Teachers in the New Normal SOPHITCHA JAMPATHIP 64121070129
Interview บทสั มภาษณ์ นางสุ กัญญา จำปาทิ พย์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกระทิ ง อ.ขุ นหาญ จ.ศรีสะเกษ การจัดการชั้นเรียนช่วงสถานการณ์โควิด ทางโรงเรียนมีแนวทางการจัดการชั้นเรียน หลายรูปแบบ เป็นไปตามสถานการณ์ เช่น ครู แนะนำในการทำใบงานก่อนการเรียน ON DEMAND และ ON LINE หากนักเรียนคนใดไม่ สามารถที่จะเรียน ON DEMAND และ ON LINE ได้ ก็สามารถทำความเข้าใจจากใบงาน ON HAND ได้ และกำกับติดตาม 1 สัปดาห์/ ครั้ง
ภาระงานที่มอบหมายนักเรียน เนื่องจากนักเรียนต้องอยู่ที่บ้าน ทำให้นักเรียนมี ภาระงานที่บ้านเพิ่ มด้วย ครูจึงมอบหมายงาน น้อยลงและไม่ยากจนเกินไป ถ้ามอบหมายงาน ตามปกตินักเรียนจะมีความขี้เกียจ แต่ถ้ามอบ หมายงานที่ยากเกินความสามารถ นักเรียนก็ไม่ สามารถทำได้ ไม่รู้จะไปถามใคร ครูควรมอบ หมายงานที่ง่ายกว่าเดิม เหมาะสมตามศักยภาพ นักเรียนแต่ละคน นักเรียนที่มีความสามารถอาจ จะให้งานตามปกติ ส่วนนักเรียนที่เรียนช้าอาจจะ ลดภาระงาน ปรับใบงานตามศักยภาพของ นักเรียน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพิ นิจของครูผู้สอน ถ้าเกิดมีนักเรียนไม่สนใจในการเรียนจะทำอย่างไร ครูกับผู้ปกครองและนักเรียน ต้องมีกลุ่มไลน์หรือ มีเบอร์โทร ไว้ติดต่อสื่อสาร ในความเป็นจริง นั ก เ รี ย น อ า จ จ ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส่ ง ง า น ไ ด้ ด้ ว ย ส า เ ห ตุ หลายประการ เช่น นักเรียนชนบทบางคนอาจมี ความทุกข์ยากลำบาก ไม่มีโทรศัพท์ ไม่สะดวกที่จะ เรียนออนไลน์ เขาอาจจะอาศัยอยู่กับปู่และย่า ครู ก็ต้องติดตามเอาใจใส่ ถ้าเป็นสถานการณ์ปกติ ทางโรงเรียนจะมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แต่สถานการณ์ปัจจุบันมีความจำกัดเล็กน้อย ทำให้เกิดความลำบากในการเรียนรู้ของผู้เรียน
ทำอย่างไรให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียนออนไลน์ ในการควบคุมชั้นเรียนอาจจะลำบาก เนื่องจาก ไม่ได้เรียนอยู่ในห้องเรียน ถ้าอยากให้นักเรียน สนใจในเนื้อหาการสอนจริงๆ ครูต้องมีเทคนิค มีปฏิสัมพั นธ์กับนักเรียน มีเกมให้นักเรียนเล่น กระตุ้นนักเรียนบ่อยครั้งและมากขึ้นกว่าปกติ ใช้คำถาม ถามนักเรียนบ่อยๆ หากทำการสอน 30 น. ไม่ควรสอนครบนาที แต่ควรสอน ประมาณ10นาที แล้วถามไถ่สารทุกข์สุขดิบของ นักเรียน ถ้าเราพู ดคุยเกี่ยวกับเรื่อง สถานการณ์บ้านเมืองหรือเรื่องที่นักเรียนสนใจ ที่ให้นักเรียนได้มีการพู ดคุยโต้ตอบ จะทำให้ นักเรียนหันมาสนใจมากยิ่งขึ้น แต่การเรียน แบบ ON HAND จะเป็นการให้อิสระแก่ นักเรียน ให้ผู้ปกครองช่วยสอนอีกแรงก็ย่อม ได้ ถ้าเกิดมีนักเรียน/บุคลากรติดเชื้อ ควรปฏิบัติอย่างไร ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทุก โรงเรียนต้องเพิ่ มแผนเผชิญเหตุตามนโยบาย ของกระทรวงและสคบ.จังหวัด ซึ่งในแผนจะมี มาตรการต่างๆ โดยโรงเรียนจะปรับตามบริบท สถานการณ์ ดังต่อไปนี้
มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID – 19) โรงเรียนบ้านกระทิงได้กำหนดมาตรการความปลอดภัย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) โดยขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ 1. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร (DISTANCING) 2. สวมหน้ากากตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา (MASK WEARING) 3. ล้างมือด้วยสบู่และน้ำนาน 20 วินาที หรือใช้เจล แอลกอฮอล์ (HAND WASHING) 4. คัดกรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัส เ สี่ ย ง ทุกคนก่อนเข้าสถานศึกษา (TESTING) 5. ลดการแออัด ลดเข้าไปในพื้ นที่เสี่ยง กลุ่มคนจำนวนมาก (REDUCING) 6. ทำความสะอาด บริเวณพื้ นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ที่จับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได เป็นต้น (CLEANING)
6 มาตรการเสริ ม (SSET-CQ) 1. ดูแลตนเองปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด (SELF-CARE) 2. ใช้ช้อนกลางส่วนตัวเมื่อต้องกินอาหารร่วมกัน (SPOON) 3. กินอาหารปรุงสุกใหม่ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ชั่วโมง ควรนำมาอุ่นให้ร้อนทั่วถึงก่อนกินอีกครั้ง (EATING) 4. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามที่รัฐกำหนด ด้วย แอพพลิเคชันไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการ เข้า-ออกอย่างชัดเจน (THAI CHANA) 5. สำรวจตรวจสอบ บุคคล นักเรียน และกลุ่มเสี่ยง ที่เดินทางมาจากพื้ นที่เสี่ยงเพื่ อเข้าสู่กระบวนการ คัดกรอง (CHECK) 6. กักกันตัวเอง 14 วัน เมื่อเข้าไปสัมผัสหรืออยู่ใน พื้ นที่เสี่ยงที่มีการระบาดโรค (QUARANTINE
7 มาตรการเข้มงวด 1. สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงาน การติดตามการประเมินผลผ่าน MOE COVID 2. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ SMALL BUBBLE หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียน ในห้องเรียนขนาดปกติ (6 X 8) ไม่เกิน 25คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อย กว่า 1.5 เมตรพิ จารณาตามความเหมาะสมโดยคณะ กรรมการโรคติดต่อจังหวัด 3. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุง ประกอบอาหารหรือ การสั่งซื้ออาหารตามระบบนำส่ง อาหาร (DELIVERY) ที่ถูกสุขลักษณะและ ต้องมี ระบบตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนำมาบริโภค ตามหลักสุขาภิบาล อาหารและหลักโภชนาการ
4. จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนว ปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโค วิด 19 ในสถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคุณภาพน้ำดื่มและการ จัดการขยะ 5. ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (SCHOOL ISOLATION) และมีการซักซ้อมแผน เผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการ ตรวจพบเชื้อโรคโควิด19 หรือผล ATK เป็นบวกโดย มีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด 6. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออก จากสถานศึกษา (SEAL ROUTE) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสในพื้ นที่ต่าง ๆ ตลอด เ ส้ น ท า ง ก า ร เ ดิ น ท า ง 7. ให้จัดให้มี SCHOOL PASS สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการ
แผนเผชิญเหตุ โรงเรียนบ้านกระทิงได้จัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด สม่ำเสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือ พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่อง สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการ ประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้ นที่ รวมทั้งการ สร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน การคัดกรองเพื่ อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ดังนี้
แนวปฏิบัติการเตรียมการ ก่อนเปิดภาคเรียน 1. การประเมินความพร้อมก่อนเปิดเรียน 2. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ THAI STOP COVID PLUS (TSC+) ต่อที่ประชุมคณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้ นฐาน เพื่ อขอความเห็นชอบในการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 แบบ ONSITE ในวันที่ 22 ตุลาคม 2564 3. เสนอเอกสารการประเมินตนเองและความเห็นของการเปิด เรียนของคณะกรรรมการสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน และเอกสาร ข้อมูลจำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา เสนอต่อสำนักงาน เขตพื้ นที่การศึกษา ภายในวันที่ 25 ตุลาคม 2564 เพื่ อขอ อนุญาตต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพิ จารณาอนุมัติ การเปิดเรียนในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 4. รณรงค์ครูและบุคลากรในสถานศึกษารับการฉีดวัคซีน ร้อยละ 85 ขึ้นไป รวมทั้งผู้ปกครองนักเรียน ไ ด้ รั บ ก า ร ฉี ด วั ค ซี น ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด ก่ อ น เ ปิ ด ภ า ค เ รี ย น 5. ครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องได้รับการตรวจ ATK 100% 6. เตรียมความพร้อม อาคารสถานที่ ความสะอาดบริเวณของ ส ถ า น ศึ ก ษ า ใ ห้ มี ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร เ ปิ ด ภ า ค เ รี ย น ร ว ม ทั้ ง สื่ อ เทคโนโลยีต่างๆ ให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอน
เริ่มเปิดเรียน มาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์สถาน ศึ ก ษ า มุ่ ง ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ใ ห้ กั บ ผู้ เ รี ย น ที่ เ น้ น ใ ห้ นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง เกิดความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของสถาน ศึ ก ษ า เ ป็ น สำ คั ญ ยั ง ไ ม่ เ น้ น วิ ช า ก า ร ม า ก เ กิ น ไ ป 1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้า โรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยครูเวรประจำวันมาประจำที่จุด คัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่ อช่วยคัดกรองและให้คำแนะนำคณะ ครูเวรหน้าประตูโรงเรียน และนักเรียน ก่อนเข้าบริเวณ โรงเรียน 2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุด ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการเจลแอลกอฮอล์ล้าง มือเพื่ อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือบริเวณหน้าอาคารเรียน และหน้าหอประชุม เป็นต้น 3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมีอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุดเรียน และไปพบแพทย์ทันที
4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการ สอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆภายในโรงเรียน นักเรียนเว้นระยะห่างกัน 1-2 เมตร 5. การพั กรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่โรงอาหาร รับประทาน อาหารเวลา 11.2๐ น. - ประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.50 น. - ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) รับประทานอาหารเวลา 12.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับ นักเรียน 2 จุด นักเรียนนั่งรับประทานอาหารห่างกัน 1-2 เมตร และมี การทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง 6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณี ฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของ นักเรียนเป็นสำคัญ 7 . ห า ก มี นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม เ สี่ ย ง สู ง ต่ อ ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ไ ว รั ส โ ค โ ร น า 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความอนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการติดต่อประสานงานกับ โรงพยาบาลขุนหาญ 8. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน และทำความสะอาด บริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ โรง พยาบาลขุนหาญเพื่ อเฝ้าระวังความปลอดภัยเป็นระยะ
ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดการเรียนการสอน แบบ ON SITE ได้ โรงเรียนมีการวางแผน การจัดการเรียนการสอน ดังนี้ โรงเรียนบ้านกระทิง ประสานงานกับชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดยแจ้งประชาสัมพันธ์ ผ่านเสียงตามสายหมู่บ้าน คณะครูที่ออกเยี่ยมบ้านและครูที่ อาศัยในชุมชนในการประสานงาน ด้านการจัดการเรียนการ สอนแบบ On Demand , On Hand และ On Line การ รับ-ส่งเอกสารใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัดในการจัดการ เรียนการสอน โดยครูประจำชั้น/ประจำวิชา กำกับติดตาม 1 สัปดาห์/ครั้ง ปฐมวัย (อ.2-3) ครูระดับปฐมวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการนำ เอกสารส่งที่บ้าน (On - hand) โดยให้ครูออกเยี่ยมบ้าน พร้อม รับ-ส่ง ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรียน โดย กำกับติดตาม 1 สัปดาห์/ครั้ง โดยประสานงานกับผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกับ ติดตาม นักเรียน รายบุคคล วัดและประเมินผลโดยใช้วิธีที่หลากหลาย ในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตามประสานงาน กับผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่เข้าใจในบทเรียน
ประถมศึกษาตอนต้น (ป.1-3) ครูระดับประถมศึกษาตอนต้น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการนำเอกสารส่งที่บ้าน (ON - HAND) โดยให้ครู ออกเยี่ยมบ้านพร้อม รับ-ส่ง ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรียน โดยกำกับติดตาม 1 สัปดาห์/ครั้ง โดย ประสานงานกับผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคล วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่ หลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพ จริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและติดตามประสานงานกับผู้ ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่เข้าใจในบทเรียน ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4-6) ระดับประถมศึกษาตอนปลาย จัดกิจกรรมด้านการ จัดการเรียนการสอนแบบ ON DEMAND , ON HAND และ ON LINE ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผ่าน GOOGLE MEET และมีการรับ-ส่งเอกสารในการจัดการเรียนการ สอน โดยกำกับติดตาม 1 สัปดาห์/ครั้ง เพื่ อการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบุคคล อีกทั้งแนะนำในการทำใบงาน ก่อนการเรียน ON DEMAND และ ON LINE หาก นักเรียนคนใดไม่สามารถที่จะเรียน ON DEMAND และ ON LINE ได้ ก็สามารถทำความเข้าใจจากใบงาน ON HAND ได้ และสามารถการนัดหมายพบปะในครั้งต่อไป ครูประจำชั้น/ประจำวิชา กำกับ ติดตาม วัดและ ประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมิน นักเรียน รายบุคคล ตามสภาพจริง และมีการออกเยี่ยมบ้านและ ติดตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่ไม่เข้า เรียน ON LINE และนักเรียนที่มารับใบงานไม่ได้เนื่องจาก อยู่ห่างไกล
\"อุปสรรคในการเรียนออนไลน์ คือ ความไม่พร้อมในอุปกรณ์การเรียน\" ผู้เขียนมองว่า เพื่อที่จะลดอุปสรรคในการ เรียนออนไลน์ และลดช่องว่างระหว่างการศึกษาใน นักเรียนบางกลุ่มที่ไม่มีความพร้อมในการเรียน ออนไลน์และมีข้อจำกัดเรื่องของสภาพคล่องใน ครัวเรือน เช่น การให้นักเรียนกลุ่มรายได้น้อยที่อยู่ ห่างไกลจากจุดสัญญาณ WIFI ฟรีของรัฐได้รับ สิทธิ์อินเทอร์เน็ตฟรีในช่วงเวลาเรียน การเพิ่มช่องทางการเข้าถึงบทเรียน เช่น การจัดทำคลิปการสอนบทเรียนของแต่ละชั้นเรียน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เผยแพร่ในหลายช่อง ทาง เช่น เว็บไซต์โรงเรียน เว็บไซต์เฉพาะของ กระทรวงศึกษาธิการ หรือจะเป็นช่องทางโทรทัศน์ (NATIONAL BROADCAST) เพื่อให้นักเรียน สามารถเข้าไปทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา ขณะ ที่การสอนอาจจะมีการเพิ่มกิจกรรม หรือคลิป วิดีโอ เพื่อลดภาวะความเครียดในการเรียน ออนไลน์ และการออกแบบการวัดประสิทธิผลใน การเรียนให้สนับสนุนกับการเรียนออนไลน์
การเรียนออนไลน์จะมีบทบาทมากขึ้น ดังนั้น ก า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ บ บ ใ ห้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ เท่าเทียม ด้วยการพยายามลดข้อจำกัดและเติม เต็มช่องว่างในทุกๆ ด้าน ทั้งพัฒนาการของ นักเรียนและบุคลากรผู้สอน เป็นสิ่งที่ทุกฝ่าย ต้องร่วมมือกันดำเนินการวางแผนและสร้าง ระบบการเรียนออนไลน์ให้เป็นมาตรฐานโดยการ เข้าถึงเทคโนโลยี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคมให้ครอบคลุมทั่วประเทศ รวมถึง การเปิด WIFI ฟรีให้กับผู้มีรายได้น้อยและ นั ก เ รี ย น ใ น พื้ น ที่ ห่ า ง ไ ก ล ไ ด้ เ ข้ า ถึ ง เ ป็ น สิ่ ง จำ เ ป็ น
สร้าง Growth Mindset ฉบั บครู \"ความเชื่อที่ว่าสมองหรือความฉลาดสามารถพัฒนาได้ เป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต\" GROWTH MINDSET หรือ กรอบความคิดเชิงบวก ที่สามารถพั ฒนาและสร้างได้ในตัวบุคคล ปัญหาและ อุปสรรคเป็นโอกาสในการเรียนรู้และพั ฒนา ให้ความ สำคัญกับความพยายาม เด็กที่มี GROWTH MINDSET จะกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้จากปัญหา สนุกเวลาเจอ โจทย์ท้าทาย มีความพยายามที่จะหาทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค พั ฒนาสิ่งใหม่ ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ มักมีคําถามในเรื่องสิ่งต่าง ๆ รอบตัว GROWTH MINDSET เกิดขึ้นได้กับทุกคนและทุกวัย ตัวคุณครูเองสามารปรับเปลี่ยนเพื่ อสร้าง GROWTH MINDSET ได้ด้วย 5 ข้อนี้ เพื่ อสร้างโอกาสให้กับ ตนเองในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
เริ่ มต้ นที่คุ ณครู เรียนรู้การสร้าง GROWTH MINDSET 1. เรียนรู้ที่จะรับผิดชอบ ปรับปรุงเพื่ อเปลี่ยนแปลง 2. ยอมรับและมองความล้มเหลว (SETBACKS) และ การย้อนกลับ (FEEBACK) เป็นโอกาสในการพั ฒนาทักษะ 3. สร้างโอกาสให้กับตนเอง มองหาความท้าทายใหม่ ๆ เพื่ อการเรียนรู้และเปิดโลกใหม่ 4. สร้างพลังบวกกับตัวเอง และสร้างความคาดหวังใน ตัวผู้เรียน 5. สื่อสารกับตนเองและกับผู้เรียนด้วยภาษา GROWTH MINDSET เพื่ อสร้างพลังบวกแก่กันระหว่างคุณครู และผู้เรียน
ส ร้ า ง ห้ อ ง เ รี ย น ด้ ว ย GROWTH MINDSET การปลูกฝังให้ผู้เรียนมี GROWTH MINDSET กระตุ้นที่อยากจะ เรียนรู้ และพั ฒนาตนเอง คุณครูลองหาวิธีที่เหมาะสมกับบริบท ของห้องเรียนและวัยผู้เรียน 1. ก่อนที่จะพู ดหรือกระทำสิ่งใด ลองพิ จารณาการใช้ภาษาแบบ GROWTH MINDSET เพื่ อสร้างพลังบวก สร้างทัศนคติที่ดีให้กับ ตัวผู้เรียน เช่น “หนูทำไม่ได้ไม่เป็นไร ลองหาวิธีใหม่” 2. ชมอย่างเหมาะสม ไม่มากจนเกินไป หลีกเลี่ยงคำชม เช่น เก่ง ฉลาดมาก เพราะเป็นการลดแรงกระตุ้นและจะทำให้เด็กคิดว่าเก่ง แล้ว ส่งผลต่อการปลูกฝัง FIXED MINDSET แต่เปลี่ยนเป็น “คุณครูภูมิใจที่หนูมีความตั้งใจเรียน” ชมด้วยเหตุผลที่แสดงถึง ความตั้งใจ ความพยายามของผู้เรียน 3. ให้รางวัลกับความสำเร็จของผู้เรียน จากการทำกิจกรรมร่วมกัน ความขยันจากการตั้งใจเรียน 4. ท้าทายความสามารถผู้เรียนโดยแจ้งวัตถุประสงค์ให้ทราบตั้งแต่ เริ่ม เพื่ อกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5. รู้จักและเรียนรู้จากความผิดพลาด พิ จารณาจากความผิดพลาด นั้น แล้วลุกขึ้นมาพั ฒนาตนเอง แล้วฝึกฝนอีกครั้ง 6. ใช้การย้อนกลับ หรือ FEEDBACK เป็นเทคนิคในการพั ฒนาผู้ เรียน และให้เวลาให้เค้าได้พั ฒนาจุดด้อยนั้น
วิเคราะห์บทบาทครูกับการพัฒนา การศึกษาไทยในยุคสังคม NEW NORMAL ค ว า ม ป ก ติ ใ ห ม่ ข อ ง ภ า ค ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย เ ป็ น ก า ร ใ ห้ น้ำ หนักแบบใหม่เพื่ อจัดการปัญหาเดิมของโควิด-19 ที่ทำให้ นักเรียนไม่ได้ไปโรงเรียน ครูจัดการเรียนการสอนไม่ได้ เหมือนที่ผ่านมา ทำให้เกิดความตระหนัก รู้ใหม่ถึงสิ่งที่มี ความสำคัญและจำเป็นแท้จริงต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น หลักสูตรแกนกลางที่มีอยู่เดิมเทอะทะเกินไปและไม่ เหมาะกับบริบทของเด็กแต่ละคน และ กฎเกณฑ์เรื่อง การแต่งกายและการไว้ทรงผมไม่มีความสำคัญเมื่อเด็ก เรียนรู้อยู่ที่บ้าน เป็นต้น เราควรใช้ความตระหนักรู้ที่เกิด ขึ้นจากสถานการณ์นี้ มาออกแบบอนาคตของการศึกษา ไทย โดยให้น้ำหนักกับสิ่งที่สำคัญต่อการเรียนรู้ของ นักเรียน มากกว่า เงื่อนไขที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่ อตอบสนอง นโยบาย แนวคิดหรือผลประโยชน์บางอย่างที่ไม่ สอดคล้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน
ควรให้น้ำหนักกับปฏิสัมพั นธ์ที่มี คุณภาพระหว่างครูและนักเรียน มากกว่าจำนวนชั่วโมงที่นักเรียน อยู่ในห้องเรียน หรือเรียนผ่าน สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ห รื อ สื่ อ อ อ น ไ ล น์ ให้น้ำหนักกับการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง กับความสนใจของนักเรียน เชื่อมโยงกับชุมชนและบริบทที่ นักเรียนอยู่ มากกว่าการเรียนรู้อิงตามมาตรฐานแบบเดียว วกันท้ังประเทศ ให้น้ำหนักกับการประเมินผลเพื่ อการพั ฒนา การเรียนรู้ของนักเรียน (FORMATIVE ASSESSMENT) จากชิ้นงานและพฤติกรรมของนักเรียน มากกว่าการประเมินเพื่ อ การตัดสิน (SUMMATIVE ASSESSMENT) เพื่ อนำไปใช้ให้คุณ ให้โทษแก่โรงเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ให้น้ำหนักกับการ ช่วยเหลือนักเรียนที่มีความท้าทายในการเรียน ควบคู่กับการส่ง เสริมนักเรียนกลุ่มอื่นๆ ให้เต็มตามศักยภาพ เนื่องจากนักเรียนท่ี ขาดแรงจูงใจในการเรียนเป็นทุนเดิมหรือมาจากครอบครัว ย า ก จ น มี แ น ว โ น้ ม จ ะ ห ลุ ด อ อ ก จ า ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ม า ก ขึ้ น เ มื่ อ สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ให้น้ำหนักกับการเรียนรู้เพื่ อสุขภาพกายและใจ ควบคู่กับการ เรียนรู้ด้านวิชาการ สถานการณ์โรคระบาดส่งผลต่อสุขภาพ กายและใจของทุกคนรวมถึงเด็กๆ ทุกวัย ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ของสมอง ชี้ให้เห็นว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ยาก เมื่อเด็กมีความเครียดหรืออยู่ในภาวะที่เป็น อันตราย ค รู จึ ง ค ว ร ส อ ด แ ท ร ก เ นื้ อ ห า ค ว า ม รู้ เ รื่ อ ง สุ ข ภ า ว ะ การดูแลสุขภาพกายและใจ เพื่ อให้เด็กเรียนรู้ และปรับตัว ได้ท่ามกลางสถานการณ์ ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ สั ง ค ม ที่ ไ ม่ แ น่ น อ น
จากที่กล่าวข้างต้น ควรปฏิบัติควบคู่ ไปกับการปรับปรุงโครงสร้างพื้ นฐาน ทางเทคโนโลยีของประเทศ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์กับประชาชนในด้านต่างๆ ไม่เพี ยงแค่การศึกษาเท่าน้ั้น การสร้าง ความปกติใหม่ตามข้อเสนอนี้สามารถ ทำได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากร มหาศาล เพี ยงอาศัยการปรับมุมมองของผู้กำหนดนโยบาย ปรับกระบวนการทำงานของบุคลากรทางการศึกษา สร้าง ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานภายนอกที่ มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ รวมถึงถอดบทเรียนองค์ความ รู้ จากทั้งในและต่างประเทศ แม้ไม่มีโควิด-19 ระบบการศึกษาไทยก็กำลังเปลี่ยนแปลงอยู่ จากปัจจัยขับเคลื่ออนจำนวนมาก ทั้งด้านเศรษฐกิจ เช่น สภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำด้านสังคม เช่น โครงสร้างประชากรที่ เปลี่ยนแปลง ด้านเทคโนโลยีที่ทำให้ทักษะที่เป็นที่ต้องการ เปลี่ยนไป และด้านการเมืองการปกครอง เช่น การดำเนิน นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นต้น ผู้เขียนมองว่า โควิด-19 เป็นท้ัง “ตัวเร่งปฏิกิริยา” ที่ทำให้การเปลี่ยนแปลที่ รอท่าอยู่เกิดขึ้นเร็วขึ้น เช่น การนำเทคโนโลยีเพื่ อการเรียนรู้ มาใช้ในวงกว้าง และเป็น “ตัวหน่วงปฏิกิริยา” ให้แผนการบาง อย่างชะลอออกไป การเร่งปฏิกิริยาและการหน่วงปฏิกิริยา ของ โควิด-19 ส่งผลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องบางส่วนต้องปรับตัวด้วยความ จำเป็น หากขาดการออกแบบเชิงรุกและการต้ังรับปรับตัวของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาคการศึกษา เป็นไปได้สูงมากว่าอนาคต ข อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ไ ท ย จ ะ เ ค ลื่ อ น ค ล้ อ ย ไ ป ต า ม แ ร ง เ ห ล่ า นี้ จ น ไ ม่ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ทิ ศ ท า ง ไ ป สู่ จุ ด ห ม า ย ที่ ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ ด้ ว ย เ ห ตุ นี้
ประเด็นน่าสนใจจากร่าง พ.ร.บ.การศึกษาฯ ฉบับใหม่ ที่มาภาพ : The Matter รัฐไทยอยากให้ น.ร.ได้เรียนอะไรบ้าง? สำรวจประเด็นน่าสนใจจากร่าง พ.ร.บ.การ ศึกษาฯ ฉบับใหม่ https://thematter.co/quick-bite/new-national-education-act/145896
จ า ก ที่ ผู้ เ ขี ย น ไ ด้ ศึ ก ษ า พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ ฉบับที่ 1-4 แล้ว ผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่ มเติมถึง ร่างพระราชบัญญัติแห่งชาติ ฉบับใหม่ ที่เป็นประเด็นสำคัญ เมื่อรัฐบาลเตรียมเสนอร่างกฎหมายฉบับใหม่ ซึ่งตอนนี้ ร่างพ.ร.บ.การศึกษาฯ ดังกล่าว ได้ผ่านการพิ จารณาของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) และได้ผ่านมติ ครม.แล้ว แต่กระนั้นก็มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากภาคส่วน ต่างๆ เกิดขึ้นในทันทีที่ร่างที่ผ่าน สคก. ออกมาสู่สภา นั่นหมายความว่า กระบวนการพิ จารณาความจำเป็นของ กฎหมายที่สคก.ได้ทำต่อร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ยังไม่ได้รวมเอา เสียงของทุกภาคส่วนเข้ามาอย่างแท้จริง ผู้เขียนจึงขอ เสนอประเด็นที่น่าสนใจ ข้อคิดเห็นและข้อวิพากษ์ต่างๆ ข อ ง ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ในมาตรา 6 ของ ร่างพ.ร.บ.ฉบับนี้ ได้กำหนดวัตถุประสงค์ ของการจัดการศึกษาเอาไว้ โดยเป็นไปเพื่ อพั ฒนาบุคคลให้ มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม เป็นคนดี มีวินัย รู้จักสิทธิควบคู่กับหน้าที่และ ความรับผิดชอบ ภูมิใจและตระหนักในความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข ร ว ม ถึ ง ก า ร กำ ห น ด ใ ห้ รู้ จั ก รั ก ษ า ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ร ว ม แ ล ะ ข อ ง ประเทศชาติ มีทักษะการเรียนรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต ที่สอดคล้องและเท่าทันพั ฒนาการของโลก มีโอกาสพั ฒนา ความถนัดของตนให้เกิดความเชี่ยวชาญได้ มีสำนึกในความ รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ แ ล ะ ส า ม า ร ถ อ ยู่ ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น ไ ด้ อ ย่ า ง ผ า สุ ก
ในขณะเดียวกัน ยังกำหนดการพั ฒนา ฝึกฝน และบ่มเพาะ ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะต่างๆ โดยแบ่งตามระดับช่วงวัยและมี ประเด็นสำคัญ ดังนี้ ช่วงวัยที่ 1 : ตั้งแต่แรกเกิดจนอายุ 1 ปี ต้องได้รับการเลี้ยงดูให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ การพั ฒนาทาง อารมณ์ และการกระตุ้นการรับรู้ทางประสาทสัมผัสให้ สามารถเรียนรู้ในการช่วยเหลือตนเอง และสามารถมีปฏิสัม พั นธุ์กับผู้อื่นได้ตามวัย ช่วงวัยที่ 2 : อายุเกิน 1 ปี – 3 ปี สำหรับช่วงวัยก่อนเข้าเรียนอนุบาล โดยร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้ กำหนดประเด็นของการเรียนรู้ไว้ว่า เด็กในวัยนี้ต้องช่วย เหลือตัวเองได้มากขึ้น เรียนรู้การพู ดและการสื่อสารที่ดี เรียนรู้การสร้างวินัย เข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เริ่มรู้จักเผื่อ แผ่ และเริ่มซึมซับวัฒนธรรมไทย ช่วงวัยที่ 3 : อายุเกิน 3 ปี – 6 ปี ในช่วงอายุเท่านี้ เป็นวัยของชั้นอนุบาล ซึ่งร่าง พ.ร.บ.กำหนดว่า ต้องฝึกฝนให้เกิดสมาธิอย่างต่อเนื่อง ควบคุมอารมณ์ได้ รู้จักระมัดระวังภยันตราย ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพกฎกติกา เห็นคุณค่าและมั่นใจในตนเอง รับรู้ ความเห็นต่าง เข้าใจและเห็นใจผู้อื่น ช่วยเหลือผู้ปกครอง ตามกำลังความสามารถ รู้จักความสำคัญของอาชีพที่สุจริต และต้องรู้จักสังคมไทย วัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเป็น ไทย และเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับโลกซึ่งรวมถึงธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมด้วย
ช่วงวัยที่ 4 : อายุเกิน 6 ปี – 12 ปี เป็นระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งกำหนดไว้ว่า ต้องรู้จักสิทธิและ หน้าที่ของตนเอง ภูมิใจและตระหนักในความสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตอาสา ภาคภูมิใจใน ความเป็นไทย ซึมซับในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี ยง นอกจากนี้ ยังต้องรู้จักการวางแผนล่วงหน้า มีความฉลาดและ รอบรู้ทั้งในด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของไทยและประเทศเพื่ อนบ้าน รวมถึง ต้องเริ่มหาลู่ทางในการประกอบอาชีพด้วย ช่วงวัยที่ 5 : อายุเกิน 12 ปี – 15 ปี ในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ร่างกฎหมายนี้กำหนดประเด็นไว้ว่า ต้องยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลาย เชื่อมั่นและ เข้าใจการธำรงความเป็นไทย รู้และเข้าใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพี ยงจนสามารถนาไปใช้ในชีวิตได้ ทั้งยังต้องใฝ่ รู้และมีทักษะในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพั ฒนาการของโลก และสามารถคิดในเชิงสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง สามารถเลือกเส้นทางการศึกษา ต่ อ ห รื อ เ ส้ น ท า ง อ า ชี พ แ ล ะ ก า ร ทำ ง า น ไ ด้ ด้ ว ย ช่วงวัยที่ 6 : อายุเกิน 15 ปี – 18 ปี สำหรับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องแสวงหาความรู้และ ข้อมูลให้ทันการณ์ รู้วิธีตรวจสอบข้อมูลและสถานการณ์ที่ถูก ต้อง ยึดมั่นในคุณธรรม ขยัน อดทน และไม่ท้อถอย เข้าใจ บทบาทของไทยในสังคมโลก โดยได้แบ่งแยกเป้าหมายออก เป็นสองด้าน คือ ด้านการประกอบอาชีพ และด้านการศึกษา ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ บ อุ ด ม ศึ ก ษ า
ช่วงวัยที่ 7 : ระดับอุดมศึกษาหรือทักษะอาชีพชั้นสูง ต้องรู้จักแสวงหาความสุขสงบทางจิตใจ เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง เคารพกฎกติการอย่างเคร่งครัด เป็นปฏิปักษ์ต่อการทุจริตหรือ ประพฤติมิชอบ มีความกล้าหาญที่จะแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง ชอบธรรม มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อปัญหาบ้านเมือง ขณะเดียวกัน ร่างกฎหมายดังกล่าว ยังกำหนดให้เป็นหน้าที่หรือ สิทธิของรัฐ เอกชน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือ นิติบุคคล รวมถึง บิดามารดาหรือผู้ปกครอง เป็นผู้มีสิทธิในการ จัดการศึกษาได้ด้วย แต่ต้องเป็นการศึกษาที่จะให้บรรลุตามเป้า หมายที่กำหนดไว้ รวมถึง การจัดการศึกษา และแผนการศึกษา แห่งชาติ ยังต้องสอดคล้องกับ พ.ร.บ.ฉบับนี้ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ ไม่เป็นปฏิปักษ์หรือขัดแย้งต่อหน้าที่ ของปวงชนชาวไทย และถ้าหาก การจัดการศึกษานั้น ไม่บรรลุ เป้าหมายตามกำหนด กระทรวงศึกษาฯ มีอำนาจสั่งให้ผู้จัดการ ศึกษาปรับปรุงแก้ไข หรือสั่งระงับการจัดการศึกษานั้นได้ แต่ถ้า สั่งระงับการจัดการศึกษา ต้องกำหนดมาตรการรองรับผู้เรียน ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ รี ย น ต่ อ ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ห รื อ ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ด้ ว ย วิ ธี ก า ร อื่นใดที่สมควรด้วย ประเด็นต่างๆ ที่กล่าวมานี้ ทำให้หลายคนตั้งคำถามกับแนวทาง ของการศึกษาที่จะถือกำเนิดขึ้นมาจากร่าง พ.ร.บ.การศึกษาฯ ฉบับใหม่ เมื่อเทียบกับฉบับปี 2542 ซึ่งระบุให้การจัดการเรียน การสอนอยู่คู่กับคุณค่าประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอ ภาค ผสมกับคุณค่าแบบไทย สากล และการเรียนรู้ตลอดชีวิต แต่ในร่างฉบับใหม่นี้ กลับไม่เอ่ยถึงคำว่า เสรีภาพ ความเสมอ ภาค และไม่เน้นย้ำถึงการมองเห็นศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ด้วย
อย่างไรก็ตาม พ.ร.บ.ฉบับนี้ เป็นไปตามมาตรา 54 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้รัฐต้องดำเนิน ก า ร ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ น ร ะ บ บ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วม มือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาค เอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ ซึ่งต้องมีการจัดทำ แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่ง เสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษามีคุณภาพ และได้ มาตรฐานสากล และจำเป็นต้องสอดคล้องกับทิศทางการ พั ฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ที่จะ ร อ ง รั บ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ตลอดชีวิต และเพิ่ มการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ ภาคเอกชนและภาคประชาชน เพื่ อลดความเหลื่อมล้ำในการ ศึ ก ษ า ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ประกอบกับมาตรา 258 และมาตรา 261 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย กำหนดให้มีการปฏิรูปประเทศในด้าน ต่างๆ รวมทั้งด้านการศึกษา โดยเฉพาะให้มีกลไกและระบบ การผลิต คัดกรองและพั ฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งเป็น วิชาชีพชั้นสูงให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน จึงสมควรมีการ ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ เพื่ อเป็นกฎหมาย แ ม่ บ ท ใ น ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และ แ น ว ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น อ น า ค ต
สมาคมครูหลายแห่ง เห็นพ้ องร่วมกันในการคัดค้านด้วยร่าง พ.ร.บ. ฉบับนี้ได้มีบทบัญญัติบางส่วนดี สามารถนำไปเป็นเครื่องมือ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของชาติได้จริงและมีประสิทธิภาพ แต่ยัง มีหลายๆส่วนบกพร่อง ไม่สอดคล้องกับระบบการจัดการศึกษาและ การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ไม่ครอบคลุม ไม่เป็นหลักประกันการ ดำเนินการจัดการศึกษาของภารรัฐให้มีประสิทธิภาพ กลไกขับ เคลื่อนที่ส่งเสริมภารกิจให้ประสบความสำเร็จ เช่น หน่วยงานการ ศึกษา ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ครูและบุคลากรทางการศึกษา หรือ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น และเพื่ อให้การดำเนินการจัดการศึกษาที่ เป็นภารกิจของภาครัฐ ที่มีหน้าที่โดยตรง เป็นการบริการโครงสร้าง พื้ นฐานให้กับสังคม คือ จัดการศึกษาให้กับคนในชาติให้ได้อย่าง มี ประสิทธิภาพและทั่วถึง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ถือว่าเป็น กฎหมายแม่บทแห่งการพั ฒนาที่ยั่งยืนถ้าไม่ชัดเจนมีแต่ สิ่งที่เป็น นามธรรมยากต่อการนำไปปฏิบัติ ลดทอนความเจริญเติบโต และแรง จูงใจให้ผู้จะมาเป็นครู และที่จะร่วมเป็นผู้จัดการศึกษา อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อคุณภาพการศึกษาของซาติ เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการ ดำเนิน ภารกิจในการจัดการศึกษาของรัฐที่พึ งดำเนินการเฉกเช่นรัฐ อื่นๆ ในโลก ที่ยากต่อการแก้ไขหรือเยียวยาในภายภาคหน้า
สมาคมครูจังหวัดร้อยเอ็ด เรียกร้องให้นำ พ.ร.บ.สภาการ ศึกษา พ.ศ.2546 มาบังคับใช้เต็มรูปแบบ รวมถึงเรียกร้องให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องนำคืนเงินกองทุนเพื่ อความมั่นคง โครงการเงินกู้ ช.พ.ค./ ช.พ.ส.กว่า 25,000 ล้านบาท เพราะเป็นเงินที่ได้จากหยาดเหงื่อแรง ก า ย ข อ ง ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ สหพั นธ์ครูจังหวัดเชียงราย เสนอให้มีบทบัญญัติเพิ่ มเติมและ แก้ไขดังนี้ 1. ให้ “ครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นวิชาชีพทางการศึกษา เป็น วิ ช า ชี พ ชั้ น สู ง ” 2. ให้มี ” กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลที่มีองค์กรกลาง บริหารงานบุคคล” 3. ให้มี “การจัดระเบียบบริหารกระทรวงศึกษาธิการต้องมีองค์กร หลักที่เป็นคณะบุคคลในรูป คณะกรรมการ ที่เป็นเอกภาพและสามา รถบูรณาการได้” 4. “เพิ่ มสัดส่วนการมีส่วนร่วมของครูและบุคลากรทางการศึกษาและ หัวหน้าส่วนราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการกระทรวง ศึกษาธิการ เป็นกรรมการ ในคณะกรรมการกำหนดนโยบายการ ศึกษา แห่งชาติให้เหมาะสม” 5.ให้มีการกำหนด ” แนวทางการจัดการศึกษาเพื่ อพั ฒนาคนไทยเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์เทียบเท่าสากล ให้สามารถดำรงชีวิตและเป็น พลเมืองดีและพลโลกที่มีคุณภาพ” 6. ให้มีบทบัญญัติ “กฎหมาย ว่าด้วยการศึกษาขั้นพื้ นฐาน ที่ ครอบคลุมการจัดการศึกษาให้กับปวง ชนชาวไทยตั้งแต่แรกเกิด ปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ และชั้นพื้ นฐาน เพื่ อให้มีทักษะพื้ นฐาน ในการดำรงชีวิต เป็นพลเมืองไทยและพลโลกที่มีคุณภาพ มีทักษะการ ทำงานที่สร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรม ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของ โลก และใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาต่อ” 7. ให้มีบทบัญญัติ กฎหมายว่าด้วย “องค์กรผู้ประกอบวิชาชีพครูและ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ” 8. ให้มีบทบัญญัติ “กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของ ชาติ โดยให้มีบทบัญญัติในการตรากฎหมาย ดังนี้ กฎหมายว่าด้วย การศึกษาภาคบังคับ ว่าด้วยการศึกษาเอกชน การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาสำหรับคนพิ เศษ และอื่น ที่เกี่ยวข้องให้ชัดเจนและครอบคุลมทุกรูปแบบ ทุกระบบและทุกระดับ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ช า ติ ”
“การศึกษาเป็นการพั ฒนาคน เพื่ อให้คน ไปพั ฒนาชาติ หากเราต้องการให้ประเทศ ไปในทิศทางไหนก็ต้องกำหนดปรัชญา ทางการศึกษาไปในทิศทางนั้น วันนี้โลกมัน เปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันกันสูง ทั้งใน ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งเชิง กายภาพด้วย ซึ่งเราต้องการให้คนไทยที่จะ เป็นพลเมืองโลก อยู่ในสังคมโลกสามารถแข่งขันกับเขาได้ ดังนั้น เราจะต้องส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีอิสระที่ จะคิด มีเสรีภาพทางความคิดที่สร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ จึงจะอยู่ในสังคมโลก แข่งขันกับสังคมโลกนี้ได้ ร่างพ.ร.บ. ฉบับดังกล่าว เป็นไปเพื่ อรัฐชาตินิยม เป็นไปเพื่ อการ ปกครองให้เชื่อ ให้เชื่องมากกว่าที่จะให้ริเริ่มสร้างสรรค์ นี่คือ ปัญหาที่เกิดขึ้น เพราะในเรื่องของวิทยาการ เทคโนโลยีมัน ก้าวหน้าไปมาก ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวยังไม่ได้เปิดโอกาส ให้มีความยืดหยุ่น ผสมผสาน และก้าวหน้าไปตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนไป ทั้งการจัดการศึกษา แหล่งเรียนรู้ทั้งหลาย รวมทั้งปิด กั้นหรือกดทับจำกัดเสรีภาพในการเรียนรู้ ลงรายละเอียดจนเกิน ไป ในลักษณะที่เชื่อในความรู้เชิงวิชาการ ที่อาจจะมีข้อขัดแย้งและ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด แต่เอามากำหนดไว้เป็นกฎหมาย เช่น การ กำหนดอายุแต่ละช่วงในการเรียนรู้ ซึ่งแท้จริงในปัจจุบัน พั ฒนาการทางการเรียนรู้ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ที่สำคัญคือ การลดทอนและด้อยค่าวิชาชีพครูลง แม้ว่าครูจะออก มาคัดค้านจำนวนมาก และมีการแก้ไขเพี ยงโปะหน้า แต่เนื้อข้างใน ไม่ได้รับการแก้ไข การที่ทำให้วิชาชีพเป็นเพี ยงองค์กรครูเท่านั้น โดยเฉพาะครูของรัฐก็ไม่ได้รับรองว่าจะได้เป็นข้าราชการ เพี ยง แต่ระบุว่าให้รับค่าจ้างเงินเดือนเทียบเคียงกับข้าราชการ ซึ่ง พ.ร.บ.ฉบับเดิมระบุว่า ค่าจ้าง ค่าตอบแทนของครูจะต้องควรค่า และเหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง แต่ว่าเหตุใด พ.ร.บ.ฉบับนี้ ที่ควรรักษาสิ่งที่ดีอยู่แล้วหรือเพิ่ มพู นก้าวหน้าขึ้น กลับยิ่งถอย หลัง” -สส.สุรวาท ทองบุ บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล-
รองศาสตราจารย์ ดร.ภิญญพั นธุ์ พจนะลาวัณย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ได้เสนอแนะว่า พ.ร.บ.การศึกษาควรให้อำนาจกับ นักเรียน-นักศึกษา อย่างน้อยก็ต้องระดับมัธยม ขึ้นไปในการมีช่องทางในการร้องเรียนครู-อาจารย์ ผู้สอน ผู้บริหาร หรือควรมีการออกแบบระบบและ กลไกที่สามารถถ่วงดุลการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม ต่อนักเรียน นักศึกษา การคาดหวังให้ครูอาจารย์ มีคุณธรรมจริยธรรมนั้นทำได้ แต่ก็ไม่สามารถ จะรับประกัน ดังข่าวทั้งหลายที่ปรากฏขึ้นมาในช่วงสิบปีหลัง หากไม่มี กลไกตรวจสอบและถ่วงดุลอย่างเป็นธรรม การลุแก่อำนาจก็สามารถ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ เ ส ม อ ใ น ทุ ก ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ด้ ว ย จุฬาลงกรณ์- ดร.วงอร พั วพั นสวัสดิ์ อาจารย์ประจำภาควิชา รัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย กล่าวว่า \"การตรากฎหมายย่อมมา พร้อมกับการใช้อำนาจดุลพิ นิจของหน่วยงานภาค รัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหากมีช่องให้ใช้ดุลพิ นิจมาก ก็จะ มีช่องให้เกิดการใช้อำนาจรัฐไปในทางมิชอบมาก รวมทั้งจะทำให้วิถีของการนำนโยบายไปปฏิบัติออก ห่างจากเจตนารมณ์ของนโยบายไปเรื่อยๆ ซึ่งจะ เ ป็ น ต้ น ทุ น ต่ อ สั ง ค ม ใ น ร ะ ย ะ ย า ว อั น ป ร ะ เ มิ น ค่ า มิ ไ ด้ \" เมื่อร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้มีการกำหนดคุณสมบัติและเกณฑ์ให้แต่ละตัวแสดง ต้องบรรลุเป็นจำนวนมาก และเกณฑ์ส่วนใหญ่เป็นเกณฑ์เชิงคุณภาพที่ เป็น นามธรรมทั้งสิ้น เช่น ผู้เรียนช่วงวัยที่ 6 ต้องถูก “ฝึกฝนให้ดูแลตนเองได้ อย่างสมบูรณ์” (ม. 8) ครูต้องมี “พฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้จ่ายในชีวิต ประจำวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง” (ม. 34) ครูที่จัดการเรียน รู้ให้ผู้เรียนในช่วงวัยที่ 3 ต้อง “เป็นผู้มีอุปนิสัยรักความเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีวินัย อารมณ์ดี รักลูกศิษย์ ช่างสังเกต และมีความคิด สร้างสรรค์” (ม. 37) เกณฑ์คุณสมบัติและแนวปฏิบัติที่ถูกตราเหล่านี้ แม้จะสะท้อนเจตนาอันดี แต่ล้วนไม่มีความชัดเจนและเรียกร้องให้เกิดการตีความตามดุลพิ นิจแทบ จะทุกตัวอักษร เช่น แค่ไหนจึงเรียกว่าเกินความจำเป็น? แค่ไหนจึงเรียก ว่าอารมณ์ดี? แค่ไหนจึงเรียกว่าดูแลตัวเองได้อย่างสมบูรณ์? เป็นต้น
ด้วยความที่มีเนื้อความที่จะนำไปสู่การกำหนดโทษ ประกอบกับ เนื้อความที่คลุมเครือต้องอาศัยดุลพิ นิจในการตีความจำนวนมาก ผู้เขียนมองว่า ร่าง พ.ร.บ. ฉบับใหม่นี้ มีเนื้อหาเกินขอบเขตของ ความเป็นกฎหมายแม่บท โดยตัวบทมีลักษณะของแนวนโยบายและ กฎระเบียบ (PROCEDURAL POLICIES) ซึ่งควรไปอยู่ในกฎหมาย ลำดับรองมากกว่า และในหลาย ๆ ประเด็นควรยกให้เป็นหน่วย จัดการศึกษามีอำนาจอิสระในการกำหนดเสียด้วยซ้ำ ตัวอย่างเช่น มาตรา 22 ที่กำหนดแม้กระทั่งวิธีการรับนักเรียนเข้าเรียนของ โรงเรียน ทั้ง ๆ ที่ในปัจจุบัน เกณฑ์เหล่านี้ถูกกำหนดทุกปีอยู่แล้วใน รูปของแนวนโยบายการรับนักเรียนเข้าเรียนของ สพฐ. อีก ตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญและเป็นเรื่องใหม่คือ มาตรา 77 ที่ระบุว่า สถานศึกษามีหน้าที่บันทึกข้อมูลแม้กระทั่งรายรับรายจ่ายเพื่ อเป็น BIG DATA ให้แก่คณะกรรมการนโยบายฯ ซึ่งหากพิ จารณาให้ดีก็ จะพบว่าเป็น ข้อเรียกร้องที่จะนำไปสู่ “ภาระต่อสถานศึกษาและการปฏิบัติหน้าที่ ของครูเกินความจำเป็น” ได้ง่ายๆ ด้วยเหตุนี้ประเด็นที่สำคัญน่าเป็นห่วงไม่แพ้ อำนาจอิสระของ ผู้เรียนในการกำหนดทิศทางการเรียนรู้ของตนเอง ก็คืออำนาจ อิสระของสถานศึกษา ที่น่าจะถูกตีกรอบอย่างละเอียดยิบจากร่าง พ.ร.บ. ฉบับนี้จนแทบจะเรียกได้ว่าเป็นอำนาจอิสระที่ไร้อิสระ ท้ายสุด ในสถานการณ์ตอนนี้ ผู้เขียนมองว่าประสิทธิภาพ ของนักเรียน ลดลงไม่มากก็น้อย หลายครัวเรือนไม่มีความพร้อมที่ จะรับมือกับสถานการณ์นี้ ภาครัฐควรให้ความสำคัญในการพั ฒนา ความรู้ด้านเทคโนโลยีกับนักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน และ ผู้ปกครอง เพื่ อที่จะมีการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เพื่ อให้เกิดความคุ้นชินและพร้อมรับ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง โ ล ก ก า ร ศึ ก ษ า ในระยะข้างหน้า
“เรียนรู้จากวันวาน ใช้ชีวิตเพื่อปัจจุบัน มีความหวังสำหรับวันพรุ่งนี้” — ALBERT EINSTEIN -
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: