วกรกบั ช่างเทคนิคมีการสงั่ งานกนั อยา่ งไร ก. ใชโ้ ทรศพั ทต์ ิดตามตวั ข. ใชว้ ทิ ยมุ ือถือ ค. ใชแ้ บบงาน ง. ฝากบอกขอ้ ความถึงกนั 10. ผทู้ ี่จะปฏิบตั ิงานเขียนแบบไดด้ ี ควรมีลกั ษณะอยา่ งไร ก. มีความละเอียดรอบคอบ ข. มีความรู้พ้ืนฐานทางเรขาคณิต ค. รู้จกั การใชแ้ ละการบารุงรักษาเคร่ืองมือ ง. ถูกทุกขอ้ 11. บรรทดั สามเหล่ียมทาจากพลาสติกใสมีผลดีอยา่ งไร ก. ราคาถูกกวา่ วสั ดุอ่ืน ข. มีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน ค. รักษาความสะอาดไดง้ ่าย ง. มองเห็นเส้นท่ีเขียนไดช้ ดั เจน
39 12. ไมท้ ีกบั บรรทดั สามเหลี่ยมสามารถนามารวมกนั เขียนเส้นตรงตามแนวเอียงไดเ้ ป็ นมุมเลก็ สุด เท่าใด ก. 15 องศา ข. 30 องศา ค. 60 องศา ง. 70 องศา 13. ไส้ดินสอเขียนแบบทาจากวสั ดุอะไร ก. กามะถนั ข. การ์ไฟต์ ค. แมงกานีส ง. ซิลิกอน 14. ดินสอท่ีใชเ้ ขียนเส้นรูปงานควรใชไ้ ส้ดินสอเกรดอะไร ก. HB ข. 2H ค. 2B ง. 3H 15. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลกั ษณะการใชไ้ ส้ดินสอเกรด H เขียนแบบ ก. เขียนเส้นบอกขนาด ข. เขียนช่วยบอกขนาด ค. เขียนเส้นร่างแบบ ง. เขียนเส้นภาพตดั 16. การหมุนดินสอขณะลากเส้นทาใหเ้ กิดผลอยา่ งไร ก. เส้นที่ลากจะตรง ข. เส้นท่ีลากคมสม่าเสมอ ค. ทาใหก้ ารลากเส้นนุ่มนวล ง. ถูกทุกขอ้ 17. บรรทดั เขียนส่วนโคง้ นาไปใชง้ านอยา่ งไร ก. เขียนส่วนโคง้ ท่ีไม่สามารถใชเ้ ครื่องมืออื่นได้ ข. จะตอ้ งกาหนดจุดที่จะเขียนส่วนโคง้ ค. ส่วนโคง้ ของบรรทดั จะตอ้ งสมั ผสั 3 จุด จึงลากเส้น ง. ถูกทุกขอ้
40 18. เม่ือลบเส้นที่เขียนผดิ แลว้ เกิดเป็นรอย หรือเป็นขยุ เพราะเหตุใด ก. ยางลบมีเน้ือยางแขง็ ข. ออกแรงกดยางลบมาก ค. กระดาษท่ีใชม้ ีเน้ือหยาบ ง. ถูกทุกขอ้ 19 การทาความสะอาดแบบงาน ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร ก. ใชป้ ากเป่ า ข. ใชเ้ คร่ืองดูดฝ่ นุ ค. ใชม้ ือปัด ง. ใชแ้ ปรงปัด 20. การติดยดึ กระดาษเขียนแบบกบั กระดานเขียนแบบไมใ่ หเ้ คล่ือนควรทาอยา่ งไร ก. ใชเ้ ขม็ หมุด ข. ใชเ้ ทปกาว ค. ใชต้ ิดดว้ ยกาวลาเทก็ ซ์ ง. ใชข้ องหนกั ทบั ขอบกระดาษ
41 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ในการเขียนแบบ 1. จงเขียนแบบตามท่ีกาหนดใหล้ งในกระดาษเขียนแบบ โดยไมต่ อ้ งกาหนดขนาด รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามแบบ 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8= ดี , 10 = ดีมาก ช่ือ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
42 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ในการเขียนแบบ 2. จงเขียนแบบตามที่กาหนดใหล้ งในกระดาษเขียนแบบ โดยไม่ตอ้ งกาหนดขนาด รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามแบบ 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ชื่อ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
43 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ในการเขียนแบบ 3. จงเขียนแบบตามที่กาหนดใหล้ งในกระดาษเขียนแบบ โดยไม่ตอ้ งกาหนดขนาด รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามแบบ 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ชื่อ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
44 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 1.4 เรื่อง การใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ในการเขียนแบบ 4. จงเขียนแบบตามที่กาหนดใหล้ งในกระดาษเขียนแบบ โดยไม่ตอ้ งกาหนดขนาด รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามแบบ 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ชื่อ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
45 รหัส 2100-1001 ใบงานที่ 1.5 เรื่อง การใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์ วชิ าเขยี นแบบเทคนิคเบือ้ งต้น ในการเขียนแบบ 5. จงเขียนแบบตามที่กาหนดใหล้ งในกระดาษเขียนแบบ โดยไม่ตอ้ งกาหนดขนาด รายการทต่ี รวจ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ 1. ความถูกตอ้ งตามแบบ 8 2. ความสะอาดเรียบร้อยในการเขียนแบบ 2 เกณฑ์การให้คะแนน 2 = ตอ้ งแกไ้ ข , 4 = ตอ้ งปรับปรุง , 6 = พอใช้ , 8 = ดี , 10 = ดีมาก ชื่อ..........................................................รหสั .............................แผนกวชิ า.........................................
46
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: