Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา

คู่มือนักศึกษา

Published by Nopparat Sabaykan, 2020-08-06 13:45:10

Description: คู่มือนักศึกษา

Search

Read the Text Version

คู่มือนักศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสัทภาพการแพทย์ โรงเรยี นนักอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์ คณะเทคโนโลยวี ิทยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์

2 ข้อมูลโรงเรียนนักอลั ตราซาวดท์ างการแพทย์ “โรงเรียนนักอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์” เป็นหนว่ ยงานภายใต้วทิ ยาลยั วิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟา้ จุฬาภรณ์ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ์ โดยมคี วามรว่ มมือในการจัดทาหลัดสูตรอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์ ระหว่าง วิทยาลยั วทิ ยาศาสตร์การแพทยเ์ จ้าฟ้าจุฬาภรณ์ และ Monash University ประเทศออสเตรเลีย ดาเนินการ พฒั นาหลกั สูตร เพื่อให้เป็นหลักสูตรต้นแบบ มงุ่ ผลิตนักอัลตราซาวดท์ ม่ี ีความรู้ ความเชย่ี วชาญ และมี ประสทิ ธิภาพ เพื่อเข้ามาเปน็ ส่วนร่วมในการเสริมการบรกิ ารและวชิ าการ ทางด้านอัลตราวาวดท์ างการแพทย์ ของประเทศไทย วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดต้ังโรงเรียน 1. เพือ่ ผลิตบคุ ลากรทางการแพทย์ ทม่ี ีความรู้ ความสามารถในการตรวจดว้ ยเครื่องอัลตราซาวด์ตา มาตร ฐานระดับสากล 2. เพ่ือผลติ บคุ ลากรทางการแพทย์ ที่มีคสวามรู้ ความเช่ียวชาญด้านอัลตราซาวด์ อันสง่ ผลใหส้ ามารถ แบง่ เบาภาระงานของรังสแี พทยใ์ นปัจจบุ ันได้ 3. เพอ่ื สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงการตรวจดว้ ยเคร่ืองอลั ตราวาวดแ์ ก่ประชาชนท่วั ประเทศ 4. เพื่อใหผ้ ู้ปว่ ยได้รับการวนิ จิ ฉยั โรคทเ่ี ร็วข้นึ และไดร้ บั การรักษาทนั ต่อการลกุ ลามของโรค “โรงเรียนนักอลั ตราซาวดท์ างการแพทย์” มงุ่ เน้นผลิตนกั อัลตราซาวดท์ ม่ี ีความรู้ความสามารถ และ ความเช่ียวชาญในศาสตร์ทางดา้ นอลั ตราซาวด์ เพือ่ ท่ีจะสามารถนาความรู้ทง้ั หมดไปปฏิบัตงิ านทัง้ ภาครฐั บาล และเอกชนได้อย่างมีคุณภาพ

3 สาขาวิชาสัทภาพการแพทย์ ปรัชญา และวตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร ปรัชญา หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาสทั ภาพการแพทย์ มุง่ เน้นผลติ นกั อัลตราซาวดท์ ีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และความเช่ยี วชาญในศาสตรท์ างด้านอัลตราซาวด์ เพอ่ื ท่ีจะสามารถถา่ ยทอดความรแู้ ละแสดง เจตคตอิ นั ดีงาม ตามแนวทาง “ครูผู้สรา้ ง” เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ รวมถึงการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต เพอื่ เป็นกาลงั สาคัญในการพัฒนาระบบสาธารณสขุ ของประเทศและสามารถนาความรทู้ ัง้ หมดไปปฏิบัติงานได้อยา่ งมีคณุ ภาพ ตามมาตรฐานสากล วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ผลิตและพัฒนานักอัลตราซาวดท์ างการแพทย์ทีม่ ีความร้คู วามเชีย่ วชาญสาขาวชิ าสทั ภาพ การแพทย์ ใหม้ ีความเปน็ เลิศเพอ่ื ทุกชีวติ (Be Excellent for Lives) 2. เพ่อื ผลติ มหาบัณฑติ ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ (ครูผ้สู ร้าง) ได้อยา่ งมีระบบ 3. เพอ่ื ผลิตมหาบัณฑิตให้เปน็ ผู้มีสมรรถนะดา้ นงานวจิ ัย มีทักษะในการเขยี นบทความ/รายงานเชงิ วิชาการ 4. เพอ่ื ผลิตมหาบัณฑิตที่มที ักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการเขยี นรายงานการศกึ ษาวิจยั และนาเสนอทางวิชาการด้วยวาจา ท้งั ทเ่ี ป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5. เพ่อื ผลิตมหาบัณฑิตผ้มู ีความรู้ คูค่ ุณธรรม

4 คากล่าวตอ้ นรบั นกั ศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ในนามของผูอ้ านวยการโรงเรยี นนกั อลั ตราซาวด์ทาง การแพทย์ คณะเทคโนโลยวี ิทยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยาลัยวิทยาศาสตร์ การแพทยเ์ จ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ์ มคี วามยินดเี ป็น อยา่ งย่งิ กบั นกั ศกึ ษาทุกคนทเี่ ข้ามาเป็นสว่ นหน่ึงของโรงเรยี นนักอลั ตรา ซาวด์ทาการแพทย์ ซึ่งเป็นหลกั สตู รแรกของประเทศไทยท่มี ีการเรียน การสอนดา้ นอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ในระดับปรญิ ญาวิทยาศาตรม หาบัณฑิต ในหลักสตู รมีการเรียนการสอนทางวิชาการและการฝกึ ปฏบิ ัติทางคลินิกกับผปู้ ่วย ซึ่งนบั ไดว้ ่าเปน็ ก้าวสาคัญหนึง่ ของชีวิตของ นกั ศกึ ษาทุกคน ซึ่งตลอดระยะเวลาท่นี กั ศึกษาทกุ คนจะได้ศกึ ษาหา ความรู้ ณ สถาบันแหง่ น้ี ในนามผู้อานวยการโรงเรยี นและคณาจารย์ทกุ คนของโรงเรยี นนักอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ หวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่านกั ศึกษาทุกคนจะไดเ้ กบ็ เกี่ยวความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตา่ ง ๆ ไปสร้างประโยชน์ตอ่ วงการแพทย์และสาธารณสขุ ให้ไดม้ ากทีส่ ุด ทา้ ยน้ี ขอต้อนรับนักศกึ ษาใหม่ทุกคนและขออวยพรใหน้ ักศึกษาทุกคนประสบความสขุ ความสาเรจ็ ท้งั ในด้านการศึกษาเล่าเรยี นและการดาเนนิ ชวี ติ ขอเป็นกาลังใจใหน้ กั ศึกษาทุกคนก้าวผ่านอปุ สรรคปญั หาตา่ ง ๆ ไปได้ดว้ ยดี ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรุ เชษฎ์ สริ พิ งษ์สกลุ ผ้อู านวยการโรงเรยี นนกั อัลตราซาวดท์ างการแพทย์

5 อาจารย์และบุคลากร ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ สรุ เชษฎ์ สิริพงษ์สกุล ผู้อานวยการโรงเรียนนกั อัลตราซาวด์ทาง การแพทย์ นายแพทย์ศวิ ฒั น์ ภมู วิ ฒั น์ นางสาวพันธจารีย์ หริ ัญรัตน์ แพทยใ์ ชท้ ุน นกั รังสกี ารแพทย์ นางสาวนพรัตน์ สบายกาญจน์ นางสาวชนกธดิ า แก้วศรี นางสาวคริญญา เรืองศิลปป์ ระเสริฐ นกั วิชาการศึกษา เจ้าหน้าทบ่ี รหิ ารงานท่ัวไป พนกั งานปฏิบตั ิงาน

6 สาขาวชิ าสทั ภาพการแพทย์ ชอื่ หลักสตู ร ภาษาไทย หลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาสทั ภาพการแพทย์ ภาษาอังกฤษ Master of Science Program in Medical Sonography ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ช่อื ภาษาไทย ชอื่ เตม็ วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (สัทภาพการแพทย)์ ชอื่ ย่อ วท.ม. (สัทภาพการแพทย)์ ชื่อภาษาองั กฤษ ชือ่ เต็ม Master of Science (Medical Sonography) ชอ่ื ยอ่ M.Sc. (Medical Sonography) รูปแบบของหลักสตู ร รูปแบบ หลกั สตู รระดบั ปริญญาโท ระยะการศกึ ษา 2 ปี ภาษาทใี่ ช้ การจดั การเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ การรับเข้าศกึ ษา รบั นักศึกษาไทย และนักศึกษาตา่ งชาติที่สามารถใชภ้ าษาไทยไดเ้ ป็นอย่างดี ความรว่ มมือกับสถาบันอน่ื เปน็ หลักสตู รทีจ่ ัดทาบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการเพ่ือพฒั นาหลักสตู รร่วมกัน ระหวา่ ง วิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ กับมหาวทิ ยาลยั โมแนช ประเทศ ออสเตรเลยี (Monash University, Australia) การใหป้ ริญญาแกผ่ ้สู าเรจ็ การศึกษา ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว ระบบการจัดการศึกษา ระบบ ใชร้ ะบบการศกึ ษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบง่ เปน็ 2 ภาคการศกึ ษาปกติ 1 ภาคการศกึ ษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษา ไม่น้อยกวา่ 15 สัปดาห์ และอาจเปดิ การศึกษาภาคฤดรู ้อนได้ โดยใชเ้ วลาการศึกษาไม่ น้อยกว่า 8 สัปดาห์ การจัดการศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น มกี ารจัดการศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น ในการเรียนชนั้ ปที ่ี 1 การเทยี บเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค ไมม่ ี

7 การดาเนินการหลกั สตู ร วนั -เวลาในการดาเนินการเรยี นการสอน ในวัน – เวลาราชการ เรยี นวนั จนั ทร์ถงึ วนั ศุกร์ เวลา 09.00 - 17.00 น. ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสงิ หาคม - ธันวาคม ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม - พฤษภาคม ภาคการศึกษาฤดูรอ้ น เดอื นมิถนุ ายน - กรกฎาคม หลักสูตร หลักสูตร (แผน ก 2) จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร 36 หน่วยกติ โครงสรา้ งหลกั สตู ร โครงสร้างของหลักสตู ร แผน ก แบบ ก 2 - วิชาบงั คับ 9 หน่วยกติ - วิชาเฉพาะ 15 หนว่ ยกิต - วทิ ยานพิ นธ์ 12 หนว่ ยกิต รวมตลอดหลักสตู ร 36 หน่วยกติ รายวิชา รายวิชาเรยี งลาดับตามหมวดวชิ าประกอบดว้ ยหมวดวชิ าบังคบั หมวดวชิ าเฉพาะและวทิ ยานิพนธใ์ นแต่ ละหมวดวิชาเรียงลาดับตามอักษรของรหสั ย่อภาษาไทย หนว่ ยกิตของแต่ละรายวชิ าระบจุ านวนหน่วยกติ รวมไวห้ นา้ วงเลบ็ สว่ นตัวเลขในวงเล็บแสดงจานวน ช่วั โมงของการเรียนการสอนแบบบรรยายและจานวนชว่ั โมงปฏิบตั ิต่อสัปดาห์ตลอดภาคการศกึ ษาโดยกาหนด ดังน้ี ตัวเลขรหัสรายวชิ าในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าอลั ตราซาวดท์ างการแพทย์ ประกอบด้วยสัญลกั ษณ์ 7 ตัวแบง่ เป็น 2 ส่วนดังน้ี ก. ตัวอักษร 4 ตวั มีความหมาย ดังน้ี - ตัวอักษร 2 ตวั แรก เปน็ อักษรยอ่ ชื่อสถาบันการศกึ ษา จภ : CH หมายถงึ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ์ - ตัวอกั ษร 2 ตวั หลัง เป็นอักษรยอ่ ชอื่ สถาบนั ที่รับผดิ ชอบการจดั การเรยี นการสอน อต : US หมายถึง โรงเรยี นนักอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์

8 ข. ตวั เลข 3 ตัวตามหลังอักษรยอ่ ของรายวิชา - เลขหลักแรก หมายถงึ ระดับชน้ั ปีที่กาหนดให้ศึกษารายวชิ านนั้ ๆ ได้แก่ 5 หมายถึง ชน้ั ปีที่ 1 6 หมายถึง ชัน้ ปที ่ี 2 - เลขหลักท่ี 2 หมายถึง หมวดวชิ า ได้แก่ วิชาบังคับ = 1, วิชาเฉพาะ = 2 - เลขหลักที่ 3 หมายถึง ลาดับทข่ี องการเปิดรายวิชาในแต่ละหมวดของรายวชิ านั้น ๆ เพ่ือไมใ่ หต้ ัวเลข ซา้ ซ้อนกนั ตวั อยา่ ง จภอต 511 การเจรญิ เติบโตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวภิ าคศาสตร์และพยาธิสรีรวิทยา CHUS 511 Embryology, Anatomy and Pathophysiology หมายถงึ รายวชิ าการเจรญิ เตบิ โตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวิภาคศาสตร์ของโรงเรยี น นักอัลตราซาวด์ทางการแพทย์เปน็ รายวิชาท่ีเปดิ เป็นลาดบั ที่ 1 ของ นักศึกษา สาขาวชิ าอลั ตราซาวด์ทาง การแพทย์ ชั้นปี 1 ค. ความหมายของจานวนหนว่ ยกติ รวม ตามตัวอย่าง 3 (2-2-5) ใหค้ วามหมายของตัวเลข ดงั นี้ - ตวั เลขที่ 1 หมายถึง จานวนหนว่ ยกิตรวม - ตวั เลขท่ี 2 หมายถึง จานวนช่ัวโมงการศึกษาภาคทฤษฎเี ฉล่ียตอ่ สปั ดาห์ใน 1 ภาคการศึกษา - ตวั เลขท่ี 3 หมายถึง จานวนชว่ั โมงการศกึ ษาภาคปฏบิ ัติเฉลี่ยตอ่ สัปดาหใ์ น 1 ภาคการศึกษา - ตวั เลขท่ี 4 หมายถงึ จานวนชัว่ โมงการคน้ คว้าด้วยตนเองเฉล่ียต่อสัปดาหใ์ น 1 ภาคการศึกษาโดยมี หลกั เกณฑ์ ดงั น้ี -> ช่วั โมงการศกึ ษาภาคทฤษฎี 1 ชว่ั โมงใชเ้ วลาในการคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 2 ชวั่ โมง -> ช่วั โมงการศึกษาภาคปฏบิ ัติ 2 ชวั่ โมงใช้เวลาในการค้นคว้าดว้ ยตนเอง 1 ชว่ั โมง

9 ง. ชอื่ รายวชิ า เรียงตามหมวดวิชาไดแ้ กห่ มวดวิชาบังคับและหมวดวิชาเลอื กตามลาดบั ดงั นี้ - วชิ าบังคบั จานวน 9 หนว่ ยกิต จภอต 511 การเจริญเติบโตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวภิ าคศาสตรแ์ ละพยาธสิ รรี วิทยา2 (2-0-4) CHUS 511 Embryology, Anatomy and Pathophysiology จภอต 512 อัลตราซาวดเ์ บ้อื งตน้ 2 (1-2-3) CHUS 512 Introduction to Ultrasound จภอต 513 ฟิสิกส์ทางอลั ตราซาวด์ขั้นสูง 2 (2-0-4) CHUS 513 Advanced Ultrasound Physics จภอต 514 การตรวจสแกนและการถา่ ยภาพอลั ตราซาวด์ 2 (1-2-3) CHUS 514 Ultrasound Scanning จภอต 515 ทักษะและจรยิ ธรรมทางวชิ าชพี 1 (1-0-2) CHUS 515 Sonographic professional skills and ethic - วิชาเฉพาะ จานวน 15 หน่วยกิต จภอต 521 สัมมนาและระเบยี บวิธีวิจยั ทางอัลตราซาวดท์ างการแพทย์ 1 (1-0-2) ไม่คดิ หน่วยกิต CHUS 521 Seminar and Research Methodology in Medical Sonography จภอต 522 การตรวจอัลตราซาวด์ชอ่ งท้อง 2 (1-2-3) CHUS 522 Abdominal Sonography จภอต 523 การตรวจอลั ตราซาวดข์ องระบบสบื พันธ์ุ 2 (1-2-3) CHUS 523 Reproductive Sonography จภอต 524 การอลั ตราซาวดท์ างสตู ิศาสตร์ 2 (1-2-3) CHUS 524 Obstetric Sonography จภอต 525 การใหก้ ารตรวจอลั ตราซาวด์ของเตา้ นม ต่อมไทรอยด์ ศีรษะและลาคอ 2 (1-2-3) CHUS 525 Sonography of the breast, thyroid, head and neck จภอต 526 การอลั ตราซาวดก์ ระดูกและกลา้ มเนื้อ 1 (1-0-2) CHUS 526 Sonography of Musculoskeletal จภอต 527 การอัลตราซาวด์หลอดเลือดและการถ่ายภาพหลังผา่ ตดั 1 (1-0-2) CHUS 527 Sonographic Vascular and postoperative Imaging จภอต 528 การฝึกงานทางคลินิก 5 (0-35-0) CHUS 528 Clinical Clerkship

10 - วิทยานพิ นธ์ จานวน 12 หนว่ ยกิต จภอต 699 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต CHUS 699 Thesis แผนการศกึ ษา ชน้ั ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า จานวนหน่วยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏิบัติ-ค้นคว้า) จภอต 511 การเจรญิ เตบิ โตในระยะเอม็ บรโิ อในครรภ์ กายวภิ าคศาสตร์และพยาธสิ รรี วทิ ยา2 (2-0-4) CHUS 511 Embryology, Anatomy and Pathophysiology 2 (1-2-3) จภอต 512 อัลตราซาวดเ์ บื้องตน้ CHUS 512 Introduction to Ultrasound จภอต 513 ฟสิ กิ ส์ทางอัลตราซาวดข์ นั้ สงู 2 (2-0-4) CHUS 513 Advanced Ultrasound Physics จภอต 514 การตรวจสแกนและการถา่ ยภาพอัลตราซาวด์ 2 (1-2-3) CHUS 514 Ultrasound Scanning จภอต 515 ทักษะและจรยิ ธรรมทางวชิ าชพี 1 (1-0-2) CHUS 515 Sonographic professional skills and ethic รวม 9 (7-4-16) ชัน้ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 รหสั วิชา ชอื่ วิชา จานวนหนว่ ยกติ (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นควา้ ) จภอต 521 สมั มนาและระเบยี บวิธีวจิ ยั ทางอลั ตราซาวดท์ างการแพทย์ 1 (1-0-2) ไมค่ ิดหนว่ ยกติ CHUS 521 Seminar and Research Methodology in Medical Sonography จภอต 522 การตรวจอัลตราซาวดช์ ่องท้อง 2 (1-2-3) CHUS 522 Abdominal Sonography จภอต 523 การตรวจอัลตราซาวด์ของระบบสบื พนั ธุ์ 2 (1-2-3) CHUS 523 Reproductive Sonography จภอต 524 การอลั ตราซาวดท์ างสตู ศิ าสตร์ 2 (1-2-3) CHUS 524 Obstetric Sonography จภอต 525 การให้การตรวจอลั ตราซาวดข์ องเต้านม ตอ่ มไทรอยด์ ศรี ษะและลาคอ 2 (1-2-3) CHUS 525 Sonography of the breast, thyroid, head and neck 1 (1-0-2) จภอต 526 การอลั ตราซาวด์กระดกู และกลา้ มเน้อื CHUS 526 Sonography of Musculoskeletal จภอต 527 การอัลตราซาวดห์ ลอดเลือดและการถา่ ยภาพหลังผา่ ตัด 1 (1-0-2) CHUS 527 Sonographic Vascular and postoperative Imaging รวม 10 (6-8-18)

11 ชน้ั ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน จานวนหน่วยกติ (ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ-ค้นควา้ ) รหสั วชิ า ชอื่ วิชา 5 (0-35-0) จภอต 528 การฝึกงานทางคลนิ ิก CHUS 528 Clinical Clerkship รวม 5 (0-35-0) ชนั้ ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 รหสั วิชา ชื่อวิชา จภอต 699 วิทยานิพนธ์ 6 หนว่ ยกิต CHUS 699 Thesis รวม 6 หนว่ ยกิต * เปน็ รายวิชาทจ่ี ัดการเรยี นการสอนต่อเนอ่ื งทั้งสองภาคการศกึ ษา หรอื การศึกษาไปส้นิ สุดในภาคปลาย ชน้ั ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 รหัสวิชา ชือ่ วิชา จภอต 699 วิทยานพิ นธ์ 6 หน่วยกติ CHUS 699 Thesis รวม 6 หนว่ ยกิต * เป็นรายวชิ าทจ่ี ัดการเรียนการสอนตอ่ เนื่องทง้ั สองภาคการศกึ ษา หรือการศึกษาไปสิ้นสุดในภาคปลาย

12 คาอธบิ ายรายวชิ า จภอต 511 การเจรญิ เติบโตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวิภาคศาสตรแ์ ละพยาธิสรีรวทิ ยา 2 (2-0-4) CHUS 511 Embryology, anatomy and Pathophysiology ศึกษาการเจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอในครรภ์ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบทางเดินอาหาร ระบบ อวัยวะสบื พันธแ์ุ ละระบบปัสสาวะ มหกายวภิ าคศาสตร์ (Gross anatomy) ของต่อมไทรอยด์ ชอ่ งท้องและอุ้งเชิง กราน หลอดเลือด ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ระบบตับและทางเดินน้าดี ระบบสืบพันธุ์และทางเดินปัสสาวะ ตัวอย่างพยาธิวิทยาต่าง ๆ ทักษะในการประเมินภาพที่สัมพันธ์กับภาพตัดขวาง ภาพตัดทางหน้าหลัง (coronal) ภาพตัดตามแนวข้าง (sagittal) ของโครงสร้างต่าง ๆ ในร่างกาย และลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ของอวัยวะ สว่ นตา่ ง ๆ ขา้ งเคยี ง Study of the embryonic development, the central nervous system, gastrointestinal tract and the genitourinary system. The gross, regional and sectional anatomy of the thyroid, abdomen and pelvis, the vascular, musculoskeletal, hepatobiliary and genitourinary systems, examples of gross pathology, cross-sectional, coronal and sagittal display of these structures and their surrounding regional anatomy. จภอต 512 อลั ตราซาวด์เบื้องต้น 2 (1-2-3) CHUS 512 Introduction to Ultrasound ศึกษาความรู้เบ้ืองต้นที่จาเป็นสาหรับการตรวจอัลตราซาวด์ ความรู้ท่ีจาเป็นในการตรวจอัลตราซาวด์ ของอวัยวะในช่องท้องความรู้ทางฟิสิกส์ทางอัลตราซาวด์การใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ และพยาธิสรีรวิทยา หลักปฏิบัติการสแกนและการฝึกปฏิบัติกับหุ่นจาลองภายใต้คาแนะนา เพื่อท่ีจะสามารถ ประยุกต์ใชห้ ลกั ปฏบิ ัตติ า่ ง ๆ และพฒั นาทักษะการปฏบิ ตั ิข้นั พน้ื ฐานในสถานการณ์จาลองทางคลินิก Study of Introductory knowledge, the requisite knowledge abdominal organs, the physics of ultrasound and instrumentation, sonographic anatomy and pathophysiology, scanning principles and practice. The scanning of models under supervision, enable to apply these principles and develop basic practical skills in a simulated clinical environment. จภอต 513 ฟิสกิ สท์ างอัลตราซาวด์ขน้ั สูง 2 (2-0-4) CHUS 513 Advanced Ultrasound Physics ศกึ ษาหลกั การทางวิทยาศาสตรเ์ ทคนิคพน้ื ฐาน ความรู้พื้นฐานหัวตรวจ คลื่นเสียงความถส่ี ูงแบบต่อเนือ่ ง (Continuous wave) และแบบไม่ต่อเน่ืองเป็นจังหวะ (pulse wave) การใช้ A-mode , M-mode และ B- mode, ปรากฏการณ์ doppler, spectral dopplerการแสดงภาพ color และ power dopplerและอุปกรณ์ท่ี เก่ียวข้อง เทคโนโลยีล่าสุดของ Harmonic imaging การใช้ contrast agent ทางอัลตราซาวด์ ความปลอดภัย ในการใชค้ ลื่นเสยี ง ผลกระทบทางชวี ภาพและอนั ตรายทางชวี ภาพท่เี กิดจากเสยี ง Artefacts ทางอลั ตราซาวด์

13 Study of scientific and technical principles, the scanning modes, the fundamentals of ultrasound transducers, continuous-wave and pulse-wave high frequency sound, A-mode, M- mode and B-mode diagnostic ultrasound scanning, the Doppler effect, spectral Doppler, colour, power Doppler and associated instrumentation, harmonic imaging, contrast agents, bio-effects, bio-hazards. จภอต 514 การตรวจสแกนและการถ่ายภาพอลั ตราซาวด์ 2 (1-2-3) CHUS 514 Ultrasound Scanning ศึกษาขัน้ ตอนการตรวจอลั ตราซาวดร์ ะดบั สูงศาสตรด์ า้ นการถ่ายภาพกายวภิ าคศาสตร์ของอวัยวะต่าง ๆ ในช่องท้องโครงสร้างที่สัมพันธ์อ่ืน ๆ พยาธิสภาพของอวัยวะในช่องท้องที่พบได้บ่อย การเลือกอุปกรณ์ที่ เหมาะสม การปรับภาพทางเทคนิค เทคนิคการสแกน ตับ ถุงน้าดี ระบบทางเดินน้าดี ผนังหน้าท้องสว่ นหน้า ไส้ เลอื่ นของหน้าทอ้ ง อวยั วะเย่อื บุช่องท้อง (Peritoneum) และอวัยวะหลังเยือ่ บุช่องท้อง การตรวจ Doppler ของ ช่องท้องส่วนบน การฝึกปฏิบัติการสแกนหุ่นจาลองและมนุษย์ การประยุกต์ใช้หลักปฏิบัติต่าง ๆ ในสถานการณ์ จาลองทางคลินิก การตรวจอัลตราซาวด์ doppler การสร้างภาพ harmonic imaging เคร่ืองมือ Spectral Doppler และ continuous doppler, artefacts ทางอัลตราซาวด์ผลกระทบทางชีวภาพและอันตรายทาง ชีวภาพทเ่ี กดิ จากเสียง Study of advanced Ultrasound methods, Imaging science, the sonographic anatomy of the abdominal organs and related structures, sonographic representation of common abdominal pathologies, selection of appropriate ultrasound equipment, optimization of technical factors, scanning techniques for the liver, gallbladder, biliary system, anterior abdominal wall and hernias, peritoneum andretroperitoneum, doppler ultrasound of the upper abdomen , the scanning of models under supervision, apply these principles and develop basic practical skills in a simulated clinical environment. Doppler ultrasound and harmonicimaging, Spectral Doppler and continuous Doppler instrumentation, Ultrasound artefacts, Bio-effects and bio-hazards of diagnostic ultrasound. จภอต 515 ทกั ษะและจรยิ ธรรมทางวชิ าชพี 1 (1-0-2) CHUS 515 Sonographic professional skills and ethic ศึกษาหลักการสาคัญของการปฏิบัติด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับการให้บริการทางการแพทย์ จรรยาบรรณ ทางการแพทย์และการสื่อสารอย่างมืออาชีพ (Professional communication) ตัวอย่างหลักการและการ ปฏิบัติการทางการแพทย์เก่ียวกับเทคนิคและวิธีการตรวจสแกนโดยอาศัยการซักประวัตแิ ละทักษะการแปลผลที่ เก่ยี วขอ้ งกบั ลกั ษณะภาพของการตรวจอัลตราซาวด์

14 Study of key principles of medicolegal practice, medical ethics and professional communication. Sonographic scanning methods and techniques for examinations, information gathering techniques and the elements of a clinical history, interpretational skills in respect to the recognition of the sonographic appearances จภอต 521 สัมมนาและระเบียบวิธวี จิ ัยทางอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์ 1 (1-0-2) ไม่คดิ หนว่ ยกิต CHUS 521 Seminar and Research Methodology in Medical Sonography การวิจัยทางอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ แนวคิดในการวิจัย กระบวนการวิจัย จริยธรรมการวิจัย การ ออกแบบการวิจัย เคร่ืองมือและคุณภาพเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเพื่อการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสังเคราะห์ความรู้ การใช้ผลการวิจัยทางอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ การประเมินคุณภาพ งานวจิ ยั การเขียนโครงการและรายงานวิจัย การวิจัยเชิงคณุ ภาพ การสบื คน้ ขอ้ มลู การพัฒนาโครงร่างวิจัย Medical Sonography research; research concept; research process; research ethics; research designs; research instrument and quality of instrument; data collection; statistics for research; data analysis; discussion; knowledge synthesis; Medical Sonography research utilization; evaluation of research quality; writing research project and report; qualitative research; literature search; research proposal development จภอต 522 การตรวจอลั ตราซาวด์ชอ่ งท้อง 2 (1-2-3) CHUS 522 Abdominal Sonography ศึกษาวิธีการตรวจอัลตราซาวด์ตามโปรโตคอลมาตรฐาน การตรวจตับ ถุงน้าดี ระบบทางเดินน้าดี ตับ อ่อน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ม้าม อวัยวะหลังเย่ือบุช่องท้อง หน้าท้องด้านหน้า โครงสร้าง ของหลอดเลือดที่สัมพันธ์กับอวัยวะในช่องท้อง หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์ของการสร้างภาพ Tissue harmonic การใช้ contrast agent ในการตรวจอลั ตราซาวดช์ อ่ งท้อง ทกั ษะในการแปลผลท่ีเกี่ยวกับการจาแนก ลักษณะของภาพอัลตราซาวด์ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ปกติ ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ปกติท่ีมีความ แตกต่างกัน โรคและการดาเนินของโรคในช่องท้อง ความสามารถในการปรับวิธีในการตรวจมาตรฐานให้สมั พันธ์ กับการตง้ั คาถามทางคลนิ ิกและอาการแสดงของผูป้ ่วยทีม่ าตรวจ Study of sonographic scanning methods, standard protocols examinations of adult liver, gallbladder, biliary system, pancreas, gastrointestinal tract, urinary system, spleen, retroperitoneum, abdominal wall and related vascular structures. The scientific principles underpinning tissue harmonic imaging, contrast agents in abdominal sonography. Interpretational skills in respect to recognition of sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants, disease processes, modify standard sonographic approaches with regards to the clinical question and patient presentation.

15 จภอต 523 การตรวจอลั ตราซาวด์ของระบบสืบพนั ธ์ุ 2 (1-2-3) CHUS 523 Reproductive Sonography ศึกษาวิธีการให้การตรวจ วิธีการตรวจลาดับข้ันและมาตรฐานการตรวจ ทักษะการแปลผลเพื่อให้เกิด ความเข้าใจลักษณะที่เหน็ จากภาพอัลตราซาวด์ของลักษณะทางกายวิภาคปกติ กายวิภาคปกติท่ีมีความแตกต่าง โรคและการดาเนินของโรคของอวัยวะในอุ้งเชิงกรานสตรี ถุงอัณฑะและโครงสร้างภายในถุงอัณฑะ การปรับ มาตรฐานการตรวจเพื่อให้เข้ากับคาถามหรือปัญหาทางคลินิกและสัมพันธ์กับอาการของผู้ป่วย ความเข้าใจถึง ข้อจากัดของอัลตราซาวด์ท่ีเก่ียวข้องกับภาพวินิจฉัยทางการแพทย์และการตรวจโดยการผ่าตัดส่องกล้องของ ระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ Study of sonographic scanning methods, standard protocols and interpretational skills for recognition of sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants and disease processes associated with the female pelvis, the scrotum and its contents, modify standard approaches to the clinical question and patient presentation. Limitations of ultrasound in relation to other medical imaging and laparoscopic examinations of the reproductive system. จภอต 524 การอลั ตราซาวด์ทางสตู ิศาสตร์ 2 (1-2-3) CHUS 524 Obstetric Sonography ศึกษาพันธุกรรมของมนุษย์ การต้ังครรภ์ การพัฒนาของเอ็มบริโอในครรภ์ การให้การตรวจสแกนและ เทคนคิ การตรวจทางหนา้ ท้อง การตรวจทางชอ่ งคลอด การตรวจทางฝีเย็บ ในระยะการตัง้ ครรภ์ท้ัง 3 ระยะ การ ประเมินภาวการณ์ตั้งครรภ์นอกมดลูก เวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ หลักจริยธรรมท่ีสัมพันธ์กับการตรวจทางสูติ ศาสตร์ การตรวจอัลตราซาวด์ของการตั้งครรภ์แฝด การอัลตราซาวด์ทางสูติศาสตร์และเทคนิคการให้การรักษา ช่วงต้ังครรภ์ การใช้อัลตราซาวด์ประเมินอายุครรภ์ การเจริญเติบโตของทารก การวินิจฉัยภาวะต่าง ๆ ในช่วง ก่อนการคลอด ภาวะความพิการแต่กาเนิดการวินิจฉัยการเสียชีวิตของตัวอ่อนในโพรงมดลูก หลักฟิสิกส์ในการ แสดงภาพ 3 มิติเพอ่ื การอลั ตราซาวดท์ างสูตศิ าสตร์ Study of human genetics, pregnancy, human development Scanning methods/techniques including transabdominal, transvaginal, transperineal of the 3 trimesters of pregnancy, evaluation of ectopic pregnancy, assisted fertilization techniques. Ethical principles re-examined in light of this medical specialty. Ultrasound of multiple pregnancies, obstetric ultrasound interventional techniques, sonographic assessment of gestational age and growth, use of ultrasound in prenatal diagnosis of congenital anomalies, diagnosis of fetal death in uterus, Physical principles of visualizing surfaces in 3D.

16 จภอต 525 การให้การตรวจอลั ตราซาวด์ของเต้านม ต่อมไทรอยด์ ศีรษะและลาคอ 2 (1-2-3) CHUS 525 Sonography of the breast, thyroid, head and neck ศึกษาหลักการและการปฏิบัติการทางการแพทย์เก่ียวกับเทคนิคและวิธีการตรวจสแกนเต้านมต่อม ไทรอยด์ ศีรษะและลาคอ โดยอาศัยการซักประวัติและทักษะการแปลผลที่เก่ียวข้องกับลักษณะภาพของการ ตรวจอัลตราซาวด์ ความเข้าใจลักษณะทางกายวิภาคในคนปกติและลักษณะทางกายวิภาคปกติท่ีมีลักษณะ แตกตา่ งออกไป (normal variation) การดาเนนิ โรคในระยะต่าง ๆ ของเตา้ นม ตอ่ มไทรอยด์ ศรี ษะและลาคอ Study of key principles of medicolegal practice, medical ethics and professional communication. Sonographic scanning methods and techniques for examinations of the breast, thyroid, head and neck, information gathering techniques and the elements of a clinical history, interpretational skills in respect to the recognition of the sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants and disease processes affecting the breast, thyroid, head and neck. จภอต 526 การอลั ตราซาวดก์ ระดูกและกล้ามเนอื้ 1 (1-0-2) CHUS 526 Sonography of Musculoskeletal ศึกษาวิธีการสแกน โปรโตคอลมาตรฐานของการตรวจวินิจฉัยระบบโครงกระดูกและกล้ามเนื้อ ทักษะ การแปลผลทางอัลตราซาวด์ตามลักษณะทางกายวิภาคปกติ กายวิภาคปกติที่มีความแตกต่าง กระบวนการ ดาเนินไปของโรคและการปรบั เปลยี่ นวิธีตรวจมาตรฐาน การตง้ั คาถามทางคลินิกและการนาเสนอกรณศี ึกษาต่าง ๆ ของผูป้ ่วย Study of sonographic scanning methods, standard protocols related to examinations of the musculoskeletal system. Interpretational skills of sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants, disease processes, standard sonographic approaches, the clinical question and patient presentation. จภอต 527 การอัลตราซาวด์หลอดเลือดและการถา่ ยภาพหลงั ผา่ ตัด 1 (1-0-2) CHUS 527 Sonographic Vascular and postoperative Imaging ศกึ ษาเทคนิคการสแกน โปรโตคอลการตรวจระบบหัวใจและหลอดเลอื ด โครงสรา้ งทางกายวิภาค หนา้ ท่ี ความผิดปกตทิ างพยาธิสรรี วทิ ยาทีเ่ ก่ียวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลอื ดและระบบภมู ิคุ้มกนั ทักษะการตีความ เก่ียวกบั ส่ิงแปลกปลอมในภาพถ่ายและสิ่งที่ตรวจพบ กระบวนการของการปฏเิ สธอวยั วะและบทบาทของอัลตรา ซาวด์ในการประเมินการผ่าตัดและการปลูกถ่ายตับและไต การประกันคุณภาพ เทคนิคการวัดทางอัลตราซาวด์ การใช้วิธีการเฉพาะทางและการใช้ stents และ grafts ในการผา่ ตัดหลอดเลอื ด Study of sonographic scanning methods, techniques, protocols of the cardiovascular system examinations, gross anatomical structure, function and relevant pathophysiological disorders Interpretational skills in artefacts, the sonographic appearances of the examinations.

17 The process of organ rejection, the role of ultrasound in the postoperative evaluation of liver, renal transplants. Quality assurance, sonographic measurement techniques, the utilization of specific duplex modalities, the use of stents and grafts in vascular surgery. จภอต 528 การฝึกงานทางคลินกิ 5 (0-35-0) CHUS 528 Clinical Clerkship Learn the clinical experience in ultrasound with a broad range of clinical pathology, in a closely supervised environment; spend 8 weeks in the Ultrasound Division of the Department of Radiology at neighborhood hospital or network hospital. Hands-on basic ultrasound examinations, including abdominal, renal, thyroid and scrotal studies, with a heavy emphasis on gynecologic and obstetric ultrasound exams. Learn the essentials of diagnostic ultrasound in a busy academic practice, including indications and limitations of these studies, practical tips for performing the studies, interpretation of the exam, and generation of a medical sonography report. การฝึกงานอัลตราซาวด์ทางคลินิกที่มีความหลากหลายของพยาธิวิทยาทางคลินิกภายใต้การแนะนา ดูแลของอาจารย์ผู้สอน โดยใช้เวลา 8 สัปดาห์ในแผนกอัลตราซาวด์ของหน่วยรังสีวิทยาที่โรงพยาบาลใกล้เคียง หรือโรงพยาบาลเครือข่าย การฝึกปฏิบัติการให้ตรวจอัลตราซาวด์พ้ืนฐาน การตรวจช่องท้อง, ไต, ต่อมไทรอยด์ โดยเนน้ การตรวจพยาธวิ ทิ ยาทางนรเี วชและสูติศาสตรก์ ับผ้ปู ่วยจริง เรียนรู้สงิ่ สาคัญ ขอ้ จากดั เก่ยี วกับการวนิ ิจฉัย ทางอลั ตราซาวด์ในสถานการณค์ ับขัน ฝึกการแปลผลและการเขียนรายงานการตรวจทางอลั ตราซาวด์ จภอต 699 วิทยานพิ นธ์ 12 หนว่ ยกติ CHUS 699 Thesis การศึกษาวิจัยในเร่ืองที่เหมาะสมในสาขาอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ ที่มีเน้ือหาเน้นหนักไปในทิศทาง สาขาวิชาท่นี ักศกึ ษาสนใจ ภายใต้การดแู ลของคณะกรรมการทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ Research on a topic relevant to the field of computer engineering and emphasize in the topic of interest under the supervision of the thesis advisory committee.

18 หลกั สตู รอบรมเฉพาะทางดา้ นรงั สีเทคนิค (หลักสตู ร1ป)ี สาขาการสร้างภาพดว้ ยคล่นื เสยี งความถส่ี งู /อัลตราซาวด์ (Ultrasuond : US) ช่ือหลักสูตร ภาษาไทย หลักสตู รอบรมเฉพาะทางด้านรงั สเี ทคนิค (หลักสูตร1ปี) ภาษาองั กฤษ Program of Specialized RadiologicalTechnology (One year Course) ชื่อประกาศนียบัตร ภาษาไทย ประกาศนยี บตั รอบรมเฉพาะทางดา้ นรังสีเทคนคิ (หลกั สตู ร1ปี) ภาษาองั กฤษ Certificate of Added Qualification Program in Radiological Technology (One year Course) วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพฒั นานกั รงั สีเทคนิค ให้มคี ุณสมบัติดังตอ่ ไปน้ี 1. มีความสามารถในการวิเคราะห์ การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การนาเสนอและการประยุกต์ใช้ทักษะ ในการปฏบิ ัติวชิ าชพี ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากย่งิ ขึ้น 2. มีความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุงและพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัยและการรกั ษาใน สาขาท่ีตนเชี่ยวชาญได้อยา่ งเหมาะสมซง่ึ นาไปสู่การพัฒนาและปรบั ปรงุ งานในสาขา 3. มีความสามารถในการสอน ช้ีแนะ ให้คาปรึกษา กากับ เป็นพี่เล้ียงในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ระดบั รองลงมาและผ้เู กย่ี วของทุกฝ่าย เพอ่ื เสรมิ ความรู้และทกั ษะให้เกดิ การพฒั นาศักยภาพ 4. มีความใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตนเองแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ตลอดจนทักษะใน เชงิ วชิ าการและวิชาชพี รว่ มกับบุคลากรทางการแพทยอ์ ืน่ ทเ่ี กีย่ วข้องได้ 5. มีความสามารถในการวเิ คราะห์ปัญหาและแกไ้ ขปัญหา การเรียนการสอน ระยะเวลาศึกษา 1 ปี แบ่งเปน็ 2 ภาคการศกึ ษาดงั นี้ ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสิงหาคม - ธนั วาคม ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เดอื นมกราคม - พฤษภาคม 1. จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีเป็นรายวิชาในระบบออนไลน์(ไม่จากัดเวลาและช่วั โมงการเรียน)และ มีการบรรยายสรุป (Tutorial session) ในแตล่ ะรายวิชา 2. จดั การเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ิผา่ นระบบออนไลน์ และห้องปฏิบัตกิ ารจรงิ 3. ฝึกประสบการณ์ ณ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์หรือโรงพยาบาลเครอื ข่าย 4. รายงานกรณีศกึ ษาในหน่วยต้นสงั กัดหรือโรงพยาบาลเครอื ขา่ ย

19 แผนการศึกษา สาขาการสร้างภาพดว้ ยคลน่ื เสียงความถส่ี ูง/อลั ตราซาวด์ (Ultrasuond : US) Certificate of Radiological Technology Subspecialty for Ultrasound Curriculum Structure ภาคการศกึ ษา ท่ี 1 Credit Lecture Lab hours hours Course 2 (2-0-4) 30 - จภอต 511 การเจริญเติบโตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวิภาคศาสตรแ์ ละพยาธิ สรีรวิทยา 2 (1-2-3) 15 30 CHUS 511 Embryology, Anatomy and Pathophysiology 2 (1-2-3) 15 30 จภอต 512 อัลตราซาวด์เบอ้ื งต้น 1 (1-0-2) 10 - CHUS 512 Introduction to Ultrasound 70 60 จภอต 514 การตรวจสแกนและการถ่ายภาพอลั ตราซาวด์ 12 CHUS 514 Ultrasound Scanning จภอต 515 ทักษะและจรยิ ธรรมทางวิชาชพี CHUS 515 Sonographic professional skills and ethic รวม Curriculum Structure ภาคการศกึ ษา ท่ี 2 Credit Lecture Lab hours hours Course 1 (1-0-2) 15 - จภอต 521 สมั มนาและระเบยี บวธิ ีวิจัยทางอลั ตราซาวด์ทางการแพทย์ ไมค่ ิด หนว่ ยกิต 2 (1-2-3) 15 - CHUS 521 Seminar and Research Methodology in Medical Sonography 2 (1-2-3) 15 30 จภอต 522 การตรวจอลั ตราซาวดช์ อ่ งทอ้ ง 2 (1-2-3) 15 - CHUS 522 Abdominal Sonography 2 (1-2-3) 15 - จภอต 523 การตรวจอลั ตราซาวดข์ องระบบสืบพนั ธุ์ 45 30 CHUS 523 Reproductive Sonography 14 จภอต 524 การอัลตราซาวดท์ างสตู ิศาสตร์ CHUS 524 Obstetric Sonography จภอต 525 การใหก้ ารตรวจอลั ตราซาวดข์ องเตา้ นม ต่อมไทรอยด์ ศรี ษะและลาคอ CHUS 525 Sonography of the breast, thyroid, head and neck รวม

20 คาอธบิ ายรายวิชา จภอต 511 การเจริญเติบโตในระยะเอม็ บริโอในครรภ์ กายวภิ าคศาสตร์และพยาธสิ รีรวทิ ยา 2 (2-0-4) CHUS 511 Embryology, anatomy and Pathophysiology ศกึ ษาการเจริญเติบโตในระยะเอ็มบรโิ อในครรภ์ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบ อวัยวะสบื พันธแ์ุ ละระบบปัสสาวะ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) ของตอ่ มไทรอยด์ ชอ่ งทอ้ งและอุง้ เชิง กราน หลอดเลือด ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ระบบตับและทางเดินน้าดี ระบบสืบพันธ์ุ และทางเดินปัสสาวะ ตวั อย่างพยาธิวิทยาต่าง ๆ ทักษะในการประเมินภาพท่ีสัมพันธ์กับภาพตัดขวาง ภาพตัด ทางหน้าหลงั (coronal) ภาพตัดตามแนวข้าง (sagittal) ของโครงสร้างต่าง ๆ ในร่างกาย และลักษณะทางกาย วิภาคศาสตร์ของอวัยวะ ส่ ว น ต่ า ง ๆ ข้ า ง เ คี ย ง Study of the embryonic development, the central nervous system, gastrointestinal tract and the genitourinary system.The gross, regional and sectional anatomy of the thyroid, abdomen and pelvis, the vascular, musculoskeletal, hepatobiliary and genitourinary systems, examples of gross pathology, cross-sectional, coronal and sagittal display of these structures and their surrounding regional anatomy. จภอต 512 อัลตราซาวด์เบ้ืองต้น 2 (1-2-3) CHUS 512 Introduction to Ultrasound ศึกษาความรู้เบื้องต้นท่ีจาเป็นสาหรับการตรวจอัลตราซาวด์ ความรู้ที่จาเป็นในการตรวจอัลตราซาวด์ ของอวัยวะในช่องท้องความรู้ทางฟิสิกส์ทางอัลตราซาวด์การใช้เคร่ืองมือต่างๆ ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ และพยาธิสรีรวิทยา หลักปฏิบัติการสแกนและการฝึกปฏิบัติกับหุ่นจาลองภายใต้คาแนะนาเพื่อที่จะสามารถ ประยุกต์ใช้หลักปฏิบัติต่างๆ และพัฒนาทักษะการปฏิบัติขั้นพ้ืนฐานในสถานการณ์จาลองทางคลินิก Study of Introductory knowledge,the requisite knowledge abdominal organs, the physics of ultrasound and instrumentation, sonographic anatomy and pathophysiology, scanning principles and practice. The scanning of models under supervision, enable to apply these principles and develop basic practical skills in a simulated clinical environment.

21 จภอต 514 การตรวจสแกนและการถ่ายภาพอัลตราซาวด์ 2 (1-2-3) CHUS 514 Ultrasound Scanning ศึกษาขั้นตอนการตรวจอัลตราซาวด์ระดับสูงศาสตร์ด้านการถ่ายภาพกายวิภาคศาสตร์ของอวัยวะ ต่าง ๆ ในช่องท้องโครงสร้างที่สัมพันธ์อ่ืน ๆ พยาธิสภาพของอวัยวะในช่องท้องท่ีพบได้บ่อย การเลือกอุปกรณ์ที่ เหมาะสม การปรับภาพทางเทคนิค เทคนิคการสแกน ตบั ถุงน้าดี ระบบทางเดินน้าดี ผนังหน้าท้องส่วนหน้า ไส้ เล่ือน ของหน้าท้อง อวัยวะเย่ือบุช่องท้อง (Peritoneum) และอวัยวะหลังเยื่อบุช่องท้อง การตรวจ Doppler ของช่องท้อง ส่วนบน การฝึกปฏิบัติการสแกนหุ่นจาลองและมนุษย์ การประยุกต์ใช้หลักปฏิบัติต่าง ๆ ใน สถานการณ์จาลองทาง คลินิก การตรวจอัลตราซาวด์ doppler การสร้างภาพ harmonic imaging เคร่ืองมือ Spectral Doppler และ continuous doppler, artefacts ทางอัลตราซาวด์ผลกระทบทางชีวภาพและ อันตรายทางชวี ภาพท่ีเกดิ จากเสยี ง Study of advanced Ultrasound methods, Imaging science, the sonographic anatomy of the abdominal organs and related structures, sonographic representation of common abdominal pathologies, selection of appropriate ultrasound equipment, optimization of technical factors, scanning techniques for the liver, gallbladder, biliary system, anterior abdominal wall and hernias, peritoneum andretroperitoneum,doppler ultrasound of the upper abdomen , the scanning of models under supervision, apply these principles and develop basic practical skills in a simulated clinical environment. Doppler ultrasound and harmonicimaging, Spectral Doppler and continuous Doppler instrumentation, Ultrasound artefacts, Bio-effects and bio-hazards of diagnostic ultrasound. จภอต 515 ทักษะและจริยธรรมทางวิชาชีพ 1 (1-0-2) CHUS 515 Sonographic professional skills and ethic ศึกษาหลักการสาคัญของการปฏิบัติด้านกฎหมายท่ีเก่ียวกับการให้บริการทางการแพทย์ จรรยาบรรณ ทางการแพทย์และการส่ือสารอย่างมืออาชีพ (Professional communication) ตัวอย่าง หลักการและการ ปฏิบัติการทางการแพทย์เก่ียวกบั เทคนคิ และวิธกี ารตรวจสแกนโดยอาศัยการซักประวัติและ ทกั ษะการแปลผลท่ี เกยี่ วขอ้ งกับลกั ษณะภาพของการตรวจอัลตราซาวด์ Study of key principles of medicolegal practice, medical ethics and professional communication. Sonographic scanning methods and techniques for examinations, information gathering techniques and the elements of a clinical history, interpretational skills in respect to the recognition of the sonographic appearances

22 จภอต 521 สัมมนาและระเบียบวธิ วี จิ ัยทางอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ 1 (1-0-2) ไมค่ ิดหน่วยกติ CHUS 521 Seminar and Research Methodology in Medical Sonography การวิจัยทางอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ แนวคิดในการวิจัย กระบวนการวิจัย จริยธรรมการวิจัย การ ออกแบบการวิจัยเคร่ืองมือและคุณภาพเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเพื่อการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การอภิปรายผล การสังเคราะห์ความรู้ การใช้ผลการวิจัยทางอัลตราซาวด์ทางการแพทย์ การ ประเมินคุณภาพ งานวิจยั การเขียนโครงการและรายงานวิจยั การวิจยั เชิงคุณภาพ การสืบค้นขอ้ มูล การพัฒนา โครงร่างวิจยั Medical Sonography research; research concept; research process; research ethics; research designs; research instrument and quality of instrument; data collection; statistics for research; data analysis; discussion; knowledge synthesis; Medical Sonography research utilization; evaluation of research quality; writing research project and report; qualitative research; literature search; research proposal development จภอต 522 การตรวจอัลตราซาวดช์ ่องท้อง 2 (1-2-3) CHUS 522 Abdominal Sonography ศึกษาวิธีการตรวจอัลตราซาวด์ตามโปรโตคอลมาตรฐาน การตรวจตับ ถุงน้าดี ระบบทางเดินน้าดี ตับ อ่อน ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ม้าม อวัยวะหลังเย่ือบุช่องท้อง หน้าท้องด้านหน้าโครงสร้าง ของหลอดเลือดที่สัมพันธ์กับอวัยวะในช่องท้อง หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์ของการสร้างภาพ Tissue harmonic การใช้ contrast agent ในการตรวจอัลตราซาวด์ช่องท้อง ทักษะในการแปลผลท่ีเก่ียวกับ การ จาแนกลักษณะของภาพอัลตราซาวด์ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ปกติลักษณะทางกายวิภาคศาสตร์ปกติ ที่มี ความแตกต่างกัน โรคและการดาเนินของโรคในช่องท้อง ความสามารถในการปรับวิธีในการตรวจมาตรฐาน ให้ สมั พันธก์ บั การต้งั คา่ ถามทางคลนิ ิกและอาการแสดงของผูป้ ่วยทม่ี าตรวจ Study of sonographic scanning methods, standard protocols examinations of adult liver, gallbladder, biliary system, pancreas, gastrointestinal tract, urinary system, spleen, retroperitoneum, abdominal wall and related vascular structures.The scientific principles underpinning tissue harmonic imaging, contrast agents in abdominal sonography. Interpretational skills in respect to recognition of sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants, disease processes, modify standard sonographic approaches with regards to the clinical question and patient presentation.

23 จภอต 523 การตรวจอัลตราซาวด์ของระบบสืบพันธุ์ 2 (1-2-3) CHUS 523 Reproductive Sonography ศึกษาวิธีการให้การตรวจ วิธีการตรวจลาดับข้ันและมาตรฐานการตรวจ ทักษะการแปลผล เพื่อให้เกิด ความเข้าใจลักษณะที่เห็นจากภาพอัลตราซาวด์ของลักษณะทางกายวิภาคปกติ กายวิภาคปกติท่ีมีความแตกต่าง โรคและการดาเนินของโรคของอวัยวะในอุ้งเชิงกรานสตรี ถุงอัณฑะและโครงสร้างภายในถุง อัณฑะ การปรับ มาตรฐานการตรวจเพ่ือให้เข้ากับค าถามหรือปัญหาทางคลินิกและสัมพันธ์กับอาการของผู้ป่วย ความเข้าใจถึง ข้อจ ากัดของอัลตราซาวด์ที่เก่ียวข้องกับภาพวินิจฉัยทางการแพทย์และการตรวจโดยการผ่าตัด ส่องกล้องของ ระบบอวยั วะสืบพนั ธ์ุ Study of sonographic scanning methods, standard protocols and interpretational skills for recognition of sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants and disease processes associated with the female pelvis, the scrotum and its contents, modify standard approaches to the clinical question and patient presentation. Limitations of ultrasound in relation to other medical imaging and laparoscopic examinations of the reproductive system. จภอต 524 การอัลตราซาวดท์ างสูติศาสตร์ 2 (1-2-3) CHUS 524 Obstetric Sonography ศึกษาพันธุกรรมของมนุษย์ การตั้งครรภ์ การพัฒนาของเอ็มบริโอในครรภ์ การให้การตรวจ สแกนและ เทคนคิ การตรวจทางหนา้ ท้อง การตรวจทางชอ่ งคลอด การตรวจทางฝีเย็บ ในระยะการตง้ั ครรภท์ ัง้ 3 ระยะ การ ประเมินภาวการณ์ต้ังครรภ์นอกมดลูก เวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ หลักจริยธรรมท่ีสัมพันธ์กับการตรวจทางสูติ ศาสตร์ การตรวจอัลตราซาวด์ของการตั้งครรภแ์ ฝด การอลั ตราซาวด์ทางสูติศาสตร์และเทคนิค การให้การรักษา ช่วงต้ังครรภ์ การใช้อัลตราซาวด์ประเมินอายุครรภ์ การเจริญเติบโตของทารก การวินิจฉัย ภาวะต่าง ๆ ในช่วง กอ่ นการคลอด ภาวะความพิการแต่ก าเนิดการวินิจฉัยการเสียชีวิตของตวั อ่อนในโพรง มดลกู หลักฟิสิกส์ในการ แสดงภาพ 3 มิติเพือ่ การอลั ตราซาวดท์ างสูตศิ าสตร์ Study of human genetics, pregnancy, human development Scanning methods/techniques including transabdominal, transvaginal, transperineal of the 3 trimesters of pregnancy, evaluation of ectopic pregnancy, assisted fertilization techniques. Ethical principles re-examined in light of this medical specialty. Ultrasound of multiple pregnancies, obstetric ultrasound interventional techniques, sonographic assessment of gestational age and growth, use of ultrasound in prenatal diagnosis of congenital anomalies, diagnosis of fetal death in uterus, Physical principles of visualizing surfaces in 3D.

24 จภอต 525 การให้การตรวจอลั ตราซาวดข์ องเต้านม ตอ่ มไทรอยด์ ศรี ษะและลาคอ 2 (1-2-3) CHUS 525 Sonography of the breast, thyroid, head and neck ศึกษาหลักการและการปฏิบัติการทางการแพทย์เก่ียวกับเทคนิคและวิธีการตรวจสแกนเต้านม ต่อม ไทรอยด์ ศีรษะและลาคอ โดยอาศัยการซักประวัติและทักษะการแปลผลท่ีเก่ียวข้องกับลักษณะภาพของ การ ตรวจอัลตราซาวด์ ความเข้าใจลักษณะทางกายวิภาคในคนปกติและลักษณะทางกายวิภาคปกติท่ีมีลักษณะ แตกต่างออกไป (normal variation) การดาเนนิ โรคในระยะต่างๆ ของเต้านม ตอ่ มไทรอยด์ ศีรษะและลาคอ Study of key principles of medicolegal practice, medical ethics and professional communication. Sonographic scanning methods and techniques for examinations of the breast, thyroid, head and neck, information gathering techniques and the elements of a clinical history, interpretational skills in respect to the recognition of the sonographic appearances of normal anatomy, anatomical variants and disease processes affecting the breast, thyroid, head and neck. อาชีพที่สามารถประกอบไดห้ ลงั สาเร็จการศึกษา นักรังสีเทคนิค หรือนักรังสีการแพทย์ผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านอัลตราซาวด์ทางการแพทย์หรือ นักวทิ ยาศาสตร์ผูเ้ ชย่ี วชาญดา้ นอลั ตราซาวด์ทางการแพทยใ์ นสถานบริการสุขภาพ โดยทางานเก่ยี วขอ้ งกับการให้ การตรวจทางอัลตราซาวด์ เพ่ือการวินิจฉัยผู้ป่วย นักวิจัย อาจารย์ นักวิชาการ ประกอบอาชีพด้านเครื่องมือ ทางอัลตราซาวด์ หรอื ศกึ ษาต่อในระดบั ท่ีสูงขึ้นในสาขาสัทภาพการแพทย์ สาขารงั สีเทคนิค วิทยาศาสตร์สุขภาพ หรอื สาขาที่เกยี่ วขอ้ งท้งั ในประเทศและต่างประเทศ

25 ปฏิทินการศึกษา ระดบั บัณฑิตศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2562 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ (สัทภาพการแพทย์) ภาคการศกึ ษาที่ 1/2562 วนั จันทรท์ ี่ 22 - วันอังคารท่ี 23 กรกฎาคม 2562 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (สัทภาพการแพทย)์ ภายในวนั พุธที่ 24 กรกฎาคม 2562 ลงทะเบียนเรียน รหสั 61 วนั พุธท่ี 7 - วนั พฤหสั บดที ่ี 8 สงิ หาคม 2562 ชาระคา่ ลงทะเบยี นเรยี น ภายในวันศุกร์ท่ี 9 สิงหาคม 2562 ลงทะเบยี นเรยี น รหสั 62 วนั จันทรท์ ี่ 19 สิงหาคม 2562 ชาระค่าลงทะเบียนเรยี น วนั องั คารท่ี 15 - วันอังคารที่ 22 ตลุ าคม 2562 เปดิ ภาคเรียน วนั พธุ ท่ี 11 - วนั พุธที่ 18 ธันวาคม 2562 สอบกลางภาค วันพฤหัสบดที ่ี 19 ธนั วาคม 2562 สอบปลายภาค วันศกุ ร์ท่ี 27 ธันวาคม 2562 ปดิ ภาคการศึกษา ประกาศผลสอบประจาภาค วนั พฤหสั บดีท่ี 19 - วนั ศกุ รท์ ่ี 20 ธนั วาคม 2562 ภายในวนั เสาร์ท่ี 21 ธนั วาคม 2562 ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2562 วนั จันทร์ท่ี 23 - วันอังคารท่ี 24 ธันวาคม 2562 หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ (สทั ภาพการแพทย)์ ภายในวันพุธท่ี 25 ธันวาคม 2562 ลงทะเบียนเรียน รหสั 61 วนั จันทรท์ ี่ 13 มกราคม 2563 ชาระค่าลงทะเบียนเรียน วันจันทรท์ ่ี 16 – วันศกุ ร์ที่ 20 มีนาคม 2563 ลงทะเบียนเรยี น รหสั 62 วนั จันทรท์ ่ี 4 - วันศุกรท์ ่ี 8 พฤษภาคม 2563 ชาระค่าลงทะเบยี นเรียน วนั เสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 2563 เปิดภาคเรียน วนั จันทร์ท่ี 18 พฤษภาคม 2563 สอบกลางภาค สอบปลายภาค วันจนั ทรท์ ี่ 25 - วันอังคารท่ี 26 พฤษภาคม 2563 ปดิ ภาคการศึกษา ภายในวันพุธท่ี 27 พฤษภาคม 2563 ประกาศผลสอบประจาภาค วนั พฤหัสบดที ี่ 28 - วันศกุ ร์ท่ี 29 พฤษภาคม 2563 ภายในวันเสารท์ ี่ 30 พฤษภาคม 2563 ภาคการศึกษาฤดูร้อน วันจันทร์ท่ี 22 มถิ ุนายน - วันศกุ รท์ ่ี 14 สงิ หาคม 2563 หลักสตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต (สัทภาพการแพทย)์ วนั เสารท์ ่ี 15 สิงหาคม 2563 ลงทะเบียนเรียน รหสั 61 วนั จันทรท์ ี่ 24 สงิ หาคม 2563 ชาระคา่ ลงทะเบียนเรียน ลงทะเบยี นเรยี น รหสั 62 ชาระคา่ ลงทะเบยี นเรยี น เปิดภาคเรียน ปดิ ภาคการศึกษา ประกาศผลสอบประจาภาค

26 ปฏิทนิ การศกึ ษา ระดบั บัณฑิตศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัทภาพการแพทย์) ภาคการศึกษาที่ 1/2563 หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัทภาพการแพทย์) ลงทะเบียนเรียน วนั จันทรท์ ่ี 27 - วนั อังคารที่ 28 กรกฎาคม 2563 ชาระคา่ ลงทะเบียนเรยี น ภายในวันพธุ ท่ี 29 กรกฎาคม 2563 เปดิ ภาคการศกึ ษา วนั จันทรท์ ี่ 10 สงิ หาคม 2563 ขอเพมิ่ - ลดรายวชิ า วันจนั ทร์ท่ี 10 - วนั ศกุ ร์ที่ 21 สงิ หาคม 2563 (รายวิชาทข่ี อลดจะไม่บันทกึ ในใบแสดงผลการศึกษา และไม่นบั ครง้ั ในการลงทะเบียนเรียน) ขอถอนรายวิชา วนั จนั ทร์ท่ี 24 สงิ หาคม - วนั ศกุ ร์ที่ 20 พฤศจกิ ายน 2563 (รายวิชาที่ถูกถอนจะถูกบันทกึ W ในใบแสดงผลการศกึ ษา และไมน่ บั คร้งั ในการลงทะเบยี นเรยี น) สอบกลางภาค วันจันทรท์ ่ี 5 - วนั ศกุ ร์ที่ 23 ตลุ าคม 2563 นกั ศกึ ษาประเมินการสอนประจาภาคของอาจารยผ์ ู้สอน วันจนั ทร์ท่ี 26 ตุลาคม - วันศุกรท์ ี่ 27 พฤศจกิ ายน 2563 สอบปลายภาค วนั จันทร์ท่ี 30 พฤศจกิ ายน - วนั ศุกร์ที่ 18 ธันวาคม 2563 ปดิ ภาคการศกึ ษา วนั จนั ทรท์ ่ี 14 ธันวาคม 2563 ประกาศผลสอบประจาภาค วันพุธที่ 30 ธนั วาคม 2563 ภาคการศึกษาท่ี 2/2562 วนั จนั ทร์ท่ี 21 - วันอังคารท่ี 22 ธันวาคม 2563 หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (สทั ภาพการแพทย)์ ภายในวันจันทร์ท่ี 28 ธนั วาคม 2563 ลงทะเบยี นเรยี น ชาระคา่ ลงทะเบียนเรยี น เปิดภาคการศกึ ษา วันจนั ทร์ที่ 4 มกราคม 2564 ขอเพิ่ม - ลดรายวชิ า วันจันทรท์ ี่ 4 - วันศกุ ร์ที่ 15 มกราคม 2564 (รายวชิ าทข่ี อลดจะไม่บันทึกในใบแสดงผลการศึกษา และไม่นบั ครั้งในการลงทะเบยี นเรยี น) ขอถอนรายวิชา วนั จันทร์ที่ 18 มกราคม - วันศกุ ร์ท่ี 23 เมษายน 2564 (รายวชิ าทถ่ี ูกถอนจะถูกบนั ทึก W ในใบแสดงผลการศกึ ษา และไม่นบั ครัง้ ในการลงทะเบยี นเรยี น) สอบกลางภาค วนั จนั ทรท์ ่ี 1 - วนั ศกุ ร์ที่ 26 มนี าคม 2564 นกั ศกึ ษาประเมนิ การสอนประจาภาคของอาจารยผ์ ู้สอน วันจันทรท์ ่ี 29 มนี าคม - วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2564 สอบปลายภาค วนั จันทร์ที่ 3 - วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2564 ปิดภาคการศึกษา วนั จันทรท์ ี่ 17 พฤษภาคม 2564 ประกาศผลสอบประจาภาค วันพศกุ ร์ท่ี 28 พฤษภาคม 2564

27 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน วันจันทรท์ ี่ 17 - วนั อังคารที่ พฤษภาคม 2564 หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัทภาพการแพทย์) ภายในวนั พธุ ที่ 19 พฤษภาคม 2564 ลงทะเบียนเรยี น ชาระคา่ ลงทะเบยี นเรยี น เปดิ ภาคการศกึ ษา วันจันทรท์ ่ี 31 พฤษภาคม 2564 ขอเพม่ิ - ลดรายวิชา วันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม - วันศุกรท์ ี่ 4 มถิ นุ ายน 2564 (รายวชิ าทขี่ อลดจะไมบ่ นั ทึกในใบแสดงผลการศกึ ษา และไม่นับครั้งในการลงทะเบียนเรียน) ขอถอนรายวิชา วันจันทร์ท่ี 7 มถิ ุนายน - วนั ศุกรท์ ่ี 9 กรกฎาคม 2564 (รายวิชาทถี่ กู ถอนจะถูกบนั ทึก W ในใบแสดงผลการศึกษา และไม่นบั ครั้งในการลงทะเบยี นเรยี น) สอบกลางภาค วนั จันทร์ที่ 1 - วันศุกรท์ ี่ 26 มีนาคม 2564 นกั ศกึ ษาประเมินการสอนประจาภาคของอาจารยผ์ ู้สอน วนั พฤหสั บดที ี่ 1 - วนั ศกุ รท์ ่ี 16 กรกฎาคม 2564 สอบปลายภาค วันจนั ทร์ที่ 19 - วนั พฤหัสบดที ี่ 22 กรกฎาคม 2564 ปดิ ภาคการศกึ ษา วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม 2564 ประกาศผลสอบประจาภาค วันพศุกรท์ ี่ 6 สิงหาคม 2564

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41 อัตราคา่ ธรรมเนยี มการศึกษาแบบเหมาจ่าย และค่าธรรมเนียมอนื่ ๆ หลกั สตู รวิทยาศาสตรม์ หาบัณฑิต สาขาวิชาสัทภาพการแพทย์ คณะเทคโนโลยวี ิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 1. ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ลาดับท่ี รายการ ภาคการศกึ ษา 1 ภาคการศึกษา 2 ภาคการศกึ ษา 3 ภาคการศกึ ษา 4 ภาค (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) การศึกษา ฤดรู ้อน 1 ค่าธรรมเนียมการศกึ ษาแบบเหมา 70,000 70,000 70,000 70,000 จ่าย - - 2 คา่ ธรรมเนยี มแรกเข้า 2,500 - - -- - -- 3 คา่ บตั รประจาตัวนักศึกษา 300 - -- 4 คา่ ประกันของเสยี หาย (คนื ให้ 5,000 นักศกึ ษาเมื่อสาเร็จการศึกษาหรอื พ้น สภาพการเป็นนักศึกษา) รวมคา่ ใชจ้ า่ ยตลอดหลกั สตู ร 350,000 บาท 2. คา่ ธรรมเนยี มที่ต้องจ่ายรายคร้ังและคา่ ปรบั อืน่ ๆ ลาดับท่ี รายการ หน่วยนับ อตั ราคา่ ธรรมเนยี ม (บาท) 1 คา่ ลงทะเบยี นสอบประมวลความรู้ ครั้งละ 1,500 5,000 2 คา่ รกั ษาสภาพนกั ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ 1,000 600 3 ค่าคนื สภาพการเป็นนักศึกษา (ภาคการศึกษาละ) ภาคการศึกษาละ 200 4 คา่ ปรับการลงทะเบยี นเรยี นประจาภาค ล่าช้ากว่ากาหนด แตไ่ ม่เกนิ 7 ครง้ั ละ 250 วัน 100 5 ค่าปรบั การลงทะเบียนเรยี นประจาภาคลา่ ชา้ ท่ีเกนิ กาหนด 7 วนั แตไ่ ม่ วนั ละ 100 200 เกิน 14 วนั หลังเปิดภาคการศกึ ษาปกติ หรือไมเ่ กนิ 7 วัน หลงั เปดิ ภาค 200 2,000 ฤดรู ้อนชาระคา่ ปรบั เพ่มิ อีก 500 6 คา่ ธรรมเนียมการลงทะเบยี นเพอื่ สอบแกต้ วั อละสอบซอ่ มทไี่ ดร้ บั อนมุ ัติ วชิ าละ 7 ค่าธรรมเนยี มการออกใบรับรอง เช่น หนังสอื รบั รองการเป็นนักศกึ ษา ใบ ฉบับละ แสดงผลการศกึ ษา ใบรบั รองสาเรจ็ การศกึ ษา ฯลฯ 8 คา่ ธรรมเนยี มการออกสาเนาเอกสารอื่น ๆ ฉบบั ละ 9 ค่าวฒุ บิ ัตร/ปริญญาบัตร ฉบบั ละ 10 ค่าจัดทาใบแปลปรญิ ญาบัตร / ใบแทนปริญญาบตั ร ฉบบั ละ 11 ค่าธรรมเนียมข้นึ ทะเบยี นบณั ฑิต - 12 ค่าธรรมเนยี มการปจั ฉมิ นเิ ทศ -

42 วิธี Download ใบคารอ้ งตา่ ง ๆ ของนักศกึ ษา 1. เข้าเว็บไซต์ http://education.cra.ac.th 1 2. เลอื ก “งานทะเบียนนักศึกษา” 2

43 3. เลอื ก “ดาวนโ์ หลด คาร้อง/แบบฟอรม์ ” 3 4. เลอื ก “สามารถดาวนโ์ หลด คารอ้ ง/แบบฟอร์ม” ไดต้ ามตอ้ งการ

44 หมายเลขโทรศัพท์ สานักงานคณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ 02 - 7655710 สานักงานโรงเรยี นนกั อลั ตราซาวดท์ างการแพทย์ 064 - 585-5203 สานกั งานโรงเรยี นรังสเี ทคนิค 064 - 585-5267 สานักงานโรงเรียนวิทยาศาสตร์การเคลือ่ นไหวและสขุ ภาพ 064 - 585-5285 แผนที่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook