Editor Talk บก.พดู คุย กลับมาพบกนั อกี ครั้ง News Letter ฉบับที่ 33 ประจำ� เดอื นเมษายน ซึง่ ปลาย ฉบับที่ 33 ประจ�ำเดือนเมษายน 2563 เดอื นเมษายนนชี้ าวมสุ ลมิ ทวั่ โลกจะเรมิ่ เขา้ สเู่ ดอื นรอมฎอน อนั เปน็ เดอื นเเหง่ การถอื ศลี อด เเละเดอื นทปี่ ระเสรฐิ ทส่ี ดุ ของอสิ ลามในรอบปี ฮ.ศ 1441 ตามปฎทิ นิ อาหรบั เรายงั อยใู่ นชว่ ง 3 ACADEMIC ZONE ของการระบาดของโรค Covid-19 ซ่งึ องคก์ รนามยั โลกไดป้ ระกาศยกระดบั โรค Covid -19 เป็นการระบาดใหญ่ท่ัวโลก หรอื ระยะ Pandemic เรยี บร้อยแลว้ ส�ำหรบั Halal Insight ปฏิบัติรอมฎอนอย่างศาสดานบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ช่วยยืดอายุขัยเพ่ิมภูมิ ฉบับนี้ ทางทีมงานได้น�ำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้อ่านไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ตา้ นทานโรค การปฎบิ ตั ริ อมฎอนอยา่ งศาสดานบมี ฮู มั มดั (ซ.ล) ชว่ ยยดื อายขุ ยั เพม่ิ ภมู ติ า้ นทานโรคผา่ น บทความโดย...รศ.ดร.วนิ ัย ดะหล์ นั คอลมั น์ Acedemic Zone เชอ่ื วา่ ชว่ งนหี้ ลายๆทา่ นตอ้ งทำ� งานจากทบ่ี า้ นตามมาตรการการ เว้นระยะห่างทางสังคมในช่วงของการระบาดของโรค Covid-19 และศวฮ. ได้มีโครงการ 6-7 HALAL HIGHLIGHT อบรมออนไลนก์ ารใชง้ านเครอื่ งมอื สอ่ื สารสาระสนเทศแกบ่ คุ ลากรเพอ่ื อำ� นวยความสะดวก สำ� หรบั การทำ� งานทบ่ี า้ น (Work from Home) จนกวา่ จะพน้ สถานการณน์ โ้ี ดยผา่ นคอลมั น์ แนวทางการปฏบิ ตั ติ น ช่วงเดือนรอมฎอน ในสถานการณ์โควิด-19 Halal Update นอกเหนอื จากนีย้ งั มีข่าวทีน่ ่าสนใจ ศวฮ.รว่ มต้านการแพรร่ ะบาดของไวรสั เรยี บเรยี งโดย...ธัญพชิ ญฌ์ า หวงั นุช Covid-19 สนบั สนนุ เจลและสเปรยแ์ อลกอฮอล์ มอบใหโ้ รงพยาบาลในจงั หวดั ชายแดนใต้ ชมุ ชนและมัสยิดตา่ งๆท่วั ประเทศในคอลมั น์ Halal News 8-9 HALAL SCIENCE News Letterฉบบั นย้ี งั มเี นอื้ หาสาระของ ศวฮ.อกี มากมายโดยมกี ารเคลอื่ นไหว ของสามสำ� นกั งานได้แก่ ส�ำนกั งานปตั ตาน ี สำ� นกั งานเชียงใหม่ และกลมุ่ ภารกจิ บริการ COVID-19 เปล่ียนวิกฤตร้ายให้กลายเป็นโอกาสด้วย Halal Food หนว่ ยงานภายนอกทน่ี ำ� เสนอเนอื้ หา เรอื่ งแนวโนม้ พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคกบั ธรุ กจิ หลงั ผา่ นพน้ บทความโดย...ฟิรดาว สรุ ัตนมาลย์ วิกฤต Covid-19 และHalal Highlight ฉบับน้ี ได้เสนอแนวทางการปฏิบัติตนช่วงเดือน รอมฏอน ในสถานการณ์ Covid-19 รวมไปถึงคอลัมน์ Halal Science มีเร่ืองที่นา่ สนใจ 4-5 HALAL UPDATE ไม่น้อยเลย น่ันก็คือเรื่องCovid-19 เปลี่ยนวิกฤตร้ายให้กลายเป็นโอกาสด้วยอาหาร Halal Food รวมไปถึงคอลัมน์ Halal Route จะมาแนะน�ำร้านอาหารที่น่าสนใจในช่วง ศวฮ.จัดโครงการอบรมออนไลน์การใช้งานเครื่องมือสารสนเทศ Covid-19 ให้ผู้อ่านได้รับทราบ และเนื้อหาท้ังหมดน้ีจะน่าสนใจอย่างไรบ้างนั้น ติดตาม แก่บุคลากร เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับการท�ำงานที่บ้านใน อา่ นกนั ได้ในฉบับนีเ้ ลยค่ะ สถานการณ์โควิด-19 เขียนโดย นรฤทธิ์ ฮเู ซ็น ธญั พิชญ์ฌา หวงั นชุ 5 HALAL NEWS บรรณาธิการ | EDITOR 10 HwoArLksAhLopปfักroษmใ์ hตo้ me ประจ�ำฉบับ เดือนเมษายน 2563 11 HALAL ลา้ นนา HALALวารสารฮาลาลอินไซต์ INSIGHT e-commerce ออนไลนย์ ุคใหม่ ขายไว ไกลทว่ั โลก ฉบับที่ 33 ประจ�ำเดือน เมษายน 2563 12-13HAL-Q CORNER ทปี่ รกึ ษากองบรรณาธกิ าร แนวโนม้ พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคกับธรุ กิจหลงั ผา่ นพน้ วิกฤต COVID-19 รศ.ดร.วนิ ัย ดะห์ลัน ผอ.ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาฯ เขียนโดย อาณัติ มะตมิ ุ ผศ. ดร. วนดิ า นพพรพันธุ์ รอง ผอ.ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาฯ ผศ. นฟิ าริด ระเดน่ อาหมดั รอง ผอ.ศูนยว์ ิทยาศาสตรฮ์ าลาล จฬุ าฯ สำ� นักงานปัตตานี 14 HALAL ROUTE อ.ดร.ภราดร สุรยี ์พงษ์ ผชู้ ว่ ยผู้อ�ำนวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาฯ สำ� นักงานเชียงใหม่ ดร.บรรจง ไวทยเมธา ที่ปรึกษา ผอ.ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ สำ� นักงานปตั ตานี รา้ นอาหารฮาลาล Delivery คุณมนัส สบื สันตกิ ุล ที่ปรกึ ษาผอู้ �ำนวยการฯ ดา้ นบริหารงานบคุ คล เขยี นโดย หทยั ชนก โฉมมณี คณุ สลุ ดิ า หวงั จิ ที่ปรึกษาผู้อำ� นวยการฯ ด้านความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ ด้านงานคลงั และพัสดุ 15 HALAL PR รศ.ดร.อดศิ รา กาติ๊บ ทป่ี รกึ ษาผูอ้ ำ� นวยการฯ ด้านกจิ การต่างประเทศ คุณสมพล รตั นาภิบาล ทป่ี รึกษาผูอ้ �ำนวยการฯ ด้านบรกิ ารการศึกษาและอุตสาหกรรม คณุ ต่อศักด์ิ สุทธิชาติ ทปี่ รกึ ษาผู้อำ� นวยการฯ ดา้ นหน่วยบม่ เพาะวิสาหกจิ ผลติ ภัณฑ์และบริการ คณุ มนฤดี เขม็ ท�ำ ผอู้ �ำนวยการฝา่ ยบรหิ าร ศูนยว์ ิทยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาฯ บรรณาธิการ นางสาวธัญพิชญ์ฌา หวงั นุช กองบรรณาธิการ สแกน QR นางสาวหทัยชนก โฉมมณี เพ่ือแสดงความคิดเห็น นางสาวชีรีน นภิ ารัตน์ และขอ้ ตชิ ม นางสาวอานซี ะห์ ลาเตะ นายอัครชัย เกิดอยู่ นางสาววรญั ญา รดิ มัด ออกแบบกราฟิก นายบากยี า บนิ ดอเลาะ พสิ ูจน์อักษร นางสาวมธรุ ดา กระเดื่องเดช ส�ำนักงานกองบรรณาธิการ ศูนย์วิทยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 254 อาคารวิจยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 11-13 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวนั กรุงเทพฯ 10330 โทร. 02-2181053 แฟกซ์ 02-2181105
Aบทcควaามdวิชeากmารic Zone เซลลม์ นษุ ยผ์ ใู้ หญ่ 10 ลา้ นจาก 37 ลา้ นลา้ นเซลลถ์ งึ อายขุ ยั ในแตล่ ะวนั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งถกู กำ� จดั ทงิ้ เซลลเ์ หลา่ นภี้ ายใน เตม็ ไปเศษสง่ิ สกปรก เมอ่ื ถกู กำ� จดั รา่ งกายสามารถสรา้ งเซลลใ์ หมท่ ดแทนได้ ทวา่ ในวยั สงู อายปุ ระสทิ ธภิ าพการสรา้ งเซลลใ์ หม่ ทดแทนเซลล์เกา่ เกดิ ได้นอ้ ยลง จำ� เปน็ ต้องใช้ วิธยี ืดอายุขยั เซลลเ์ กา่ โดยทำ� ความสะอาดเซลลเ์ พ่ือชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ซลล์ถกู ทำ� ลาย กระบวนการนเี้ รยี กว่า Autophagy ซ่งึ เร่งใหเ้ กดิ ขนึ้ ได้ดว้ ยการอดอาหารอยา่ งส้นิ เชิงระยะเวลาหนึ่ง การคน้ พบน้ีทำ� ให้ นายแพทย์ญ่ปี ่นุ Yoshinori Ohsamu ไดร้ ับรางวลั โนเบล ค.ศ.2016 มาแลว้ น่ีคอื ค�ำอธบิ ายวา่ เหตใุ ดการอดอาหารจึงช่วยยืด อายขุ ัยได้ ค.ศ.2014 ดร.วอลเตอร์ ลองโก (Valter Longo) แห่ง งานหลักคือเร่งการเผาผลาญสารอาหารให้เป็นพลังงาน มหาวิทยาลัย USC พบว่าการอดอาหารนาน 72 ชั่วโมงช่วยให้ ไมน่ ำ� ไปสะสม ทงั้ ยงั บรโิ ภคแตน่ อ้ ยเพยี งหนง่ึ ในสามของ ร่างกายกำ� จัดเซลลเ์ ก่าสร้างเซลล์ใหม่ เกดิ เม็ดเลอื ดขาวท่แี ข็งแรง พลงั งานทต่ี อ้ งการในแตล่ ะวนั เสมอื นรบั ประทานอาหาร ชว่ ยเพม่ิ ภมู ติ า้ นทานโรค ภายหลงั ลองโกพฒั นาสตู รอาหาร PreLon วันละหน่ึงมื้อ การละหมาดซ่ึงเปรียบเสมือนการออก เลียนแบบการอดอาหารนาน 5 วัน สรุปคือ การอดอาหารส้ินเชิง กำ� ลงั กาย ทา่ นนบลี ะหมาดท้งั วันไม่ตำ่� กวา่ 50 รอกะอัต นาน 3-5 วันชว่ ยยืดอายุขัย เพม่ิ ภูมติ า้ นทาน สร้างสุขภาพได้จรงิ ในเดือนรอมฎอนยังเพิ่มเติมการละหมาดยามค่�ำคืนอีก ค�ำถามคือ การถือศีลอดแบบมุสลิม ซึ่งเป็นการอดอาหารช่วงส้ัน ไม่ต�่ำกว่า 11 รอกะอัต การละหมาดใช้พลังงาน 4.71 (Fasting) จะให้ประโยชน์เช่นเดียวกับการอดอาหารอย่างสิ้นเชิง กิโลแคลอรีต่อรอกะอัตท�ำให้สูญเสียพลังงานไป 287 (Starvation) นาน 3 วันหรือไม่ โดยนพ.พ.อ.แม็คซิโม เมสลอส กิโลแคลอรีเทียบเท่ากับการงดอาหารหนึ่งมื้อ ในแต่ละ (M. Maislos) แพทย์ทหารกองทัพบกอิสราเอลใหค้ ำ� ตอบว่าได้ แต่ วันท่านนบีจึงปฏิบัติรอมฎอนไม่ต่างจากการอดอาหาร ด้วยเง่ือนไขว่าต้องอดอาหารแบบนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) โดยบริโภค อย่างส้นิ เชงิ เลย แตน่ อ้ ยระหวา่ งถือศลี อด เพิม่ การออกกำ� ลงั กายและการท�ำสมาธิ ค.ศ.1993Maislosทำ� การวจิ ยั ผลของการถอื ศลี การปฏิบัติรอมฎอน (Ramadan practices) จึงไม่ใช่เพียงอด อดในเดือนรอมฎอนของชนเผ่าเบดูอินแห่งทะเลทราย อาหารเทา่ นัน้ นาจาฟซ่ึงปฏิบัติตัวได้ใกล้เคียงท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) พบว่าค่า HDL ในเลือดเพิ่มขึ้นถึง 30% ลดความเส่ียง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด หากปฏิบัติได้เช่นท่านนบี โดยลดอาหารลงอกี และเพม่ิ การใชแ้ รงงานโดยละหมาด มากขึ้นและยาวนานข้ึนอาจช่วยเพ่ิมอายุขัยพร้อม ภูมิต้านทานโรค การละหมาดอย่างมีสมาธิ การอ่าน อัลกุรอานเป็นคล้ายการท�ำสมาธิซ่ึงพิสูจน์แล้วว่าช่วย ด้านสุขภาพได้หลายประการ การปฏิบัติรอมฎอนอย่าง ในเดือนรอมฎอน ส่ิงที่นบีมุฮัมมัด (ซ.ล.) ปฏิบัติคือ ทา่ นนบีมุฮมั มัด (ซ.ล.) จงึ สร้างเสริมสุขภาพได้ นกั วจิ ัย อดอาหารและน้ำ� ตลอดวัน กินอาหารสองมอื้ โดยม้ือแรกกอ่ นเวลา เชอื่ กันอย่างน้ัน แสงทองจบั ขอบฟา้ (อมิ ซาก) มอ้ื ทส่ี องหลงั ดวงอาทติ ยต์ กและกอ่ น แสงแดงหมดจากขอบฟ้า (มัฆริบ) ซ่ึงช่วยให้ฮอร์โมนอินสุลินท�ำ dr.winai dahlan HALAL INSIGHT 3 ISSUE 33 | APRIL 2020
HALAL UPDATE TeamViewer MS-Team Dropbox Google Meet เขียนโดย นรฤทธิ์ ฮเู ซน็ เจ้าหน้าทีบ่ ริการการศึกษา (คอมพิวเตอร)์ ศวฮ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส ความสะดวกแล้วยังเป็นประโยชน์ส�ำหรับการพัฒนากระบวนการท�ำงาน โควดิ -19 (COVID-19) ทเ่ี กิดข้นึ อย่ใู นขณะน้ี ไดส้ ่งผลกระทบ พัฒนาศักยภาพของตนเอง การท�ำงานร่วมกันเป็นทีม การติดต่อส่ือสาร ต่อชีวิตประจ�ำวันของคนทั่วโลก มาตรการการรักษาระยะห่าง การมอบหมายงาน และการเพิ่มศักยภาพการท�ำงานร่วมกันภายในองค์กร ทางสงั คม (Social Distancing) ลดโอกาสการพบเจอกนั ของ หลังสน้ิ สุดสถานการณ์โควิดไดเ้ ป็นอย่างดีอกี ด้วย ผคู้ นในทส่ี าธารณะ เพอ่ื ลดการแพรก่ ระจายของไวรสั กลายเปน็ มาตรการหลักในการแก้ปัญหาที่หลายประเทศหยิบยกมา ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน รวมถึงประเทศไทยด้วย หน่วยงาน ราชการ เอกชน หรือ บริษัทหลาย ๆ แห่ง ได้กำ� หนดนโยบาย ให้พนักงานตอ้ งทำ� งานจากที่บา้ น ( Work from home) จนกว่า จะพน้ สถานการณ์นี้ไป ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศวฮ.) กไ็ ดม้ ปี ระกาศศวฮ.อา้ งองิ ตามประกาศของจฬุ าลงกรณ์ ศวฮ.จงึ ไดจ้ ดั “โครงการอบรมออนไลนก์ ารใชง้ านเครอื่ งมอื มหาวิทยาลัย ประกาศกรุงเทพมหานคร มติคณะรัฐมนตรี สารสนเทศแก่บุคลากรเพื่ออำ�นวยความสะดวกสำ�หรับการทำ�งาน และ พระราชก�ำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน ท่ีบ้านในสถานการณ์โควิด-19” โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสนับสนุน ก�ำหนดให้บุคลากรท�ำงานจากที่พักอาศัยของตนตามท่ีได้รับ การท�ำงานจากที่บ้านของบุคลากร สนับสนุนการเรียนรู้การใช้งานเครื่อง มอบหมาย พร้อมท้ังงานพัฒนากระบวนการ และงานพัฒนา มือออนไลน์เพ่ือการท�ำงานเป็นทีม และ พัฒนาศักยภาพการท�ำงานที่มี ตนเอง ตั้งแตว่ ันท่ี 23 มีนาคม – 30 เมษายน 2563 หรอื จนกว่า ประสิทธิผลทั้งต่อตนเองและองค์กรต่อไป โดยได้จัดเป็นโครงการน�ำร่อง จะมปี ระกาศเปล่ียนแปลง เพื่อให้ความรู้แก่บุคลากรและทดสอบหาแนวทางที่เหมาะสมส�ำหรับการ การท�ำงานจากทบี่ า้ น (Work From Home) คอื การ จัดโครงการต่อไปในภายภาคหน้า การอบรมเน้นการใช้งานเคร่ืองมือชุด ทอ่ี งคก์ รกำ� หนดใหพ้ นกั งานสามารถทำ� งานจากทบ่ี า้ นหรอื ทพ่ี กั ประเภท Cloud Application ทจ่ี ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดซ้อื ลิขสิทธ์มิ าให้ อาศัยไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเขา้ ส�ำนกั งาน (ส�ำหรับในสถานการณ์ปกติ บรกิ ารฟรแี กน่ สิ ติ คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรในรปู แบบของลขิ สทิ ธมิ์ หาวทิ ยาลยั จะหมายรวมถงึ การท�ำงานจากสถานท่อี น่ื เชน่ ร้านกาแฟ หรือ (Campus License) ไดแ้ ก่ G-Suite for Education และ Office 365 A1 Plus สถานที่ที่ให้บริการพ้ืนท่ีท�ำงานสาธารณะ (Working Space) รวมถงึ โปรแกรมทเี่ ปน็ ลขิ สทิ ธจิ์ ฬุ าฯ ตวั ลา่ สดุ ไดแ้ ก่ Zoom Application ซง่ึ เปน็ ด้วย) ในการทำ� งานแบบนีอ้ าจจะตอ้ งมีการประชมุ งานร่วมกัน โปรแกรมประชมุ ทางไกลยอดนยิ มในขณะน้ี วทิ ยากรผอู้ บรมในโครงการลว้ น แบบทางไกล (VDO Conference) การเรยี กใชข้ อ้ มลู จากทเี่ กบ็ เป็นบุคลากรผูม้ ีประสบการณ์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของศวฮ.เอง (Data Storage) การสง่ และแบง่ ปนั ขอ้ มลู ใหก้ นั (Data Sharing) ได้แก่ คุณนรฤทธ์ิ ฮูเซ็น เจ้าหน้าท่ีบริการการศึกษา (คอมพิวเตอร์) หรอื แมแ้ ตก่ ารทำ� หรอื แกไ้ ขเอกสารรว่ มกนั (Collaborate Work) คุณพัชญา เพชรเจริญ เจ้าหน้าท่ีบริการวิทยาศาสตร์ และ คุณฮาบิลลาห์ ในยคุ 4.0 น ี้ มเี ครอื่ งมอื สารสนเทศมากมายทช่ี ว่ ยใหก้ ารทำ� งาน จะปะกยี า เจา้ หนา้ ทบี่ รกิ ารวทิ ยาศาสตร(์ สำ� นกั งานปตั ตาน)ี เพอ่ื จะไดแ้ นะนำ� จากที่บ้านในลกั ษณะตา่ งๆ เหล่านี้งา่ ยขน้ึ ซงึ่ นอกจากอำ� นวย การประยุกต์ใช้เครื่องมือเหล่าน้ีให้เหมาะสมส�ำหรับการท�ำงานในแต่ละ 4 วารสารฮาลาลอินไซต์ ฉบบั ที่ 33 เดือนเมษายน 2563
HALAL NEWS ส่วนงานไดอ้ ย่างเข้าอกเขา้ ใจ นอกจากนี้ รศ.ดร.วินัย “ศวฮ.” ร่วมต้านการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ดะห์ลัน ผู้อ�ำนวยการและผู้ก่อตั้งศวฮ. ยังให้เกียรติ เปน็ วทิ ยากรรบั เชญิ กติ ตมิ ศกั ดิ์ เปดิ โครงการอบรมใน สนบั สนนุ เจลและสเปรยแ์ อลกอฮอล์ มอบใหโ้ รงพยาบาลใน หวั ขอ้ “การทำ� PowerPointในแบบดร.วนิ ยั ดะหล์ นั ” จังหวดั ชายแดนใต้ ชมุ ชน และมัสยิดต่างๆท่วั ประเทศ และ ผศ.ดร.ภราดร สรุ ยี พ์ งษ์ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการ ศวฮ. ในหวั ขอ้ “การทำ� งานรว่ มกนั ดว้ ย MS-Team และการ จากสถานการณป์ จั จบุ นั ทที่ วั่ โลกกำ� ลงั ประสบภาวะวกิ ฤตจากสถานการณก์ าร วิเคราะหข์ อ้ มลู ด้วย Power BI” แพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19 ซงึ่ หลาย ๆ ประเทศตา่ งพยายามรบั มอื กบั สถานการณ์ ดังกล่าวอย่างเต็มที่เช่นเดียวกับประเทศไทย มาตรการต่าง ๆ ท่ีออกมาภายใต้การ ควบคมุ ของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) ครอบคลุมในหลากหลายมติ ิ ซง่ึ การอบรมการใชง้ านเครอ่ื งมอื สารสนเทศแกบ่ คุ ลากร สามารถควบคมุ สถานการณ์การแพร่ระบาดไดใ้ นระดบั ดเี ย่ียม โดยไทยจัดอย่ใู นล�ำดับ ครั้งน้ี จัดแบบออนไลน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตด้วย ท่ี 50 ของโลก ท่ีพบผูต้ ิดเชอื้ และเสยี ชีวิตจาก COVID-19 จากขอ้ มลู วันท่ี 16 เมษายน โปรแกรม Zoom ระหว่างวันที่ 17-30 เมษายน 2563 มีจำ� นวนผู้ป่วยสะสม 2,672 คน โดยแบ่งเป็น ผู้ติดเชือ้ ใหม่ 29 ราย เสยี ชีวติ 46 ทกุ วนั จันทรถ์ งึ ศุกร์ เวลา 10.00 – 11.30 น. โดยเปิด ราย และรกั ษาหายกลบั บ้านแล้วจำ� นวน 1,593 ราย อย่างไรกต็ าม แม้ว่าสถานการณ์ ใหล้ งทะเบยี น ปรบั แตง่ อปุ กรณ์ ระบบเสยี งและแสดง การแพรร่ ะบาดในประเทศไทยจะไม่รุนแรงเมือ่ เทียบกบั ประเทศอ่ืน ๆ แตอ่ งค์กรต่าง ๆ ภาพของผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ในชว่ ง 30 นาที กอ่ นถงึ เวลา ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างช่วยกันทุกวิถีทางในการสร้างการรับรู้ รณรงค์ให้ประชาชน การอบรม และใช้เวลาหลังการอบรมแต่ละวันเพื่อ ตระหนักถึงการดูแลตนเองให้พ้นจากภัยโควิด รวมถึงจัดหาสิ่งจ�ำเป็นพ้ืนฐานในการ ทดสอบการใชง้ านเครอ่ื งมอื การอบรมในรปู แบบตา่ งๆ ป้องกันจากเชอ้ื โรคอย่างเช่นหน้ากากอนามยั เจลและสเปรย์แอลกอฮอล์ เพ่ือประโยชน์ส�ำหรับการจัดโครงการอบรมหรือ โครงการอื่นๆ ต่อไปในอนาคต เช่น จัดให้มีการ ดว้ ยเหตนุ ี้ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ นำ� โดย รศ.ดร.วนิ ยั ดะหล์ นั ให้โอวาทหรือช้ีแจงกฎระเบียบจากผู้บริหาร การ ผ อู้ ำ� นวยการศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรฮ์ าลาลจฬุ าฯ(ศวฮ.) ไ ดร้ ว่ มกบั สถาบนั มาตรฐาน สัมภาษณ์บุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ฮาลาลแหง่ ประเทศไทยรศ.ดร.ปกรณ์ปรยี ากรผอู้ ำ� นวยการสถาบนั มาตรฐาน การอบรมการใช้งานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์หรือ ฮาลาลแหง่ ประเทศไทย ไดจ้ ดั กจิ กรรมสนบั สนนุ เจลและสเปรยแ์ อลกอฮอล์ แอพพลิเคช่ันอ่ืนๆ ของโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น มอบให้โรงพยาบาล ในจังหวัดชายแดนใต้ ชุมชนและมัสยิดต่างๆ นอกจากนกี้ ารอบรมทกุ ครงั้ ยงั มบี ันทกึ การอบรมเปน็ ท่ัวประเทศ เพื่อร่วมต้านการแพร่ระบาดไวรัสโควิด-19 ซึ่งมี ตัวแทน ไฟลว์ ดิ โี อเผยแพรผ่ า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ (StreamingVideo) กระทรวงศึกษาธกิ าร, คณุ สธุ รรม บญุ มาเลิศ เลขานุการจุฬาราชมนตร,ี ส�ำหรับให้ผู้สนใจหรอื รับชมซ้�ำยอ้ นหลงั ได้อีกด้วย คุณสมศักด์ิ เมดาน ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมการกลางอสิ ลาม หลงั จากเรม่ิ การอบรมตั้งแต่วันที่ 17 เม.ย. แห่งประเทศไทย, อิหม่ามมานิต ทองแสง และอีหม่าม บุคลากรทกุ ส�ำนกั งานต่างให้ความสนใจเขา้ ร่วม อำ� พน นะมิ ตัวแทนจากมสั ยิดในกรงุ เทพฯ มารบั มอบ การอบรมในครั้งนี้ และไดล้ งความเห็นใน เจลและสเปรยแ์ อลกอฮอล์ ณ ห้องประชมุ ชั้น 12 ศูนย์ ใบประเมินการอบรมขอให้จดั โครงการ วิทยาศาสตรฮ์ าลาล จุฬาฯ ทั้งน้ไี ดร้ ับการสนับสนุนวตั ถดุ บิ อบรมตอ่ เนอ่ื งต่อไป เพื่อโอกาสในการ ตง้ั ตน้ จาก บรษิ ัทธัญธารา ไทยเฮอร์เบล้ิ จ�ำกัด พฒั นาศักยภาพจากการทำ� งานทีบ่ า้ น และทีท่ �ำงานในสถานการณ์ปกตติ ่อไป แมส้ ถานการณ์โควิดจะส้นิ สดุ ลงแล้ว กต็ าม HALAL INSIGHT 5 ISSUE 33 | APRIL 2020
Halal Highlight ในช่วงนี้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ยังอยู่ในช่วงการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ จึงได้แนะน�ำแนวทางการปฏิบัติตัวในช่วงการถือศีลอดของพี่น้องมุสลิม เพ่ือสร้างภมู ติ า้ นทานโรคตลอดเดอื นรอมฎอน มาถอื ศีลอดเพือ่ เพ่มิ ภูมติ ้านทานโรคกันเถอะ CORONAVIRUS PREVENTION เวลานี้มาตรการสร้างระยะห่างทางสังคม (Social สหรัฐอเมริกา อิตาลี หรอื แม้กระท่งั มาเลเซยี วงการแพทย์ Distancing) กำ� ลงั เขม้ ขน้ โดยใหแ้ ตล่ ะคนอยหู่ า่ งจากคนอน่ื อยา่ ง พบว่าจุดอ่อนอยู่ท่ีคนน่ันเอง ปัญหาในสหรัฐอเมริกาหรือ น้อย 2 เมตร หลายประเทศจดั หนักกว่านี้โดยหา้ มการออกนอก แม้กระทั่งมาเลเซียคือคนอ้วนมีมากเกินไป ส่วนในอิตาลี บ้านกันไปเลย ทั้งหมดนี้เพ่ือลดอัตราเร็วของการติดเชื้อของโรค เปน็ ปญั หาของผสู้ งู อายแุ ละโรคประจำ� ตวั ไมว่ า่ จะเปน็ เบา โควดิ -19 ลงใหไ้ ด้ เพราะคนนเ่ี องทเี่ ปน็ พาหะพาเชอื้ แพรก่ ระจาย หวาน ความดนั โลหติ สงู อนิ สลุ นิ สงู สง่ิ หนง่ึ ทเ่ี ปน็ ปจั จยั รว่ ม ออกไป เมอื่ ใหค้ นหยดุ เชอื้ ยอ่ มแพรต่ อ่ ไมไ่ ด้ คดิ กนั งา่ ยๆ อยา่ งนน้ั ของทงั้ สามสงั คมคอื ภมู คิ มุ้ กนั โรคทตี่ ำ่� ลงเมอ่ื อว้ น หรอื เมอ่ื โดยวงการแพทยย์ อมรบั วา่ นคี่ อื วธิ ที ไ่ี ดผ้ ลทสี่ ดุ ประสทิ ธภิ าพรอง เข้าวัยชรา หรือเม่ือมีโรคแทรกซ้อน การเพ่ิมภูมิต้านทาน ลงมาคอื การป้องกันพืน้ ที่ T-zone บริเวณใบหนา้ ไดแ้ ก่ ดวงตา โรคจงึ เปน็ ทางเลือกท่คี วรต้องส่งเสรมิ ในชว่ งเวลานี้ สองข้าง จมูกและปากซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีรับเชื้อด้วยการสวมหน้ากาก การถือศลี อดหรอื อดอาหารมีอยหู่ ลายวธิ ี จะขอ อนามยั อยา่ งถกู ตอ้ ง อกี วธิ หี นง่ึ ทสี่ ำ� คญั มากคอื การลา้ งมอื อยา่ ง น�ำเสนอการถือศีลอดแบบอิสลามให้กับพวกเรา ส่วนใคร ถูกตอ้ งใหบ้ ่อย จะใชว้ ธิ ีการอดอาหารช่วงสัน้ ๆ แบบ IF หรอื Intermittent Fasting ก็ไมเ่ ป็นปญั หา วธิ ีการถอื ศลี อดแบบอิสลามโดย SOCIAL DISTANCING รับประทานอาหารมื้อแรกก่อนแสงตะวันขึ้นซึ่งคือเวลา 5.00 น. ส�ำหรับกรุงเทพฯ อดอาหารอดน้�ำทุกอย่างไป 2m จนถงึ เวลาดวงอาทติ ยล์ บั ขอบฟา้ ซง่ึ เปน็ เวลา 18.30 น.โดย ประมาณ รับประทานอีกหนึ่งมื้อโดยไม่มีม้ืออื่นหลังจาก นอกจากการป้องกันตนเองท้ังสร้างระยะห่างจาก น้ัน นอกจากอดอาหารแล้วยังควรลดอาหารต่อวันลงให้ คนอื่นก็แล้ว สวมหน้ากากอนามัยก็แล้ว ล้างมือก็แล้ว แต่ ไดพ้ รอ้ มกันไปดว้ ย โรคก็ยังแพร่อย่างหนักแทบไม่ลดราวาศอกลงเลยอย่างใน 6 วารสารฮาลาลอนิ ไซต์ ฉบบั ที่ 33 เดอื นเมษายน 2563
5 am. ดร.ฆาซัล กัมรัน (Ghazal Kamran) นกั กายภาพบำ� บดั แหง่ โรงพยาบาลAlAinสหรฐั อาหรบั 6.30 pm. เอมิเรตส์ รายงานไว้ในวารสาร J Nov Physiother Rehabil ฉบบั 2 หนา้ ที่ 43 - 53 ค.ศ. 2018 ว่าการ การอดอาหารเช่นนี้มีงานวิจัยจ�ำนวนมากยืนยันว่าช่วยเพิ่มภูมิ ละหมาดในอิสลามมี 5 เวลา แต่ละเวลาประกอบดว้ ย ต้านทานของร่างกาย งานการศึกษาของ Cignarella F. และคณะตีพิมพ์ใน 2-4 รอกะอัต (Rak’ah) หรือรอบโดยใช้เวลารอบละ วารสาร Cell Metabolism ค.ศ. 2018 พบวา่ การอดอาหารลกั ษณะนชี้ ว่ ยทำ� ให้ 3-12 นาที ในแตล่ ะรอกะอตั ประกอบดว้ ย 7-9 ท่า มี สมดุลภูมิคุ้มกันในร่างกายดีขึ้น ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากแบคทีเรียในทางเดิน ตัง้ แต่ยนื ตรง ยกมอื เสมอหู (Takbir) ยนื กอดอก (Qa- อาหารปรับตัวสร้างภูมิคุ้มกันมากข้ึนส่งอานิสงค์ให้กับมนุษย์ที่เป็นท่ีอาศัย yyam) โค้ง (Ruku) ยืดตัวตรง หมอบกราบ (Sujud) ของแบคทเี รียเหลา่ น้ี Secor SM และ Carey HV เขยี นรายงานวิจัยตพี ิมพใ์ น น่ังทบั ส้นเท้า (Tashahud) ลกุ ขนึ้ ยืนจากท่าน่งั รวม 17 วารสาร Compr Physiol ค.ศ. 2016 วา่ การอดอาหารกระตนุ้ ให้รา่ งกายปรับ รอกะอตั ตอ่ วนั นอกจากนศ้ี าสดานบมี ฮู ำ� มดั (ซ.ล.) ยงั กลไกเพื่อความอยู่รอด โดยหนึ่งในน้ันคือการเพิ่มภูมิต้านทานโรค ดังนั้นใน เพ่ิมการละหมาดเป็น 29-50 รอกะอัตตอ่ วนั ชว่ งทตี่ อ้ งกกั กนั ตนเองไวก้ บั บา้ นจงึ ขอแนะนำ� ใหถ้ อื ศลี อดโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การถอื ศลี อดในเดอื นชะอบฺ านหรอื เดอื น 8 ตามปฏทิ นิ อสิ ลามซงึ่ กค็ อื ชว่ งเวลา รูปภาพ http://salaah.learnislam.org. มผี่ ่านมา นอกเหนือจากนี้ Social Distancing ถือเป็นโอกาสดีส�ำหรับการ การละหมาดภาคบงั คบั (ฟรั ฎ)ู มี 17 รอกะอตั ละหมาดเพือ่ สขุ ภาพ ชว่ งท่ีทกุ คนถกู กกั ตวั อยแู่ ตใ่ นบา้ น ไปไหนมาไหนไม่ได้ ต่อวัน คือ 2 ก่อนเช้า (ซุบฮิ) 4 เที่ยง (ดุฮฺริ) 4 บ่าย ตามมาตรการสร้างระยะห่างทางสังคม เสียงหน่ึงท่ีบ่นกันมากคือไม่รู้จะออก (อัสริ) 3 เยน็ (มฆั ริบ) และ 4 ค่�ำ (อิชา) ทา่ นศาสดา กำ� ลงั กายเพอ่ื สรา้ งภมู ติ า้ นทานโรคกนั อยา่ งไร ในทน่ี ข้ี อเสนอเฉพาะมสุ ลมิ คอื ยังละหมาดที่ไม่บังคับอันเก่ียวเน่ืองกับการละหมาด การละหมาด ทม่ี ขี อ้ มลู ยนื ยนั วา่ ชว่ ยเพมิ่ ภมู ติ า้ นทานโรคได้ โดยละหมาดในท่ี บงั คบั (สนุ นะฮรฺ อวาตบิ ) อกี 12 รอกะอตั คอื 2 กอ่ นซบุ นี้เปน็ การละหมาดตามแนวทางของทา่ นศาสดา มุฮมั มัด ซอลลลั ลอฮุอะลัยฮ ฮิ 4 ก่อนดฮุ รฺ ิ 2 หลังดุฮรฺ ิ 2 หลังมฆั รบิ 2 หลงั อิชา รวม วะซัลลมั ลองมาดกู นั เป็น 29 รอกะอตั ละหมาดไม่บงั คบั แบบสมัครใจ (สนุ นะฮนฺ ัฟลฺ) อีก 10 รอกะอัต คือ 4 หลังดุฮรฺ ิ 2 กอ่ นอัสริ ดูงานวจิ ัยกนั ก่อน ดร.โจลี บุคสแปน (Jolie Bookspan) ผู้เชีย่ วชาญ 2 กอ่ นมฆั รบิ 2 กอ่ นอชิ ารวมเปน็ 39 รอกะอตั ตอ่ วนั ใน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์การออกกำ� ลงั กายชาวอเมรกิ ัน เขียนในวารสาร Healthline. หลายกรณที า่ นยงั ละหมาดไมบ่ งั คบั แบบสมคั รใจชนดิ com เดือนมถิ ุนายน ค.ศ. 2007 ไวน้ า่ สนใจวา่ คนอเมริกันจ�ำนวนไม่น้อยเม่ือ นอกเวลาอีกคือ 2 ยามสาย (ดฮุ า) 8 ยามค�่ำคืน (กิยา นงั่ บนพนื้ ไมส่ ามารถลกุ ขน้ึ ยนื ไดแ้ มใ้ ชม้ อื ชว่ ยพยงุ กต็ ามแสดงถงึ ความออ่ นแอ มลุ ลัยลฺ) และ 1 ละหมาดค่ี (วติ ร)ฺ รวมทง้ั สิ้น 50 รอกะ ของกล้ามเนื้อขาและข้อเข่า แก้ไขได้โดยฝึกลุกข้ึนยืนจากท่าน่ังบนพ้ืนทุกวัน อตั ดร.จาเซม็ รอมฎอน อลั คนั ดารี (Jasem Ramadan เธอพบวา่ ในอสิ ลามมกี ารฝกึ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ลกุ ขน้ึ ยนื ผา่ นการละหมาดทกุ วนั อยา่ ง Alkandari) มหาวิทยาลัยคูเวต พบว่าการละหมาด นอ้ ยวนั ละ 5 ครงั้ การละหมาดจงึ นบั เปน็ การออกกำ� ลงั กายทางเลอื กทส่ี มควร ใช้พลังงานโดยเฉลี่ย 4.71 กิโลแคลอรีต่อรอกะอัต แนะน�ำ ละหมาด 29-50 รอกะอัตใช้พลังงาน 136.6-235.5 กิโลแคลอรีเท่ากับการออกก�ำลังกายแบบแอโรบิก ขนาดกลางนาน 17-30 นาที การละหมาดใหข้ อ้ ดโี ดย กระจายการใช้พลังงานไปตลอดวัน ขณะท่ีการออก ก�ำลังกายแบบแอโรบิกเน้นไปที่การท�ำงานของปอด และหัวใจ การละหมาดใชพ้ ลงั งานท้งั ร่างกายรว่ มกับ การยดื กลา้ มเนอื้ และเสน้ เอน็ แถมยงั ใหป้ ระโยชนท์ าง ดา้ นจติ ใจจากการตงั้ สมาธเิ พม่ิ เตมิ เขา้ ไปอกี นค่ี อื ประ โยชนเ์ ตม็ ๆของการละหมาด ลองฝกึ กนั ดู ไดท้ ำ� แลว้ จะ ติดใจจนต้องทำ� กนั ตลอด HALAL INSIGHT 7 ISSUE 33 | APRIL 2020
HALAL SCIENCE ณ สถานการณ์ปจั จุบนั คงไม่มใี ครไมร่ ู้จกั โรค COVID-19 ทีต่ อนนีก้ ลายเป็นโรคทน่ี ่ากลัวและครา่ ชวี ติ คนเป็นจำ� นวนมาก เปน็ ท่ีทราบวา่ โรค COVID-19 น้ี มีต้นตอมาจากประเทศจีน เป็นเช้ือโรคที่สามารถกระจายตัวได้ในสภาพภูมิศาสตร์ท่ีแตกต่างกันออกไป และ แพร่กระจายสคู่ นไดง้ า่ ย ท�ำให้ผู้คนสามารถตดิ เชอ้ื จากโรคน้ีได้ง่ายจากสารคดั หล่ัง อาทิ นำ�้ มูก การจาม การไอ หรอื แม้แต่การสัมผัส สาเหตหุ นง่ึ ทเ่ี ชอื่ วา่ เปน็ ตน้ ตอของไวรสั COVID-19 นเ้ี กดิ จากการทผี่ คู้ นนยิ มกนิ อาหารแปลกๆ บรโิ ภคสตั วแ์ ปลกๆโดยเฉพาะสตั วป์ า่ ทั้งหลายทีล่ ้วนเปน็ พาหะนำ� เชอ้ื โรค ท�ำให้เกิดการกลายพันธุ์และเกิดเปน็ โรครา้ ยท่ีแพร่ระบาดจากคนสคู่ นไปทั่วโลก ซง่ึ หากมาย้อน มองดูในศาสนาอิสลาม “อิสลาม” มขี อ้ บญั ญตั หิ ้ามการบรโิ ภคอาหารฮะรอม (อาหารท่ีไม่เป็นท่ีอนมุ ัติ) เช่น สกุ ร สุนัข สตั วเ์ ปน็ โรค สตั วท์ ตี่ ายเองโดยไมไ่ ดเ้ ชอื ดสตั วป์ า่ ทมี่ เี ขยี้ วเลบ็ กนิ เนอื้ สตั วด์ ว้ ยกนั นกทม่ี จี ะงอยปากคมมกี รงเลบ็ สตั วท์ มี่ พี ษิ สตั วด์ รุ า้ ยสตั วค์ รงึ่ บกครง่ึ นำ�้ สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน สัตวส์ กปรก เปน็ ตน้ ด่ังคำ� ดำ� รสั ทอี่ ัลลอฮฺไดต้ รสั วา่ (173 : ) ِإ َّ َنا َح َّر َم َعلَ ْي ُك ُم ا ْلَ ْي َت َة َوال َّد َم َو َ ْل َم ا ْ ِلن ِزي ِر َو َما ُأ ِه َّل ِب ِه ِل َغ ْي ِر الل ِه ) (البقرة ความวา่ : แท้จริงพระองคท์ รงหา้ มรับประทานซากสัตว์ เลือด เนอ้ื สกุ ร และสตั วท์ ี่เชอื ดเพือ่ ส่ิงอนื่ นอกเหนอื จากอลั ลอฮ ฺ (อลั บะเกาะเราะฮฺ : 173) และมีค�ำสอนจากทา่ นศาสนดามฮู �ำหมัด ศอ็ ลลลั ลอฮฺ อะลัยฮิ วะสลั ลัม ความว่า : ทา่ นรอซลู (ซ.ล) ได้หา้ มรบั ประทานสตั วท์ ีม่ เี ขี้ยวและ นกท่มี กี รงเลบ็ (บนั ทึกโดยมุสลิม 3574) อาหารฮะรอม (อาหารทไ่ี มเ่ ป็นทอ่ี นมุ ตั ิ) 8 วารสารฮาลาลอนิ ไซต์ ฉบับท่ี 33 เดือนเมษายน 2563
คา้ งคาวสตั วพ์ าหะนำ� โรค อสิ ลามจงึ สงั่ หา้ มบรโิ ภค รูปภาพ https://unsplash.com/photos/_f8IZ0gGS6E รูปภาพ เพจปลายฝนตน้ หนาว สัตว์ต่างๆที่ได้กล่าวมานั้นสามารถเป็น พาหะน�ำโรคจาก และด้วยความมหัศจรรย์ของอาหารฮาลาลจึง สตั วอ์ นื่ ไวใ้ สต่ วั มนั ได้ อสิ ลามจงึ สง่ั หา้ มบรโิ ภคสงิ่ เหลา่ นี้ และหากจะมอง ท�ำให้ปัจจุบันส่ิงเหล่านี้กลายมามีบทบาทเปล่ียนวิกฤตให้ ถงึ ความเกยี่ วขอ้ งในเรอ่ื งของอาหารตอ้ งหา้ มกบั สถานการณใ์ นปจั จบุ นั เป็นโอกาสและพิสูจน์ให้ผู้คนได้เห็นว่า “อาหารฮาลาล” ก็จะได้เห็นได้ว่า อิสลามมีหลักการฮาลาล (ส่ิงท่ีเป็นท่ีอนุมัติตามหลัก ซง่ึ เปน็ สงิ่ ทถ่ี กู อนมุ ตั ใิ นการบรโิ ภคของมสุ ลมิ โดยผา่ นกระบวน ศาสนา) ในเรอื่ งของการบรโิ ภคอาหารมาชา้ นานซ่งึ ถกู เผยแพร่คร้ังแรก การผลิตตามบทบัญญัติอิสลามท่ีถูกต้อง ปราศจากส่ิงต้อง เม่ือกว่า 1,400 กว่าปีที่ผ่านมา นับเป็นมาตรฐานทางอาหารที่เก่าแก่ หา้ มนน้ั เปน็ อาหารทดี่ มี ปี ระโยชนท์ ที่ กุ คนสามารถรบั ประทาน ท่ีสุดของโลก นอกจากนั้นอิสลามได้ก�ำหนดแนวทางในการบริโภคให้ ได้อย่างปลอดภัย และมิใช่เป็นอาหารแค่ในหมู่ของมุสลิม กับผู้นับถือศาสนาอิสลามอยู่ในแนวทางสายกลาง โดยสิ่งเหล่านี้เป็น เท่านั้นแต่ยังเป็นอาหารท่ีเหมาะส�ำหรับมวลมนุษยชาติทุก บทบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้าท่ีพระองค์ส่ังใช้ให้มุสลิมได้ปฏิบัติ และ เพศทุกวยั และทุกศาสนานั่นเอง ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเริ่มมีมากข้ึนท�ำให้สิ่งเหล่านี้ สามารถตรวจสอบ หรือพิสูจน์ได้ด้วยวิทยาศาสตร์ว่าอาหารท่ีต้องห้าม บทความโดย: ท่ีกล่าวมาน้ันเป็นส่ิงท่ีอันตรายและก่อให้เกิดโรคร้ายได้จริง น่ันยิ่งเป็น ฟิรดาว สุรตั นมาลย์ ส่ิงท่ีแสดงให้เห็นว่า ค�ำสั่งใช้ของพระเจ้าในเร่ืองอาหารฮาลาลนั้นเป็น (เจา้ หนา้ ทบี่ รกิ ารวทิ ยาศาสตร)์ สงิ่ ทถี่ ูกตอ้ งและสามารถป้องกนั เราจากโรคภยั ได้ ด้วยเหตผุ ลนจี้ ึงทำ� ให้ วิกฤตรา้ ยอยา่ ง COVID-19 เป็นเสมอื นใบเบิกทางด้านอาหารฮาลาลท่ี Reference ท�ำให้ผู้คนในหลายประเทศหันมาสนใจและนิยมอาหารฮาลาลกันมาก Facebook : Dr. winai dahlan ขึ้น ต่างจากเดิมที่จะได้รับความสนใจจากผู้คนเฉพาะกลุ่ม หรือเฉพาะ (หวั ข้อ สตั ว์ป่า สตั ว์แปลก สตั วห์ ะรอมกบั COVID-19) ประเทศ ซึ่งส่ิงหนึ่งท่ีท�ำให้ผู้คนหันมาสนใจคงมาจากความพิถีพิถันใน สถาบันฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กระบวนการต่างๆ เสมือนเป็นการคัดกรองส่ิงท่ีมนุษย์สามารถน�ำมาใช้ http://www.halinst.psu.ac.th ในการบรโิ ภคได้ โดยไมก่ อ่ โทษภยั ตอ่ ผใู้ ช้ และยงั ใหป้ ระโยชนแ์ กร่ า่ งกาย สำ� นักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ด่งั ค�ำด�ำรัสท่ีอลั ลอฮไฺ ดต้ รัสวา่ https://www.cicot.or.th (88 : ) َوكُلُواْ ِم َّم َر َزقَ ُك ُم اللّ ُه َحلاَل ًا طَ ّيِباً َواتَّ ُقواْ اللّ َه الَّ ِذ َي أَنتُم ِب ِه ُم ْؤ ِم ُنو َن) (المائدة https://www.halallifemag.com/green-muslims ความวา่ และจงบรโิ ภคจากสง่ิ ทอี่ ลั ลอฮไฺ ดท้ รงใหเ้ ครอ่ื งยงั ชพี แกส่ เู จา้ ซง่ึ http://i-newsmedia.net สิ่งทีฮ่ าลาล (เปน็ ทอี่ นมุ ตั ิ) และที่ดีมปี ระโยชน์และจงยำ� เกรงต่ออัลลอฮฺ https://www.thaihealth.or.th ผู้ซึ่งพวกเจา้ ศรัทธาในพระองค์ (อัลมาอดิ ะฮฺ : 88) HALAL INSIGHT 9 ISSUE 33 | APRIL 2020
HALAL ปัตตานี เขียนโดย นายฮาบิลลาห์ จะปะกยี า เจา้ หน้าท่บี รกิ ารวทิ ยาศาสตร์ (บรกิ ารหน่วยงานภายนอก) สำ� นักงานปัตตานี เนื่องจากสถานการณ์ COVID – 19 ท�ำให้หลาย เน่ืองจากทางทีมงานได้ใช้การเทสระบบ Zoom หน่วยงาน สถานประกอบการและประชาชนทั่วไปท�ำงานอยู่ และสอนการใช้งานให้กับผู้ประกอบการแต่ละรายโดย ท่ีบ้าน (Work from home) ดังน้ันในวันที่ 7 เมษายน 2562 ผู้ประกอบการหลายรายชื่นชมหน่วยงานท่ีทันเหตุการณ์มี ทางศูนย์วทิ ยาศาสตรฮ์ าลาล จฬุ าลงกรณม์ าหาวิทยาลัยจงึ มี การปรับใช้เทคโนโลยีมาใช้ในรูปแบบออนไลน์ที่ถือเป็นที่ ความจ�ำเป็นต้องใช้ โปรแกรมทใ่ี ชง้ านการประชมุ ไดห้ ลายคน แรกในการจัดอบรมโดยใช้ Zoom พร้อมน�ำวิธีการอบรมนี้ ดงั นน้ั ศนู ยจ์ งึ เลอื กการจดั Workshop ในรปู แบบออนไลนผ์ า่ น ไปปรบั ใช้ตอ่ ยอดในงานของตนเองต่อไป แอพพลิเคชั่น Zoom เน่ืองด้วยมีให้ใช้ได้หลากหลาย แพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็น Android, IOS หรือ Windows แถมยังสามารถโหลดมาติดต้ังได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่ง ศวฮ. ได้จัดโครงการการพัฒนากระบวนการเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ ผปู้ ระกอบการด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรมฮาลาล และการพัฒนาธุรกิจการค้าฮาลาล สู่การเป็นธุรกิจฮาลาล แฟรนไชส์ ประจ�ำปีงบประมาณ 2563 ในหัวข้อ “การขอ รบั รองเครือ่ งหมายฮาลาล” โดย นายพทิ กั ษ์ อาดมะเร๊ะ หวั หนา้ สว่ นงานบรกิ ารภายนอก(สำ� นกั งานปตั ตาน)ี และหวั ขอ้ “การพัฒนาธุรกิจสู่การเป็นธุรกิจฮาลาลแฟรนไชส์” โดย นายซอลาฮดุ ดนี ยแี สม เจา้ ของธรุ กจิ แฟรนไชส์ Ayam boy โดยผลตอบรับจากการอบรมผ่านระบบออนไลน์โดยศูนย์ฯ ครั้งแรกผา่ นไปดว้ ยดที ้งั นีม้ ผี ู้เขา้ รว่ มรวมท้งั สิน้ 36 ราย 10 วารสารฮาลาลอนิ ไซต์ ฉบับท่ี 33 เดอื นเมษายน 2563
HALAL ล้านนา e-commerce ในปัจจุบันน้ันได้รับความนิยมข้ึนอย่าง โดยได้จัดอบรม ต้ังแต่หัวข้อเรื่อง เทคนิคการ ถา่ ยรปู ผลิตภณั ฑ์ การเขยี น Content ให้นา่ สนใจ และ ต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ท่ีผู้คน เทคนิคการแต่งรูปสินค้าให้น่าดึงดูด ไปจนถึงการน�ำ ส่วนใหญ่ต้องกักตัวอยู่บ้าน ส่งผลท�ำให้ตลาด e-commerce นั้น ผลติ ภัณฑข์ องผ้ปู ระกอบการในระดับ Gold Level ของ เติบโตข้ึนไปอีก การค้าขายออนไลน์ยังส่งผลไปถึงการเจริญเติบโต Application “HAL Plus” เขา้ ไปวางจำ� หนา่ ยบนเวบ็ ไซต์ ของภาคการขนส่ง (Logistic) และการใชจ้ า่ ยผ่าน e-payment ทีเ่ พ่มิ แพลทฟอร์มออนไลน์ ผา่ นทาง 10 เวบ็ ไซตช์ อ่ื ดงั ไดแ้ ก่ ข้ึนตามไปดว้ ย ebay, Shopee, amazon, Lazada, indiamart, Halal นอกจากนั้น เทคโนโลยี ก็ยังถือเป็นปัจจัยหลักท่ีช่วย Dunia, Aladdin, Sahibinden, Tokopedia, Mudah ส่งเสริมให้ธรุ กจิ e-commerce เติบโตไปได้อยา่ งรวดเร็วมาก เพราะ ถอื วา่ เปน็ อกี ชอ่ งทางการขายสำ� หรบั ผปู้ ระกอบการ และ การทำ� ธรุ กจิ e-commerceสามารถใชง้ านไดจ้ ากหลายชอ่ งทางทงั้ ทาง เพิ่มทางเลอื กสนิ คา้ และบรกิ ารทีห่ ลากหลายใหมๆ่ ให้ผู้ สมาร์ทโฟน แทบ็ เลต็ หรอื คอมพิวเตอร์ ยง่ิ ไปกวา่ นั้น e-commerce บรโิ ภคด้วย ยังเป็นช่องทางใหม่ส�ำหรับผู้ประกอบการ ซึ่งถือเป็นช่องทางหน่ึงท่ี ถือว่า e-commerce เป็นการท�ำธุรกิจไม่ใช่ ช่วยสร้างโอกาสในการขยายช่องทางการค้าขายให้ผู้ประกอบการได้ แค่ในประเทศ แต่อาจไปไกลถึงประเทศไหนก็ได้ท่ี มากยิ่งขึ้น และเป็นตัวช่วยหน่ึงในการเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายและตรง คุณต้องการท�ำธุรกิจ ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาฯ กล่มุ เป้าหมายมากขึ้น ส�ำนักงานเชียงใหม่ ขอเป็นพลังเล็กๆ ส่งต่อถึง ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ได้เล็ง ผปู้ ระกอบการทกุ ทา่ น ฝา่ วกิ ฤตครงั้ นไ้ี ปไดโ้ ดยเรว็ นะคะ ถึงความส�ำคัญในการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SME ในการพัฒนา #HSCCM #eCommerce #SME ศักยภาพ และช่วยฟื้นฟูผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการทางออนไลน์ เพราะถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการช่วยสร้างแบรนด์ ซึ่งจะช่วย เพิ่มฐานลูกค้าและขยายฐานธุรกิจออกไปอีกด้วย จึงจัดท�ำโครงการ “พัฒนาข้อมูลอัจฉริยะส�ำหรับผู้ประกอบการฮาลาล โดยการยก ระดบั ผา่ นกระบวนการมาตรฐาน เพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มนั่ ตอ่ ผลติ ภณั ฑ์ ฮาลาลของไทยและเข้าสู่ธุรกิจออนไลน์ (HAL PLUS GOLD MEMBER)” เขียนโดย นางสาวอาทติ ยา คำ� พชิ ยั เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ (สำ� นักงานเชียงใหม่) HALAL INSIGHT 11 ISSUE 33 | APRIL 2020
HaL-Q CORNER การระบาดของ COVID-19 เป็นอันตรายต่อระบบต่างๆ ผู้บริโภคมองหาประสบการณ์เสมือนจริงในการซ้ือ ภายในร่างกาย อีกท้ังยังส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม ท�ำให้การใช้ สนิ ค้ามากขึน้ ชวี ิตของผ้คู นเปล่ยี นไปจากเดมิ ทา่ มกลางสถานการณท์ ไี่ มแ่ นน่ อน ท�ำให้ผู้คนมีความเครียดและวิตกกังวล บางคนต้องกักตัวเพื่อ ในวันที่คนไม่สามารถออกไปซื้อสินค้าข้างนอกได้ ท�ำให้คน เฝ้าระวัง 14 วัน รวมถึงการท�ำงานแบบ Work from home ท่ีไม่ มาซอ้ื สนิ ค้าออนไลน์ (E-Commerce) ผ่าน แพลตฟอร์ม ตา่ ง ๆ มากขึน้ ต้องออกไปนอกบ้าน ลดการพบปะผู้คน รวมถึงมาตรการต่างๆ แนน่ อนวา่ หากพน้ วกิ ฤต Covid-19 นี้ คนกค็ นุ้ ชนิ กบั การซอ้ื ของออนไลน์ ทีอ่ อกมาในชว่ งน้ี เพ่ือลดการแพร่ระบาดของ COVID-19 แต่ในขณะเดียวกันผู้คนก็ยังต้องการเห็นสินค้าด้วยตัวเอง จึงเร่ิมมอง สำ� หรบั ธรุ กจิ ฮาลาลเองหรอื ธรุ กจิ อนื่ ๆ ทต่ี อ้ งมกี ารปรบั ตวั หาประสบการณ์เสมือนจริงมากข้ึน เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ีช่วยให้เราเห็น หลายอยา่ งมากข้ึน สง่ิ ที่ต้องใหค้ วามสนใจก็คือ พฤตกิ รรมผูบ้ ริโภค ภาพเสมอื นจรงิ ใหค้ วามรู้สกึ เหมือนเราได้ไปอย่ตู รงนั้นจรงิ ๆ ผู้เขียนจึง จะเปลี่ยนไปมากแค่ไหนหากวิกฤตโรคระบาดผ่านพ้นไปแล้ว วันนี้ ขอยกตวั อยา่ งธรุ กจิ E-Commerce ในตา่ งประเทศทม่ี กี ารนำ� เทคโนโลยี เลยขอน�ำบทวเิ คราะห์และการคาดการณ์ Consumer Trends ท่ีนา่ มาใช้ อาทเิ ชน่ สนใจจาก Trendwatching มาน�ำเสนอครบั L’Oreal ใช้ AR Application เพือ่ ให้ลกู ค้าได้ทดลองแต่งหนา้ ดว้ ยเครอ่ื งสำ� อางคข์ องแบรนด์ผา่ นแอพ รองเทา้ Converse มแี อพทใ่ี ช้ AR ทำ� ใหล้ กู คา้ สามารถนำ� ภาพ รองเทา้ จากแคตตาลอ็ กมาสอ่ งทเ่ี ทา้ ใหเ้ หมอื นวา่ ใสร่ องเทา้ นน้ั อยู่ เพอ่ื ให้ ลูกค้าเห็นชดั เจนว่าใส่แล้วดูดีหรือไม ่ การนำ� เทคโนโลยเี ขา้ มาเสรมิ ประสบการณซ์ อื้ ของออนไลนจ์ ะ ชว่ ยใหล้ กู คา้ ไดร้ บั ประสบการณท์ เี่ หมอื นไปซอื้ ของจรงิ ๆ เหน็ สนิ คา้ ใกล้ เคียงกบั ของจรงิ ซ่ึงช่วยกระตุน้ การตดั สินใจซือ้ ไดร้ วดเรว็ ยิ่งข้ึน ผบู้ รโิ ภคมองหาสง่ิ ทช่ี ว่ ยสอนทกั ษะตา่ ง ๆมากขนึ้ ในช่วงการระบาดของ COVID-19 ท�ำให้ผู้คนใช้เวลาอยู่ บา้ นมากขนึ้ ใชเ้ วลาในการทำ� สง่ิ ต่าง ๆ ด้วยตวั เองมากข้นึ เช่น การ ทำ� อาหารหรือขนม จากกระแสใน Social Media ที่มี Challenges สอนท�ำอาหารต่าง ๆ มีการเปิดคลิปสอนท�ำอาหารและฝึกท�ำตาม การท�ำความสะอาดบ้าน จัดบ้านให้ดูดีและสะอาด มีการหาข้อมูล เกยี่ วกบั การทำ� ของ DIY เพอื่ เพม่ิ ไอเดยี ในจดั การหรอื การตกแตง่ บา้ น งานฝมี ือ งาน โฮมเมด ต่าง ๆ โดยเรยี นร้ทู กั ษะจาก อนิ เตอร์เนต็ หรอื เมษายน 2019 เว็บไซต์ชอ้ ปปิ้งออนไลน์ในประเทศจนี Taobao คลิปตา่ ง ๆ ตาม YouTube จากการทีผ่ ู้คนทำ� กจิ กรรมเหลา่ นีด้ ้วยตัว ช่วยเกษตรกรจากท่วั ประเทศ สามารถถา่ ยทดสดผลิตเกษตร เอง อาจทำ� ใหม้ คี นทส่ี นกุ กบั การทำ� กจิ กรรมและมองวา่ ทกั ษะเหลา่ นี้ ของตัวเองจากไรใ่ ห้ผู้ซื้อสามารถเลือกสนิ ค้าได้เลย มีความจำ� เป็นในการใช้ชีวติ ประจ�ำวัน 12 วารสารฮาลาลอนิ ไซต์ ฉบับที่ 33 เดือนเมษายน 2563
ผู้บรโิ ภคมองหาความเป็นอตั โนมตั มิ ากขึ้น จะเหน็ ไดว้ า่ ระบบ AI (Artificial Intelligence หรอื ปญั ญา ประดิษฐ์) มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและใช้กันอย่างแพร่หลาย ใน ขณะท่ี COVID-19 กำ� ลงั แพรร่ ะบาด กม็ กี ารใช้ AI ทชี่ ว่ ยในการตรวจ หาเชอื้ และชว่ ยปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของไวรสั และคาดวา่ หลงั จาก วกิ ฤต COVID-19 น้ี AI จะถกู นำ� มาพฒั นาเพอ่ื ใชใ้ นธรุ กจิ ทตี่ อ้ งตดิ ตอ่ และปฏสิ มั พนั ธก์ นั โดยในอนาคตจะไดม้ าทำ� งานแทนทม่ี นษุ ยอ์ ยา่ ง เตม็ รปู แบบ แมจ้ ะมกี ารระบาดของไวรสั อกี ธรุ กจิ เหลา่ นก้ี ย็ งั ดำ� เนนิ ตอ่ ไปได ้ ซึ่งผ้เู ขียนจะขอยกตวั อยา่ งธุรกจิ รา้ นอาหารท่มี ี เดลิเวอรร์ ่ี อย่าง Domino’s Pizza ที่ใช้รถยนต์อัจฉริยะในการส่งพิซซ่าและมี คนขับควบคุมรถจากระยะไกล ในเดอื นมถิ นุ ายน 2019 ธรุ กจิ รา้ นอาหาร Domino’s Pizza เปดิ ตวั หลายธรุ กจิ เรม่ิ มกี ารปรบั ตวั ตง้ั แตช่ ว่ งน้ี ตวั อยา่ งเชน่ ผพู้ ฒั นา บรกิ าร Delivery สง่ พซิ ซา่ โดยการใชร้ ถยนตอ์ จั ฉรยิ ะและมคี นขบั ควบคมุ รถจาก อสังหาฯหลายรายที่สร้างความม่ันใจด้านความสะอาด โดยท�ำความ ระยะไกล สะอาดฆ่าเช้ือภายในทุกโครงการและส�ำนักงานขาย หรือแม้แต่ร้าน อาหารท่ีในตอนน้ีส่วนใหญ่จะเป็น เทคโฮม ก็ยังต้องสร้างความเช่ือม่ัน ผู้บริโภคใส่ใจความสะอาดของสินค้า ในความสะอาดและสุขอนามัยของร้านให้แก่ลูกค้าให้ได้ อาจกล่าวได้ และบริการมากขึน้ วา่ พฤตกิ รรมของผคู้ นทใ่ี สใ่ จความสะอาดจะอยกู่ บั เราในระยะยาว ทำ� ให้ ธรุ กิจตา่ ง ๆ ตอ้ งปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับพฤติกรรมเหล่าน้ี ในชว่ งนผ้ี คู้ นกร็ ะมดั ระวงั เพราะกลวั ทจี่ ะไดร้ บั เชอื้ จงึ ทำ� ให้ ผมเชอื่ วา่ หลงั ชว่ งวกิ ฤตนี้ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคจะเปลย่ี นไป ใส่ใจในความสะอาด ล้างมือและใชเ้ จลฆ่าเชือ้ โรคกนั บอ่ ยๆ แม้จะ อย่างแน่นอน Digital transformation เข้ามาเร็วมากขน้ึ ผูค้ นจะหันมา พน้ จากไวรสั Covid-19 แลว้ กถ็ อื ไดว้ า่ วกิ ฤตนไ้ี ดเ้ ปน็ บทเรยี นทท่ี ำ� ให้ รักสุขภาพกันมากข้ึน และมองหาความบันเทิงภายในบ้าน เพิ่มขึ้น ซ่ึง คนหนั มาใสใ่ จความสะอาดมากขนึ้ เพอ่ื ปอ้ งกนั เชอ้ื โรคหรอื ไวรสั ทจี่ ะ เทรนดเ์ หล่านีจ้ ะเป็นแนวทางใหธ้ รุ กจิ ตา่ ง ๆ ปรบั ตวั ซึง่ ผมมองว่าธรุ กจิ เขา้ สรู่ า่ งกายอกี ซง่ึ ถอื เปน็ โอกาสสำ� หรบั ธรุ กจิ ทจ่ี ะสรา้ งความมน่ั ใจ ฮาลาลเองตอ่ ไปในอนาคตย่อมไดเ้ ปรยี บในดา้ นน้ี เน่ืองจากฮาลาลเนน้ ดา้ นความสะอาดในสนิ คา้ และบริการได้ เร่ืองของความสะอาดและมีการป้องกันการปนเปื้อนส่ิงสกปรก(นายิส) เป็นพ้ืนฐานอยู่แล้ว ท�ำให้ผู้บริโภคย่อมเกิดความมั่นใจและให้ความ สำ� คญั กบั การบรโิ ภคผลิตภณั ฑฮ์ าลาลมากยิง่ ขน้ึ Source : https://skift.com/2020/03/17/after-the-virus-10- consumer-trends-for-a-post-coronavirus-world/?utm_con- tent=121918325&utm_medium=social&utm_source=face- book&hss_channel=fbp-155942621181219 13HALAL INSIGHT ISSUE 33 | APRIL 2020
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: