Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชนิดคำแนวใหม่

ชนิดคำแนวใหม่

Published by atthachai74, 2022-02-06 03:26:21

Description: ใบความรู้เเละใบงานเรื่อง ชนิดของคำแนวใหม่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

Keywords: ใบงาน,ชนิดของคำ,ใบความรู้

Search

Read the Text Version

1 ชนิดคำ การจาแนกชนดิ ของคาในภาษาไทยมีการศึกษากันมานานพอสมควร และกระทากันอย่างหลากหลาย นักวิชาการต่างก็ใช้แนวคิดและทฤษฎีท่ีแตกต่างกันออกไป อาทิ พระยาอุปกิตศิลปะสาร 2511 จาแนก ได้ 7 ชนดิ วิจินตน์ ภาณพุ งศ์ 2542 จาแนกได้ 26 ชนิด และสมทรง บุรษุ พฒั น์ 2526 จาแนกได้ 18 ชนิด นอกจากนี้ในหนังสือ “บรรทัดฐานภาษาไทย เลม่ 3 ชนิดของคา วลี ประโยคและสมั พันธสาร” สานักวชิ าการ และมาตรฐานการศึกษา สถาบันภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการเป็นผจู้ ัดดาเนินการ โดยมีศาสตราจารย์กิตติ คณุ ดร.วิจินต์ ภาณุพงศ์ เป็นประธานกรรมการ ซ่งึ ได้จาแนกคาออกเป็น 12 ชนิด ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า คาช่วยกิริยา คาวิเศษณ์ คาที่เก่ียวกับจานวน คาบอกกาหนด คาบุพบท คาเช่ือม คาลงท้าย คาอุทาน และคาปฎิเสธ เป็นการจาแนกโดยใช้เกณฑ์หน้าที่ เกณฑ์ตาแหน่งที่คาปรากฏและสมั พันธ์กับคาอื่น และเกณฑ์ ความหมาย ดังนั้นในการศกึ ษาครั้งนี้ผู้เขียนจึงอาศยั การจดั แบง่ ชนดิ ของคาดังกล่าวทั้ง 12ชนิด มีรายละเอยี ด ดงั ต่อไปน้ี 1. คำนำม คานาม หมายถึง คาที่ใช้เรียกส่ิงท่ีเป็นรูปธรรม อาทิ คน สัตว์ ส่ิงของ สถานที่ เช่น คน ต้นไม้ สัตว์ ดาว เดือน เคร่ืองบิน พะเยา ลาปาง และสิ่งท่ีเป็นนามธรรม เช่น ความเชื่อ ค่านิยม ความคิด เช่น ความดี ความรู้ สติปัญญา ความเขลา ความงาม ตัวบ่งช้ี ดังน้ีชี้วัด การปรากฏตามตาแหน่งในประโยคของคานามน้ัน ปรากฏได้ในตาแหนง่ ประธาน ทาหนา้ ท่เี ปน็ ประธาน และปรากฏในตาแหนง่ กรรม ทาหนา้ ทเี่ ป็นกรรม จาแนกได้ 4 ชนิด ได้แก่ คานามสามัญ คานามวิสามัญ คาลักษณะนาม และคาอาการนาม มี รายละเอียดดงั ต่อไปนี้ 1.1 คานามสามัญ คานามสามัญหรือสามานยนาม เป็นคานามที่ใชเ้ รยี กสงิ่ ท่เี ปน็ รูปธรรมและนามธรรมทั่วไป มิไดจ้ าเพาะ ลงไปว่าเปน็ สิง่ ใด ชอ่ื ใด เชน่ โรงเรียน มหาวทิ ยาลัย สมุด บ้าน วัด พัดลม ขา้ ว 1.2 คานามวิสามัญ คานามวิสามัญหรือวิสามานยนามเป็นคานามท่ีใช้เรียกรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน แต่จะจาเพาะ เจาะจงลงไปว่าเป็นสิ่งใด ชื่อใด เช่น พะเยา แม่ฟ้าหลวง เนชั่น ภาคกลาง เจ้าพระยา เป็นช่ือเฉพาะ ของมหาวทิ ยาลัย ภาษาไทย๓ษาจนี ภาษาฝรง่ั เศส การศึกษา พฒั นาสงั คม เปน็ ช่อื เฉพาะของสาขาวชิ าในคณะ ศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยพะเยา สว่ นใหญ่แล้วคาวสิ ามัญมักใช้เป็นช่ือเฉพาะของคานามวิสามัญ แต่ทั้งนกี้ ็มใิ ช่ ว่าคานามสามญั ตอ้ งมชี ่ือเฉพาะเสมอไป เช่น การแกล้งดิน ความรู้ ดวงจนั ทร์ โลก อวกาศ เป็นนามสามัญทไ่ี ม่ มชี ือ่ เฉพาะ 1.3 คาลักษณะนาม คาลักษณะนามเป็นคาท่ีใช้บอกลักษณะของคานามหรือคากิริยา เช่น ใบ ดอก ผล ตัว อัน ชื้น เรื่อง เล่ม นอกจากน้ียังใช้บอกหมวดหมู่ กลุ่ม หรือพวกของคานามได้ด้วย คาลักษณะนามประการหลังนี้แต่เดิม เรยี กว่า สมุหนาม เช่น กลมุ่ พวก คณะ ฝูง โขลง 1.4 คาอาการนาม คาอาการนาม หมายถึง คานามที่เกิดจากการแปลงคากริยาให้เป็นคานาม โดยเติมคาว่า การ หรือ ความ ลงไปขา้ งหนา้ เม่ือคาดังกล่าวเปน็ คานามและมีความหมายและมีหน้าที่เหมือนกับคานาม คาอาการนาม เช่น ความรู้ การเรยี น ความดี การตระหนักคิด คาอาการนามที่เกิดจากการเติม “การ” หน้าคากิริยานั้นมักแสดงกระบวนการในการทากริ ิยา ในกรณี นเ้ี ราไมอ่ าจเตมิ “ความ” ลงไปแทนทไ่ี ด้เพราะนอกจากไมส่ ่อื ความหมายแลว้ ยงั ผิดไวยากรณ์ของภาษาด้วย

2 ส่วนอาการนามที่เกิดจากการเติม “ความ” หน้าคากิริยาน้ันมักแสดงสภาพหรือลักษณะรวมๆ ของกิริยานั้น เช่นเดียวกับเราไม่อาจเติม “การ” ลงไปแทนที่ได้ เพราจะไม่ส่ือความหมายและผิดไวยากรณ์ 2. คำสรรพนำม หมายถึง คาสรรพนามที่ใช้แทนคานามเพื่อไม่ต้องกล่าวคานามน้ันซ้า เช่น เธอ เขา มัน สู เจ้า การ ปรากฏตามตาแหน่งในประโยคของสรรพนามนน้ั มีลักษณะเชน่ เดียวกับคานาม คาสรรพนามจาแนกได้ 5 ชนิด ได้แก่ คาบุรษุ สรรพนาม คาสรรพนามถาม คาสรรพนามชี้เฉพาะ คาสรรพนามไมช่ ้เี ฉพาะ และคาสรรพนามแยกฝา่ ย มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 2.1 คาบรุ ุษสรรพนาม คาบุรุษสรรพนาม คาสรรพนามบอกบุรุษ หรือคาสรรพนามแทนบุคคล ล้วนแต่เป็นชื่อเรียกสิ่ง เดยี วกัน หมายถึงคาสรรพนามที่ใช้แทนบุคคลเพือ่ บอกวา่ เป็นผู้พูด ผู้ท่ีพูดดว้ ยหรอื ผู้ที่กล่าวถงึ นอกจากนั้นเรา สามารถใชค้ าบุรษุ สรรพนามนแ้ี ทนสัตว์ สงิ่ ของ ผี เทวดา หรือความคิดกไ็ ด้ สามารถแยกได้ 3 บุรุษ ดงั น้ี 2.1.1 คาสรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตนเองขณะพูดกับตนเองหรือผู้อื่น เช่น ผม เรา กู ขา้ พเจ้า กระผม ดิฉัน อาตมา 2.1.2 คาสรรพนามบรุ ุษที่ 2 ใช้แทนบคุ คลท่ีเราพูดดว้ ย เช่น เธอ คณุ ทา่ น แก มงึ 2.1.3 คาสรรพนามบุรษุ ท่ี 3 ใชแ้ ทนบุคคลหรือสงิ่ ทีเ่ รากลา่ วถึง เชน่ เขา มนั ทา่ น หล่อน 2.2 คาสรรพนามถาม คาสรรพนามถาม หรือปฤษฉาสรรพนาม หมายถึง คาสรรพนามท่ีใช้แทนคานามในขณะเดียวกันก็ ใช้แทนการถามไปในตวั ดว้ ย ในภาษาไทยมเี พยี ง 3 คา ได้แก่ ใคร อะไร ไหน 2.3 คาสรรพนามชเ้ี ฉพาะ คาสรรพนามช้ีเฉพาะหรือนิยมสรรพนาม หมายถึง คาสรรพนามท่ีใช้แทนคานามในขณะเดียวกันก็บอก ระยะใกล้และไกลด้วย ในภาษาไทยมีเพียง 8 คา ได้แก่ น่ี นี้ นั่น น้ัน โน่น โน้น นู่น นู้น ระยะใกล้สุด น่ี น้ี ระยะไกลออกไปใช้ นั่น นน้ั ระยะไกลออกไปอกี ใช้ โนน่ โน้น ระยะไกลท่สี ุดใช้ นนู่ นนู้ 2.4 คาสรรพนามไม่ช้ีเฉพาะ คาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะหรืออนิยมสรรพนามเป็นสรรพนามท่ีใช้แทน นามโดยไม่กาหนดเฉพาะว่า หมายถงึ ใคร ผใู้ ด ส่ิงใด หรือสถานทใ่ี ด เช่น ใคร อะไร ไหน ทา่ น เขา เรา ใด ใครๆ ใดๆ 2.5 คาสรรพนามแยกฝา่ ย คาสรรพนามแยกฝ่าย หรือวิภาคสรรพนาม หมายถึง คาสรรพนามที่ใช้แทนนามหรือคาบุรุษสรรพ นามเพื่อแสดงว่ามีหลายฝ่ายหรืหลายส่วน แต่ละฝ่ายก็แยกกันทากิรยิ าหนึ่งหรือมากกว่า คาสรรพนามน้ีมี 3 คา ได้แก่ ตา่ ง บา้ ง กัน 3. คำกริยำ คากริยา หมายถึง คาท่ีทาหน้าที่เป็นกริยาหรือกรยิ าวลี ถือได้วา่ เป็นส่วนสาคัญของประโยค หาก ไมม่ กี รยิ า ภาษาหน่วยนั้นก็ไมใ่ ช่ประโยค เช่น กนิ นน่ั เดนิ นอน ร้องไห้ จาแนกได้ 2 ประเภทหลกั ๆ ดังน้ี 3.1 คากรยิ าที่มหี น่วยกรรม 3.1.1 คากรยิ าสกรรม หรอื สกรรมกริยา คือคากริยาท่ีมีกรรมหรือนามวลีตามหลัง 1 หนว่ ย 3.1.2 คากรยิ าทวิกรรม หรอื ทวิกรรมกรยิ า คือกรยิ าท่มี ีหน่วยกรรมหรอื นามวลตี ามหลัง 2 หน่วย 3.2 คากริยาทไ่ี มม่ ีหน่วยกรรม คากริยาชนิดนี้ไม่ต้องมีหน่ว ยกร รมตามหลังก็ทาให้ประ โยค น้ัน ส่ือคว ามหมายได้สมบูร ณ์ จาแนกได้ 5 ประเภท ดงั นี้

3 3.2.1 คากริยาอกรรม หรืออกรรมกริยา คือกริยาท่ีไม่ต้องมีหน่วยกรรมหรือนามวลีตามหลังก็สื่อ ความหมายได้ครบถ้วน 3.2.2 คากริยาคุณศัพท์ คือ คากริยาท่ีแสดงคุณสมบัติหรือสภาพของคานามหรือคาบุรุษสรรพนาม เช่น ดี ชั่ว สวย งาม สูง ต่า คากริยาคุณศัพท์ต่างจากกริยาอกรรมที่คากริยาคุณศัพท์สามารถใช้ร่วมกับคาว่า “กว่า ท่สี ดุ ” และคากรยิ าคณุ ศพั ท์สามารถปรากฏตามหลังคาลักษณะนามได้ 3.2.3 คากริยาต้องเตมิ เต็ม หรือวิกตรรถกริยา คือ คากริยาท่ีจาเป็นต้องมีกรรมหรือนามวลีตามหลัง เสมอ เพอ่ื เติมเตม็ ใจความของประโยคใหค้ รบถ้วนสมบรู ณ์ เชน่ เหมือน คอื คล้าย เทา่ เปรยี บดง่ั 3.2.4 คากริยานา คือ คากริยาท่ีต้องปรากฏนาหน้ากริยาอ่ืนเสมอ โดยต้องปรากฏร่วมกับกริยาที่ ตามมาในรูปของกรยิ าเรยี ง เชน่ ชอบ อยาก ห้าม โปรด ตงั้ ใจ 3.2.5 คากริยาตาม คือ คากริยาท่ีต้องปรากฏตามหลังคากริยาอื่นเสมอ อาจปรากฏตามหลังติดกัน หรือตามหลงั หน่วยกรรมก็ได้ เช่น ไป มา ขึน้ เอา เสีย ออก 4. คำช่วยกรยิ ำ คาช่วยกริยาหรือคากริยานุเคราะห์ คือคาที่ปรากฏหน้าคากริยาเพ่ือความหมายทางไวยากรณ์ ของกริยานั้น คาช่วยกริยาไม่ใช่คากรยิ าและปรากฏตามลาพังไม่ได้ เชน่ คง ยัง ตอ้ ง ถกู โดน กาลงั มัก เพิ่ง 5. คำวเิ ศษณ์ คาวิเศษณ์ หมายถึงคาที่ทาหน้าท่ีขยายกริยา ทาหน้าท่ีเป็นวิเศษณ์วลี ปรากฏหลังคากริยา หากเป็น กริยาอกรรมที่ปรากฏต่อกนั ไป หากเปน็ กรยิ าสกรรม กจ็ ะปรากฏตามหลงั กรรม ในภาษาไทยแบ่งคาวิเศษณ์ได้4ชนิด ได้แก่ คาวิเศษณ์สามัญ คาวิเศษณ์ขยายเฉพาะ คาวิเศษณ์ถาม และคาวิเศษณ์บอกกริยา มรี ายละเอียดดังนี้ 5.1 คาวเิ ศษณส์ ามัญ เป็นคาวิเศษณ์ที่ใช่ขยายคากริยาโดยทว่ั ไป เช่น มาก นอ้ ย จงั แล้ว อย่างเรว็ 5.2 คาวิเศษณ์ขยายเฉพาะ เป็นคาวิเศษณ์ท่ีใช้ขยายกริยาคาใดคาหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น แอ๋ แปล้ ดิ๊ก จว๊ั ะ แจ๋ กรบิ 5.3 คาวิเศษณ์ถาม คาวเิ ศษณ์แสดงการถามหรือปฤจฉาวเิ ศษณ์ หมายถงึ คาวิเศษณท์ ่ีใช้แสดงคาถาม เกยี่ วกับการกระทาว่าสงิ่ ท่ีทานั้นเป็นเพราะเหตใุ ดมีวตั ถปุ ระสงค์ใดเวลาใดหรือ ลกั ษณะใด เชน่ เชน่ ใด ไย ไฉน ทาไม เพราะอะไร 5.4 คาวิเศษณ์บอกเวลาหรือวิเศษณ์ หมายถึง คาวิเศษณ์ท่ีใช้แสดงเวลาท่ีเกิดเหตุการณ์หรือการ กระทาใดอยา่ งหนงึ่ เช่น เช้าตรู่ กลางวัน กลางคืน พลบค่า พรุ่งนี้ ปีหน้า 6. คำที่เกยี่ วกบั จำนวน คาท่ีเก่ียวกับจานวน หรือประมาณวิเศษณ์ หมายถึง คาท่ีเกี่ยวข้องกับจานวน จาแนก ได้แก่ คาบอกจานวน คาบอกลาดับ คาหนา้ จานวน และคาหลังจานวน 6.1 คาบอกจานวน คาบอกจานวนหรือประมาณวิเศษณ์ เป็นคาที่หมายถึงจานวน อาจเขียนรูป ตวั เลข เช่น 1 2 3 4 5 และคาตอ่ ไปน้ี เช่น ทกุ หลาย บาง คร่ึง คาบอกจานวนน้ีมกั ปรากฏหนา้ คาลกั ษณนาม หนา้ คานาม หรอื ปรากฏหลงั คากรยิ าต้องเตมิ เต็ม 6.2 คาบอกลาดับ คาบอกลาดบั หมายถึง คาท่ีแสดงลาดับ ได้แก่คาบอกจานวนประเภทตัวเลขซึ่ง ปรากฏร่วมกับคาว่า ท่ี เช่น ที่หน่ึง ที่สอง ท่ีสาม นกจากนี้ยังมีคาอื่นๆไดแ้ ก่ แรก สุดท้าย หนา้ กลาง หลัง ร้ัง ทา้ ย 6.3 คาหน้าจานวนคาหน้าจานวน หมายถึง คาท่ีปรากฏอยู่หน้าคาบอกจานวนมักมีคาลักษณนาม ตามหลงั คาหนา้ จานวนน้ีขยายความของคาบอกจานวน เชน่ อกี สกั ต้งั ทั้ง เพยี ง ประมาณ เกอื บ ราวๆ

4 6.4 คาหลงั จานวนคาหลังจานวน คอื คาทปี่ รากฏอยหู่ ลังคาบอกจานวนปรากฏได้ทง้ั หน้าหรือหลงั คา ลักษณนามกไ็ ด้ เช่น กว่า เศษ พอดี ถว้ น 7. คำบอกกำหนด คาบอกกาหนด หมายถึง คาขยายนามท่ีอยู่ใดตาแหน่งท้ายสดุ ท้ายวลี ได้แก่ น่ี นั้น โน่น นู่น น้ี น้ัน โน้น นู้น คาบอกกาหนดจาแนกได้แก่ 2 ชนิด คือ คาบอกกาหนดช้ีเฉพาะ และคาบอกกาหนดไม่ช้ี เฉพาะ 7.1 คาบอกกาหนดชเ้ี ฉพาะ คาบอกกาหนดชี้เฉพาะหรอื นิยมวิเศษณ์ เป็นคาขยายคานามเพ่อื กาหนด ชเ้ี ฉพาะวา่ คานามนนั้ อยูใ่ กล้หรือไกล จะปรากฏในตาแหน่งสุดท้ายของนามวลีน้ัน คาบอกกาหนดท้ัง 8 คาใน ข้างตน้ มหี ลกั การใช้ต่างกัน 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 7.1.1 คาบอกกาหนด น่ี นน้ั โนน่ นูน่ ใชต้ ามหลงั และปรากฏตดิ กับคานาม 7.1.2 คาบอกกาหนด นี้ น้ัน โน้น นู้น ใชต้ ามหลังปรากฏติดกบั คานาม บางกรณีเม่ือปรากฏตามหลัง คานามจะมคี าลกั ษณนามมาคน่ั ก็ได้ 7.2 คาบอกกาหนดไม่ช้ีเฉพาะคาบอกกาหนดไม่ชี้เฉพาะหรือนิยมวิเศษณ์ เป็นคาขยายนามท่ีไม่ชี้ ระยะใกล้ไกล ไม่จาเพาะเจาะจง รวมท้ังไม่ระบุให้จัดเจนว่าเป็นส่ิงใด เป็นการบอกโดยท่ัวไป เช่น ต่างๆ อ่ืน ต่างๆ นานา ใด ไหน ลักษณะการปรากฏในประโยคเป็นคาเช่นเดียวกับคาบอกกาหนดช้ีเฉพาะ คือ ปรากฏ หลงั และติดกาคานาม หรือปรากฏหลงั คานามโดยมลี ักษณนามคนั่ กไ็ ด้ 8. คำบุพบท คาบุพบทหรือคาบุพบท หมายถึง คาที่ปรากฏหน้านามวลีเพ่ือประกอบเข้าเป็นบุพบทวลีมักมี ความหมายเพ่ือบอกตาแน่ง หน้าที่ ความเกี่ยวข้อง ความมุ่งหมาย และความเป็นเจ้าของ เป็น คาบุพบท เช่น ของใน บนข้าง ตรง ใต้ เพราะ เพือ่ กบั แก่ แด่ ดว้ ย กว่า คาเชือ่ ม 9. คำเชือ่ ม คาเช่ือม หมายถึง คาที่ใช้เช่ือมคา วลี หรือประโยคเข้าด้วยกัน จาแนกได้ 4ชนิด ได้แก่ คาเช่ือมสม ภาค คาเช่ือมอนุประโยค คาเช่ือมเสริม และคาเชื่อมสัมพันธสาร รายละเอียดและตัวอย่างคารวมท้ังประโยค ของแต่ละประเด็นมดี งั นี้ เชน่ พ่อและแมไ่ ปทางาน ฉนั กบั เธอคงได้อยูโ่ รงเรยี นเดียวกันอกี เธอจะดโู ทรทัศน์หรอื จะฟังฉันพูด เธอชอบดูละครหลังขา่ วแตเ่ ขาชอบดฟู ุตบอล รถตดิ จึงมาเรียนสาย เศรษฐกิจไมด่ แี บบน้มี ันก็ลาบากกนั ทว่ั หนา้ ความแตกแยกซ่ึงไมน่ า่ เกิดข้นึ ได้เกดิ ข้นึ มานานแล้ว 10. คำลงท้ำย คาลงท้าย หมายถึง คาที่ปรากฏในตาแหน่งท้ายสุดของประโยค ไม่มีความสมั พันธ์กบั ส่วนใดๆ ในประโยค อีกท้งั ไม่มคี วามหมายที่ชดั เจนในตัวเอง คาลงทา้ ยคาหน่ึงอาจมีรูปคาย่อยไดม้ ากกว่า 1 รูป เช่น ซิ ซ่ิ ซี ซ่ี นะ น่ะ น่า น้า ละ ล่า เล่า คาลงท้ายแบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่ คาลงท้ายแสดงทัศนภาวะ และคาลง ท้ายแสดงมารยาท

5 10.1 คาลงท้ายแสดงทศั นภาวะ คาลงท้ายแสดงทัศนภาวะ เป็นคาลงท้ายที่แสดงเจตนาหรือความรู้สึก อาจแสดงได้ด้วยการออกเสียง เช่น ออกเสียงส้นั จะสื่อความท่ีมีน้าหนักอาจแสดงอารมณ์โกรธ ไม่พอใจ เช่น ซิ นะ เถอะ ละ หากออกเสียง ยาวอาจแสดงเจตนาชกั ชวน ขอร้อง โน้มน้าวใจ เชน่ ซี่ น่า น้า หรอื อาจใช้คาลงท้ายประสมกันต้ังแต่ 2 คาข้ึน ไป เชน่ เถอะนะ ซินะ ละ่ ซิ ละซินะ 10.2 คาลงท้ายแสดงมารยาท คาลงท้ายแสดงมารยาท เปน็ คาลงท้ายทแ่ี สดงความสุภาพหรือไม่สุภาพก็ได้ แต่ในขณะเดยี วกนั ก็แสดง สถานภาพและความสัมพันธ์ระหว่างผู้พูดดว้ ย คาอทุ าน 11. คำอทุ ำน คาอุทาน หมายถงึ คาพูดท่เี ปล่งออกมาเพ่ือแสดงอารมณ์ความรู้สึกอย่างใดอย่างหน่ึง เช่น โถ ว้าย โธ่ โอ้โฮ ตายจรงิ ต๊ายตาย เชอะ ทุเรศ พุทโธ่ ตาเถร คาลงทา้ ยดงั กล่าวมกั ปรากฎหนา้ ประโยคเสมอ คาปฏเิ สธ 12. คำปฏิเสธ คาปฏิเสธ หมายถึง คาที่ใช้บอกรับหรือไม่รับ เช่น ไม่ มิ ไม่ค่อย หาไม่ เปล่า มิได้ คาปฏิเสธแบ่ง ได้ 2 ชนิด ได้แก่ คาปฏเิ สธกริยา และคาปฏเิ สธข้อความ มีรายละเอียดดงั น้ี 12.1 คาปฏิเสธกริยา คาปฏิเสธกริยา หมายถึง คาท่ีใช้แสดงการปฏิเสธกริยา ส่วนใหญ่จะปรากฏ หน้าคากริยา เชน่ มิ ไม่ หาไม่ ไมค่ ่อย 12.2 คาปฏเิ สธขอ้ ความ คาปฏิเสธขอ้ ความ หมายถึง คาปฏิเสธทีใ่ ชป้ ฏเิ สธคานาม เช่น หามไิ ด้ มิได้ เปลา่

แบบฝึ กหดั เรือ่ งชนิดของคำตำมแนวใหม่ (12 ชนิด) คำชีแ้ จง : นกั เรียนจงใหค้ วามหมายและยกตัวอย่างคา ตามชนิดทกี่ าหนดให้ ชนดิ ของคำ ควำมหมำย ตวั อย่ำงคำ คำนำม คำสรรพนำม คำกริยำ คำชว่ ยกริยำ คำวเิ ศษณ์ คำท่เี ก่ยี วกบั จำนวน คำบอกกำหนด คำบุพบท คำเชอื่ ม คำลงทำ้ ย คำอทุ ำน คำปฏิเสธ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook