๔หน่วยการเรียนรู้ที่ สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกบั โจโฉ พงศาวดารจีนแต่งเป็ นความเรียงร้อยแก้วแบบบรรยายโวหาร มเี นื้อหาเกย่ี วกบั การปกครอง กลอุบาย การทา สงคราม ได้รับการยกย่องจากวรรณคดสี โมสร ให้เป็ น “ยอดแห่งความเรียงประเภทนทิ าน”
๑ ความเป็ นมา • หนงั สือสามก๊ก แต่งข้ึนในสมยั ราชวงศไ์ ตเ้ หมง็ (พ.ศ. ๑๙๑๑ - ๒๑๘๖) โดยชาวจีนช่ือ ล่อกวน ตง แต่งข้ึนโดยมีจุดประสงคเ์ พื่อใหเ้ ป็นนิยาย เน้ือหาบางส่วนมีความเกี่ยวขอ้ งกบั การเมือง และตาราพชิ ยั สงคราม • พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ จา้ พระยาพระคลงั (หน) เป็นผอู้ านวยการแปลสามก๊กเป็น ภาษาไทย โดยมีผชู้ านาญในทางภาษาไทยเรียบ เรียงแต่งใหเ้ ป็นภาษาไทยที่มีสานวนโวหาร สละสลวยและเหมาะสม
๒ ประวตั ผิ ู้แต่ง • เจา้ พระยาพระคลงั (หน) เป็นบุตรเจา้ พระยาบดินทร์ สุรินทร์ชยั (บุญมี) กบั ท่านผหู้ ญิงเจริญ • รับราชการ มีบรรดาศกั ด์ิเป็น หลวงสรวิชิต นายด่าน เมืองอุทยั ธานี • ในสมยั รัชกาลที่ ๑ ไดต้ ามเสดจ็ พระราชดาเนินไปใน การสงครามตลอด จึงไดเ้ ล่ือนเป็นพระยาพิพฒั น์โกษา และเจา้ พระยาพระคลงั • นอกจากจะเป็นนกั รบท่ีกลา้ หาญแลว้ ยงั มีความสามารถ ในการแต่งคาประพนั ธ์ไดด้ ีเยยี่ มทุกประเภท • ไม่วา่ จะเป็นร้อยแกว้ หรือร้อยกรอง ถึงแก่อสญั กรรม ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช เม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๘
๓ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ สามก๊ก ลกั ษณะคาประพนั ธ์ประเภทความเรียงร้อยแกว้ แปลจาก ภาษาจีนมาเป็นภาษาไทย แลว้ เรียบเรียงใหม่ใชป้ ระโยค กะทดั รัด ไม่มีศพั ทย์ าก ภาษาไม่ซบั ซอ้ น การพรรณนา เด่นชดั มีบทอุปมาอุปไมยที่ลึกซ้ึงคมคาย
๔ เรื่องย่อ • เมืองจีนสมยั พ.ศ. ๗๑๑ เป็นตน้ มา พระเจา้ เห้ียนเต้ กษตั ริย์ ราชวงศฮ์ นั่ อ่อนแอ • ตง๋ั โตะ๊ ผสู้ าเร็จราชการกงั ฉินไดบ้ ีบบงั คบั พระเจา้ เห้ียนเต้ ออ้ งอุน้ จึงออกอุบายฆ่าตง๋ั โต๊ะ • ทาใหเ้ กิดสงครามชิงอานาจเป็นใหญ่ ในท่ีสุดกแ็ ตกเป็นสามก๊ก • ต้งั ราชวงศใ์ หม่ข้ึน คือ ราชวงศจ์ ิ้น แผน่ ดินจีนจึงไดร้ วมเป็น อาณาจกั รเดียวกนั ใน พ.ศ. ๘๒๓ วุยก๊ก จ๊กก๊ก ง่อก๊ก โจโฉต้งั ตวั เป็นกษตั ริย์ เล่าปี่ ต้งั ตวั เป็นกษตั ริย์ ซุนกวนต้งั ตวั เป็นกษตั ริย์
๔ เรื่องย่อ (ต่อ) • โจโฉตีเมืองเสียวพา่ ย และเมืองชีจ๋ิวซ่ึงเป็นหวั เมืองของจ๊กก๊กไดแ้ ลว้ และ กาจดั เล่าป่ี โดยเขา้ ยดึ เมืองชีจ๋ิวของเล่าป่ี ได้ เล่าป่ี ตอ้ งล้ีภยั ไปหาอว้ นเส้ียวที่ เมืองกิจิ๋ว อว้ นเส้ียวใหค้ วามช่วยเหลือ • ต่อมาโจโฉตีเมืองแหฝ้ ือของกวนอู โดยล่อใหก้ วนอูออกมานอกเมืองแลว้ ลอ้ มจบั ตวั กวนอู โจโฉอยากไดก้ วนอูไวเ้ ป็นทหารดว้ ยชื่นชอบในฝี มือกวนอู จึงใหเ้ ตียวเล้ียวซ่ึงกวนอูเคยช่วยชีวิตไวเ้ ป็นผเู้ ขา้ ไปเกล้ียกล่อม กวนอูยอม จานนแต่ขอสญั ญาสามขอ้ o ขอเป็นขา้ รับใชพ้ ระเจา้ เห้ียนเต้ o ขออยดู่ ูแลพ่ีสะใภท้ ้งั สองคนและขอเบ้ียหวดั ของเล่าป่ี ใหพ้ ีส่ ะใภท้ ้งั สอง o หากทราบวา่ เล่าปี่ อยทู่ ่ีใดตนจะไปหาแมว้ า่ จะไม่ไดร้ าลาโจโฉก่อนกต็ าม
๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • โจโฉพากวนอูไปถวายตวั เป็นทหารพระเจา้ เห้ียนเต้ และเล้ียงดูกวนอูกบั พสี่ ะใภท้ ้งั สองคนอยา่ งสุขสบาย รวมท้งั ใหท้ รัพยส์ ินหรือสิ่งของมีค่าแก่ กวนอูกม็ ิไดม้ ีน้าใจตอบโจโฉ • แต่เมื่อโจโฉมอบมา้ เซ็กเธาวใ์ หแ้ ก่กวนอู กวนอูกลบั มีความยนิ ดีเป็นอยา่ งยงิ่ ซ่ึงกวนอูบอกความในใจวา่ มา้ เซ็กเธาวเ์ ป็นมา้ ท่ีมีกาลงั แรงสามารถเดินทาง ไดไ้ กล หากรู้วา่ เล่าป่ี อยทู่ ี่ใดจะสามารถไปหาไดโ้ ดยเร็ว โจโฉไดฟ้ ังดงั น้นั ก็ คิดนอ้ ยใจ • เตียวเล้ียวรับอาสาลองความคิดกวนอู และไดร้ ู้วา่ กวนอูยงั คงซื่อสัตยต์ ่อเล่าปี่ กวนอูเป็นคนกตญั ญูคงจะไม่ไปจากโจโฉจนกวา่ จะไดต้ อบแทนบุญคุณ • โจโฉจึงไม่ให้กวนอูอาสารบ ดว้ ยเกรงวา่ เม่ือกวนอูทาความชอบแทนคุณตน แลว้ กจ็ ะหนีไปหาเล่าป่ี
๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • ในสญั ญาขอ้ สุดทา้ ยแสดงใหเ้ ห็นวา่ กวนอูน้นั เป็นคน กตญั ญูมาก หากโจโฉเล้ียงดูอยา่ งดีก็อาจผกู ใจกวนอูได้ โจโฉจึงยอมรับเงื่อนไขของกวนอู o “ตวั เราเกิดมาเป็นชายรักษาสัตยม์ ิใหเ้ สียวาจา ถึง มาตรวา่ เล่าป่ี จะถึงแก่ความตาย เรากจ็ ะตายไป ตามความท่ีไดส้ าบานไว”้ กวนอูกล่าววา่ ดว้ ยเล่า ปี่ เคยมีบุญคุณก่อน และไดส้ าบานเป็นพ่ีนอ้ งกนั • กวนอูเป็นตวั ละครเพยี งตวั เดียวในเร่ืองสามก๊กท่ีภายหลงั กลายเป็นเทพเจา้ ที่ชาวจีนนบั ถือในนาม “เทพเจา้ แห่ง ความซื่อสตั ย”์
๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) สรรพสาระ • วุยก๊ก เป็นก๊กท่ียง่ิ ใหญ่และมีอานาจมากท่ีสุด ครอบครองพ้ืนที่ทางตอนเหนือ ของประเทศจีน ปกครองโดยโจโฉ ถูกสถาปนาเป็นจกั รพรรดิแห่งราชวงศว์ ุย ซ่ึงถูกโค่นลม้ ต่อมาไดส้ ถาปนาราชวงศจ์ ิ้นข้ึนแทนและรวบรวมแผน่ ดินท่ี แบ่งเป็นก๊กต่างๆ เขา้ มาไวด้ ว้ ยกนั • จ๊กก๊ก ปกครองโดยพระเจา้ เล่าปี่ เช้ือพระวงศแ์ ห่งราชวงศฮ์ นั่ ครอบครองพ้นื ที่ ทางภาคตะวนั ตกของประเทศจีน บริเวณมณฑลเสฉวนปกครองอาณาจกั รโดย พระเจา้ เล่าปี่ และพระเจา้ เล่าเส้ียน จ๊กก๊กล่มสลายลงดว้ ยกองทพั ของวยุ ก๊ก เน่ืองมาจากการปกครองแผน่ ดินท่ีลม้ เหลวของพระเจา้ เล่าเส้ียน • ง่อก๊ก ครอบครองพ้นื ที่ทางดา้ นตะวนั ออกของประเทศจีน ทางบริเวณตอนใต้ ของแม่น้าฉางเจียง หรือพ้ืนที่รอบๆ เมืองนานกิงในปัจจุบนั เป็นอาณาจกั ร สุดทา้ ยในบรรดาอาณาจกั รสามก๊กล่มสลายโดยกองทพั ของสุมาเอี๋ยน
๕ บทวเิ คราะห์ ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา รูปแบบ • เป็นยอดวรรณคดีความเรียงประเภทนิทาน • วรรณคดีร้อยแกว้ แปลจากภาษาจีนมาเป็นภาษาไทย • เรียบเรียงใหม่ดว้ ยถอ้ ยคาที่สละสลวย • มีสานวนโวหารเปรียบเทียบลึกซ้ึงคมคายและมีคติธรรม
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเรื่อง (สาระ) • โจโฉต้งั ตวั เป็นมหาอุปราชในสมยั พระเจา้ เห้ียนเต้ • โจโฉกย็ กทพั ไปตีเมืองแหฝ้ ือของกวนอู เมื่อโจโฉจบั กวนอูไดก้ เ็ กล้ีย กล่อมกวนอูใหม้ าอยดู่ ว้ ย • แต่กวนอูกไ็ ม่ไดม้ ีน้าใจตอบโจโฉ ยงั คงซื่อสตั ยแ์ ละจงรักภกั ดีต่อเล่าป่ี • ความซื่อสตั ยก์ ตญั ญู และการใชก้ ลอุบายเจรจาโนม้ นา้ วเป็นส่ิงสาคญั ของเรื่องในตอนน้ี
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเร่ือง (โครงเรื่อง) • การลาดบั เหตุการณ์ต่างๆ แต่ละข้นั ตอนในเร่ืองสอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กนั • แสดงใหเ้ ห็นถึงแนวคิดที่กวตี อ้ งการส่ือออกมาไดอ้ ยา่ งชดั เจน ในเร่ือง ความซื่อสัตยข์ องกวนอู • โจโฉมีทหารเอกคอยใหค้ าปรึกษาและวางกลอุบายในการศึก จน สามารถเอาชนะเล่าป่ี และเกล้ียกล่อมให้กวนอูเขา้ มาอยฝู่ ่ายตน • ในท่ีสุดโจโฉกไ็ ม่สามารถชนะใจกวนอูผมู้ ีความซื่อสตั ยจ์ งรักภกั ดีต่อ เล่าปี่ ได้
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเร่ือง (ฉากและบรรยากาศ) • เรื่องสามก๊ก สมยั พระเจา้ เห้ียนเตเ้ กิดความแตกแยกแยง่ ชิงอานาจกนั • ตอน กวนอูไปรับราชการกบั โจโฉ เป็นช่วงท่ีโจโฉมีอานาจต้งั ตวั เป็น มหาอุปราชและเป็นผสู้ าเร็จราชการแทนพระเจา้ แผน่ ดิน • โจโฉขยายอิทธิพลยกทพั ไปปราบหวั เมืองต่างๆ
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเร่ือง (ตวั ละคร) • กวนอู o เป็นชาวเมืองฮอตงั๋ ไกเหลียง เป็นพน่ี อ้ งร่วมสาบานกบั เล่าปี่ และ เตียวหุย มีงา้ วยาวสิบเอด็ ศอก หนกั แปดสิบสองชง่ั เป็นอาวธุ ประจากาย เป็นบุรุษผมู้ ีหนวดงามและรูปงาม o เป็นผทู้ ่ีมีความซื่อสตั ยแ์ ละกตญั ญูต่อผมู้ ีบุญคุณทุกคน o เป็นผมู้ ีความชานาญในการรบ เป็นผทู้ ี่มีความกลา้ หาญ เดด็ เด่ียว o มีความชานาญในการสู้รบ มีความเช่ือมนั่ ในฝีมือการรบของตนเอง
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเร่ือง (ตัวละคร) • โจโฉ o เป็นชาวเมืองตนั ลิว และอยใู่ นตระกลู ขนุ นางมาก่อน o เป็นผมู้ ีสติปัญญาเฉลียวฉลาดและมีความเป็นผนู้ า ขณะเดียวกนั ก็ เป็นผทู้ ี่มีเล่ห์เหล่ียมกลอุบาย o เป็นผทู้ ่ีชานาญในการวางกลอุบายศึก o เป็นผทู้ ่ีมีวาจาสตั ย์ เมื่อโจโฉรับปากเรื่องใดแลว้ กม็ ิไดค้ ืนคาดงั ที่ โจโฉรับสญั ญา ๓ ขอ้ o เป็นผทู้ ี่ช่ืนชอบผมู้ ีความซ่ือสตั ย์ นบั เป็นลกั ษณะนิสยั ท่ีเด่นมาก
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเร่ือง (กลวธิ ีการแต่ง) • กวใี ชก้ ลวิธีบรรยายเล่าเรื่องอยา่ งละเอียด • บางตอนใหต้ วั ละครเป็นผเู้ ล่าเร่ืองดว้ ยการใชบ้ ทสนทนานา • จากบทสนทนาทาใหผ้ อู้ ่านไดท้ ราบเรื่องราวความเป็นมาของเร่ือง • ทราบลกั ษณะนิสยั ใจคอและอารมณ์ของตวั ละครได้
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การสรรคา • การเลือกใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมายท่ีตอ้ งการ
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การสรรคา • การเลือกใชค้ าที่เหมาะแก่เน้ือเร่ืองและฐานะของบุคคลในเร่ือง
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การสรรคา • การเลือกใชค้ าไดเ้ หมาะแก่ลกั ษณะของคาประพนั ธ์
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การใช้โวหาร • อุปมาโวหาร
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การใช้โวหาร • การใชส้ านวนโวหาร
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนแนวคดิ เกย่ี วกบั การทาสงครามของคนจนี • การทาสงครามน้นั มิใช่ใชก้ าลงั ทหารเพยี งอยา่ งเดียว
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนแนวคดิ เกย่ี วกบั การทาสงครามของคนจนี • บุคลิกภาพของผนู้ า
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนแนวคดิ เกย่ี วกบั การทาสงครามของคนจนี • ความสาคญั ของนกั การทูต
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนแนวคดิ เกย่ี วกบั การทาสงครามของคนจนี • พลงั ของความสามคั คีช่วยใหบ้ า้ นเมืองอยรู่ อดปลอดภยั จากขา้ ศึกศตั รู o ในการทาสงครามถา้ มีความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกนั ยอ่ มเกิดพลงั ในการต่อสู้ขา้ ศึก o แต่หากขาดซ่ึงความสามคั คีแลว้ ยอ่ มเสียทีแก่ขา้ ศึกโดยง่าย o การที่อว้ นเส้ียวไม่ส่งทหารไปช่วยเล่าปี่ เป็นเหตุหน่ึงที่ทาใหเ้ ล่าป่ี ปราชยั o การท่ีบิตก๊ บิฮอง กนั หยง ทิ้งเมืองเพราะคิดว่าจะสู้โจโฉมิได้ และ ตนั เต๋งกลบั เปิ ดประตูรับโจโฉเป็นเหตุให้โจโฉยึดเมืองชีจ๋ิวไดง้ ่าย
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนค่านิยมในการประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องคนในสังคม • ค่านิยมเรื่องความซ่ือสตั ย์
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนค่านิยมในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องคนในสังคม • ค่านิยมความจงรักภกั ดีต่อพระมหากษตั ริย์
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนค่านิยมในการประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ องคนในสังคม • ค่านิยมความกตญั ญูรู้คุณ
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนเรื่องความเช่ือของคนในสังคม • ความเช่ือในโชคลาง
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนเร่ืองความเชื่อของคนในสังคม • ความเช่ือในเร่ืองความฝัน
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนเร่ืองความเช่ือของคนในสังคม • ความเชื่อเรื่องบุญกรรมท่ีตนไดก้ ระทาไว้
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนเกยี่ วกบั ขนบธรรมเนียมประเพณตี ่างๆของสังคมจนี • การจดั เล้ียง
๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม สะท้อนเกยี่ วกบั ขนบธรรมเนียมประเพณตี ่างๆของสังคมจนี • การใหข้ องกานลั
• สามก๊กตอนท่ีเรียนน้ีเป็นตอนที่เนน้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมของตวั ละคร o ความจงรักภกั ดี ความซื่อสตั ย์ ความกตญั ญู การยดึ ถือสจั จะ • ถือเป็นค่านิยมที่ทุกสงั คมยกยอ่ ง เพยี งแต่ในแต่ละสงั คมใหค้ วามสาคญั มาก นอ้ ยต่างกนั • ขอ้ คิดและแนวคิดที่ไดจ้ ากพฤติกรรมของตวั ละครกเ็ ป็นลกั ษณะทส่ี งั คม ยอมรับและยงั คงทนั สมยั อยเู่ สมอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: