Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

Published by Tuk Ka Ta Thongborisut, 2021-06-28 02:29:16

Description: สรุปผลการดำเนินการฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม_2561-2564_updateล่าสุด

Search

Read the Text Version

4.3. การจดั ทำสื่อประชาสมั พันธ์และความรทู้ างดา้ นนวตั กรรม CU VET Innovation Digest สำหรบั ใหข้ อ้ มูลและความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมแก่บุคลการและนิสติ เนอ่ื งจากปจั จุบันได้มีการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี นวัตกรรม รูปแบบธุรกิจไปอย่างรวดเร็ว การก้าวทันและการรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบันจึงเป็น สิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาบุคลากร ฝ่ายนวัตกรรมจึงได้จัดทำสื่อรูปแบบ one page และย่อยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ นวัตกรรม เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงแบบดิจิตอล (digital transformation) ให้เข้าใจง่าย พร้อมเป็นข้อมูล พื้นฐานแกบ่ ุคลากรและนสิ ิต สำหรบั นำไปหาข้อมูลเพิ่มเตมิ และต่อยอด นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั รวมถึงเป็นหนึ่งใน กระบวนการสรา้ งระบบนเิ วศนวัตกรรมของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ







4.4. การนำเสนอผลงานนวัตกรรมของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ใน Chulalongkorn University Veterinary Conference 2021 Live ฝ่ายจัดแสดงนวัตกรรมในงาน CUVC 2021 Live โดยมี ผู้ช่วยศาตราจารย์ สพ.ญ. ภาวนา เชื้อศิริ ประธานฝ่ายจัดแสดงนวัตกรรม ได้มีการรวบรวมผลงานนวัตกรรมเพื่อนำเสนอในงานประชุมในรูปแบบ virtual conference วนั ท่ี 29-30 เมษายน 2564 โดยรวบรวมผลงานส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีคิดค้นโดยบุคลากรคณะฯ ตั้งแต่ในช่วงปี 2562-2563 ที่ได้รับรางวัลจากการประกวดในงานแสดงสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมระดับนานาชาติ อีกทั้งเป็นการแสดงศกั ยภาพของทางคณะฯ ทางด้านนวัตกรรมทางสัตวแพทยอ์ อกสู้สงั คม





5. การสง่ เสรมิ และบรู ณาการการเรยี นการสอนด้านนวตั กรรมในหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบณั ฑติ 5.1. การปฐมนิเทศนิสิตช้ันปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562-2563 ในหัวข้อ “แนวทางด้านนวัตกรรมของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” เพื่อให้นิสิตได้ รับทราบถึงแนวทางในปัจจุบันที่คณะฯ มียุทธศาสตร์การส่งเสริมทางด้านนวัตกรรม ทั้งนิสิตซึ่งเป็นผลผลิตของ คณะฯ เป็นเป้าหมายหลักของหนึ่งของการพัฒนาศักยภาพนิสิตให้มีทักษะในการคิดเชิงนวัตกรรมในยุคศตวรรษที่ 21 อีกทงั้ ยงั ทำใหเ้ หน็ นสิ ติ ไดเ้ ห็นแนวทางสำหรบั ความสนใจในการสร้างนวตั กรรมทางสตั วแพทยใ์ นอนาคต 5.2. การบรรยายหัวขอ้ เก่ียวข้องกับนวตั กรรมในรายวิชาบงั คับ 3100102 Perspectives in Veterinary Professions ไดม้ ีการจดั การเรยี นการสอนในรายวิชาทเี่ กีย่ วข้องกับนวัตกรรม o หวั ข้อ Introduction to Innovation in Veterinary Science โดย ผศ.น.สพ.ดร. ภัทรรฐั จนั ทร์ฉายทอง ผู้ช่วยคณบดี ฝา่ ยนวตั กรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ o หวั ขอ้ Design and Innovation for Strategic Value Preposition โดย ดร. ปรเมษวร์ ชุ่มยมิ้ ที่ปรกึ ษาอาวุโส เมอื งนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)

5.3. การจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารทางด้านกระบวนการเชงิ นวัตกรรม Veterinary Innovation Bootcamp ในรายวชิ า 3108513 Perspectives in Veterinary Dairy Industry ผู้เข้าร่วมอบรมเป็นนิสิตชั้นปีที่ 5 และ 6 ที่มีประสบการณ์ในการฝึกคลินิกปฏิบัติ และนำปัญหาที่พบ มา แกไ้ ขดว้ ยการคิดเชิงนวตั กรรมอยา่ งสรา้ งสรรค์ การระดมสมอง การตรวจสอบปญั หา และแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งานและตลาด ไปจนถึงการเล่าเรื่องและการเตรียมการนำเสนอแนวคิดการพัฒนา ผลติ ภัณฑ์ Milka cola® ตัวอย่างแนวคดิ การพัฒนาผลิตภัณฑน์ มดว้ ยกระบวนการคิดเชิงนวตั กรรมของนสิ ิตทผี่ า่ นการตรวจสอบความคิดเห็น ของผใู้ ช้

6. ทุนส่งเสรมิ โครงการนวัตกรรม 6.1. โครงการสร้างคุณคา่ งานประจำสกู่ ารวจิ ยั และนวัตกรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาและแหล่งอ้างอิงความรู้ ทางดา้ นสตั วแพทย์ และให้บรกิ ารทางวิชาการ ซ่งึ ทำใหเ้ กิดผลผลิตท่ีมีคุณค่าอนั เกิดการจากการดำเนินงานประจำท่ี เป็นประโยชน์แก่สังคม อีกทั้งการดำเนินงานประจำของบุคลากรได้มีการสร้างข้อมูลที่มีประโยชน์และคุณค่า ใน ปัจจุบันการรวบรวมข้อมูลและการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพือ่ พัฒนาองค์กรจัดเป็นกลยทุ ธ์หนึ่งที่มีความสำคัญในการ พัฒนาองค์กร บุคลากร และการเจริญเติบโตทางธรุ กจิ การนำผลลัพธ์จากงานประจำมาศึกษาวิเคราะห์ดว้ ยแนวคิด ทางการวจิ ัยตามแนวทาง routine to research (R2R) เป็นแนวทางหน่งึ ที่เปน็ การสร้างคุณค่าจากงานที่มีอยู่ให้เกิด ประโยชนม์ ากยิ่งขึน้ และสามารถนำกลับมาพัฒนางานประจำให้มีประสิทธิภาพยิ่งขน้ึ ด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ อัน เป็นการเพ่ิมประสิทธภิ าพในการดำเนินงานของบุคลากรและหนว่ ยงาน ทำใหเ้ กดิ มาตรฐานใหม่ กระบวนการใหม่ ที่ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ปัจจุบันคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ เป็นสถาบันที่บ่มเพาะสัตว แพทย์สายคลินิกปฏิบัติมีการจัดโปรแกรมการเรียนการสอนทั้ง internship และ residency program ที่ ผู้ปฏิบัติงานจะได้เรียนรู้และได้รับประสบการณ์จากกระบวนการในทางปฏิบัติ และจำเป็นต้องมีการวิเคราะห์และ สังเคราะห์เป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องหลักสูตรเพ่ือเปน็ สัตวแพทย์ที่มีศักยภาพและความเชียวชาญเฉพาะทาง การ นำมางานประจำมาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ด้วยแนวคิดทางการวิจัย จะช่วยให้การเรยี นรู้ของสัตวแพทย์เป็นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน อีกทั้งยังเป็นการสร้างโอกาส ความท้าทายในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาย ปฏิบัติการ อันทำให้เกิดการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เกิดค่านิยมใหม่ ลดช่องว่างและความเชื่อมโยงระหว่าง ผู้ปฏิบัติงานประจำกับนักวิจัย ทำให้เกิดการสร้างนักวิจัยใหม่ องค์ความรู้ใหม่ในสายปฏิบัติการ ที่ สามารถและมี โอกาสนำมาใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น อันเป็นการสร้างคุณค่าและนำมาใช้ตรงตามแนวคิดเชิง นวัตกรรม โครงการสร้างคุณค่างานประจำสู่การวิจัยและนวัตกรรมเปน็ ไปตามเป้นประสงค์และนโยบาย Research and teaching integration มผี เู้ ข้ารว่ มโครงการและกลุ่มเปา้ หมายประกอบดว้ ย กลุ่มหลกั สัตวแพทย์ (สัตวแพทย์ ประจำ, internship และ resident) และกลุ่มรอง คณาจารย์ที่มีการเรียนการสอนทางคลินิก และบุคลากร คณะ สัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดยมกี ารสนบั สนนุ โครงการละ 20,000 บาท วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ สนบั สนุนใหม้ ีการพฒั นางานประจำสงู่ านวิจัยท่ีนำไปใชป้ ระโยชน์จรงิ เชิงปฏิบตั ิ 2. เพมิ่ จำนวนงานวจิ ยั จากนักวิจยั ใหม่ในสายปฏบิ ัติการ



ฝา่ ยวจิ ัยและนวตั กรรม ไดร้ ับเกียรติจาก อ.นพ. อคั รนิ ทร์ นมิ มานนิตย์ ประธานคณะกรรมการดำเนินการหนว่ ย R2R (งานประจำสู่การวิจัย) และผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและฝ่ายคุณภาพ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มาให้ คำปรึกษาการดำเนินโครงการ “โครงการพัฒนางานประจำสูก่ ารวิจัยและนวัตกรรม” และเยี่ยมชมโรงพยาบาลสัตว์ เล็ก ในวันที่ 31 ตุลาคม 2562 โดยมี ผศ.น.สพ. สิริพงศ์ เกียรติกิตติคุณ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสัตว์เล็ก และผศ. น.สพ.ดร. ภทั รรฐั จนั ทร์ฉายทอง ผชู้ ่วยคณบดฝี า่ ยนวัตกรรม และคณาจารยจ์ ากภาควิชาคลินกิ ให้การต้อนรับ

โดยในปงี บประมาณ 2563 ไดด้ ำเนนิ โครงการ จำนวน 9 โครงการ ไดแ้ ก่ 1. การเปรียบเทียบผลการรักษาภาวะเอ็นไขว้หน้าเข่าฉีกขาดระหว่างวิธีการผ่าตัดปรับมุมข้อด้วยวิธี TPLO และการรกั ษาโดยการไม่ผ่าตดั ในสนุ ัขสายพนั ธเ์ุ ลก็ 2. การเปรียบเทียบการใช้สารคงเนื้อเยื่อชนิด 10% ฟอร์มาลิน และสารละลาย Blouin ในการย้อมสี trichrome ของเนอื้ เยื่อในระบบทางเดินอาหาร 3. การประเมินประสิทธภิ าพเพ่ือลดขั้นตอนในกระบวนการตรวจวินิจฉัยระบุชนิดแบคทเี รียด้วย MALDI TOF MS และ การทดสอบความไวรับตอ่ ยาตา้ นจุลชีพ 4. การประเมินประสิทธภิ าพเพื่อลดข้ันตอนในกระบวนการตรวจวินิจฉัยระบุชนิดแบคทีเรียด้วย MALDI TOF MS และ การทดสอบความไวรบั ตอ่ ยาต้านจลุ ชพี 5. การทดสอบระดับแอนติบอดีในเลือดต่อฮอร์ปีส์ไวรัสแมวสายพันธุ์ที่ 1 แคลิซิไวรัสแมว ก่อนการให้วัคซีน หลกั กระตุน้ ในแมวทเี่ ลีย้ งรวมหลายตวั ในครัวเรอื น 6. การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการวินิจฉัยโดยวิธี Ultrasound guided fine-needle aspiration ของตับระหว่างหนงึ่ ตำแหน่งกบั หลายตำแหน่งในสัตว์ป่วยท่ีมีความผดิ ปกติของตบั แบบกระจายทั่วไป 7. การเคลอ่ื นตวั ของทอ่ ชว่ ยหายใจและตำแหนง่ การสอดทอ่ ชว่ ยหายใจทเ่ี หมาะสมในสุนัขที่ไดร้ บั การผ่าตัด 8. นวัตกรรมนาโนสเปรยส์ ำหรับการถนอมมือและขจัดกลิน่ โดยใช้อนุภาคพฤกษานาโน 9. แผน่ สไลด์ตรวจนบั ไข่พยาธิสรา้ งได้ และในปงี บประมาณ 2564 ได้ดำเนนิ โครงการ จำนวน 4 โครงการ ไดแ้ ก่ 1. การรับรู้คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการโรงพยาบาลสัตว์เล็กของคณะสัตว แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2. การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการใช้ Bouin’s solution และฟอร์มัลดีไฮด์มาใช้ในกระบวนการรักษา สภาพของเน้ือเย่ือเพอื่ ใช้ในการเรียนการสอนกายวิภาคศาสตรร์ ะบบทางเดนิ อาหาร 3. ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้เทคนิคการผสมเทียมในมดลูกด้วยกล้องเอนโดสโคปผ่านช่องคลอดหรือ ช่องผสมเทียมแบบสแกนดิเนเวยี นในสนุ ขั เพ่อื ใช้ในการผสมเทยี มในแพะ 4. สเปรย์สมนุ ไพรนาโนสูตรเย็น บรรเทาอาการปวดเมื่อย ปญั หาและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ในปีงบประมาณ 2564 มีจำนวนโครงการยื่นขอทุนจำนวนน้อยลง เนื่องจากอาจเป็นไปได้ว่ามีการเปิดรับ ข้อเสนอโครงการในช่วงเวลาเดียวกับทุนวิจัยคณะฯ และด้วยจำนวนเงินสนับสนุนที่น้อยกว่า อาจทำให้ผู้วิจัยย่ืน โครงการขอทุนวิจยั คณะฯ จึงมีข้อเสนอแนะให้ทนุ R2R ได้มีการเปิดรับข้อเสนอโครงการได้ตลอดปี เพื่อเปิดโอกาส

ให้นักวิจัยที่มแี นวคิดและโครงการวิจัยทีร่ เิ ริ่มจากงานประจำที่ปฏิบัติตลอดปีได้ส่งข้อเสนอได้โดยไมม่ ีช่วงระยะเวลา จำกัด 6.2. โครงการสนบั สนุนการวิจัยระดบั ปริญญาบัณฑิตดา้ นสิง่ ประดิษฐ์และนวตั กรรม คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้มีการจัดการเรียนการสอนแก่นิสิตระดับปริญญา บัณฑิต รวมถึงสนับสนุนให้นิสิตมีกระบวนการคิดในเชิงวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหา สร้างงานวิจัย โดยมีรายวิชา โครงงานวิจัยปริญญาบัณฑิต (Senior Project) เพื่อให้นิสิตได้เรยี นรู้กระบวนการวิจัยภายใตก้ ารดูแลของอาจารย์ท่ี ปรึกษา ในปัจจุบันคณะฯ มีศักยภาพในการสร้างองค์ความรู้จากการวิจัยพื้นฐานจากบุคลากรและนิสิตระดับ บัณฑิตศึกษา รวมถึงงานวิจัยพื้นฐานส่วนหนึ่งได้มีการพัฒนาต่อยอดจนนำไปใช้ได้จริงในทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปตาม นโยบายยุทธศาสตรข์ องประเทศไทยและจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ทต่ี ้องการผลักดนั ให้นำผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ และสร้างนวัตกรรม ทั้งนี้การริเริ่มโครงการวิจัยของนิสติ ระดับปริญญาบัณฑิตเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสำคญั ของการขับเคลื่อนงานวิจัยของคณะฯ และการสร้างบัณฑิตสัตวแพทย์ที่มีกระบวนการคิดอย่างเปน็ ระบบในอนาคต การริเร่ิมการวิจยั ดว้ ยแนวคิดเชิงนวตั กรรมเพ่ือให้เกิดการสร้างสรรคส์ ิ่งประดิษฐ์ กระบวนการ ผลิตภัณฑ์ หรืออื่น ๆ ที่นำมาซึ่งการแก้ปัญหาที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้และสังคม รวมถึงผลงานที่มีสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ท่ี จะช่วยทำให้เกิดการสนับสนุนการสร้างงานวิจัยที่นำไปพัฒนาเป็นนวัต กรรมที่นำไปใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากข้ึน รวมถึงเป็นการสนับสนุนให้เกิดระบบนิเวศนวัตกรรมขึ้นในองค์กร สร้างนวัตกรทางด้านสัตวแพทย์ ผลิตภัณฑ์ ต้นแบบ การศึกษาและประเมินผู้ใช้และตลาด ดังนั้นโครงการสนับสนุนโครงการวิจัยระดับปริญญาบัณฑิตด้าน สิ่งประดิษฐแ์ ละนวัตกรรม จึงเป็นโครงการหนึง่ ที่จะสนับสนุนและกระตุ้นใหเ้ กิดผลงานวจิ ยั ในระดับปริญญาบัณฑิต ในการสร้างงานวิจัยเชิงนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และสร้างแรงจูงใจให้นิสิตได้มีการเรียนรู้และสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดได้ในอนาคตและนำไปใช้ได้จริงในทางปฏิบัติ โครงการ สนับสนุนการวิจัยระดับปริญญาบัณฑิตด้านสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเป็นไปตามเป้นประสงค์และนโยบาย Research and teaching integration มีผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิตชั้นปีที่ 5 และอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการ โดยมกี ารสนับสนนุ โครงการละ 10,000 บาท วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนและสร้างแรงจูงใจแกน่ สิ ติ ระดบั ปริญญาบัณฑิตและอาจารยท์ ปี่ รึกษาโครงการวิจัยสรา้ ง ผลงานวิจัยทเี่ กย่ี วข้องกบั ส่งิ ประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบใหม่ ๆ ที่จะนำไปตอ่ ยอดเปน็ นวัตกรรม 2. เพมิ่ จำนวนผลงานวจิ ัยทนี่ ำไปใชป้ ระโยชน์หรอื ต่อยอดเปน็ นวตั กรรม 3. เพื่อสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ระบบนเิ วศนวัตกรรมและกระบวนการคิดเชงิ นวัตกรรมในองค์กร

แนวทางการพจิ ารณา 1. เปน็ โครงการวจิ ยั ระดบั ปริญญาบณั ฑติ ของนิสติ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าฯ ที่ผ่านการพิจารณาจากฝ่าย วิชาการ 2. เป็นโครงการวิจัยทเ่ี กย่ี วข้องกับการสรา้ งสงิ่ ประดิษฐใ์ หม่ ผลิตภณั ฑต์ ้นแบบใหม่ เทคโนโลยใี หม่ หรือใช้ กระบวนการเชงิ นวัตกรรมในกระบวนการศึกษาวจิ ยั เช่น มกี ารตรวจสอบปัญหา หรือ pain point (problem validation) มกี ารประเมนิ ความตอ้ งการของผู้ใชง้ าน (user validation) การลดกระบวนการ (LEAN) การวเิ คราะห์เชิงธุรกิจ เป็นตน้ โดยในปงี บประมาณ 2563-2564 มีนิสิตชนั้ ปที ี่ 6 ได้ดำเนินโครงการ จำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1. แบบจำลองสนุ ขั เสมือนจรงิ สำหรับการศึกษาเสียงหวั ใจ เสียงฟู่ของหัวใจ และคลน่ื ไฟฟา้ หัวใจ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาโครงการ ผศ.น.สพ.ดร. อนุศักด์ิ กิจถาวรรัตน์ นิสติ ผูด้ ำเนนิ โครงการ นางสาวอนิ ทอุ ร จิรเรอื งตระกลู นางสาวธัญทิพ พงษไ์ พบลู ย์ นางสาวมณีนชุ หอมศรีประเสรฐิ นางสาวธอี นุตรีย์ แต้พฒั นสกล 2. เวบ็ แอพพลิเคชัน RightBaan อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาโครงการ อ.สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดังงา นิสิตผดู้ ำเนินโครงการ นางสาวกมลวรรณ เส้งเสน นางสาวณชิ กานต์ ใจบญุ นางสาวพิมพกานต์ เสียงเรืองแสง นางสาวพิมพ์รัมภา เก้าเอ้ียน 3. การแปลงเพศลกุ ปลานลิ ด้วยฮอร์โมนอนุภาคนาโน อาจารยท์ ่ปี รึกษาโครงการ รศ.น.สพ.ดร. นพดล พิฬารตั น์ อ.ดร. ธีรพงศ์ ยะทา นสิ ิตผดู้ ำเนินโครงการ นางสาวจริ าพร ดอนเลย นางสาวนนั ทนัช ยศสอน นายสุกฤษฎิ์ รสเติม นางสาวอทติ ยิ า เอีย่ มอ่อน

4. การศกึ ษาเปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพเครอื่ งมอื วนิ ิจฉัยภาวะเย่ือบุมดลูกอักเสบหลังคลอดในโค อาจารย์ทปี่ รกึ ษาโครงการ อ.น.สพ.ดร. ธีรวัฒน์ สวา่ งจันทรอ์ ทุ ยั ผศ.น.สพ.ดร. ศิรวิ ัฒน์ ทรวดทรง ผศ.สพ.ญ. ศริยา อศั วกาญจน์ นสิ ติ ผ้ดู าเนนิ โครงการ นางสาวเกวลิน จาปาสกั นางสาวณัทชาภา รัตนาภรณ์ นางสาวทัชช โฆษิตสกลุ ชยั นางสาวนธิ ิพร คานาน เว็บแอพพลเิ คชัน RightBaan เปน็ platform ในการหาบา้ นใหส้ ัตว์จรจดั ผลงานโครงการนวัตกรรมจากโครงการวจิ ัยระดับปรญิ ญาบณั ฑติ นสิ ติ ชั้นปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา 2564 ท่ไี ด้รบั ความสนใจจากสอ่ื มวลชนและสอื่ ออนไลน์ซึง่ แสดงถึงกระแสตอบรบั การตระหนกั รู้ และผลกระทบตอ่ สังคม

7. ผลงานรางวัลนวัตกรรม สิทธบิ ัตร และอนุสิทธิบตั ร 7.1. ผลงานรางวลั นวัตกรรมบุคลากรและนิสิต ในช่วงปีงบประมาณ 2561-2564 คณาจารย์ บุคลากรและนิสติ คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไดม้ ีการสรา้ งสรรค์ ผลงานสิง่ ประดิษญ์และนวัตกรรมเพื่อนำเสนอและประกวดในงานจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์และนวตั กรรมทัง้ ใน ระดับชาติและนานาชาติ และไดร้ ับรางวัลจำนวน 13 รางวลั ดังตอ่ ไปนี้ ลำดับท่ี ชอื่ ผู้ไดร้ บั รางวัล ชือ่ รางวัล ช่ือผลงาน หน่วยงานทใี่ ห้รางวัล 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Excellent Award (Gold Award) เรื่องหัวสนุ ัขจำลองจากเยอ่ื กระดาษและ งานประชมุ 43rd สพ.ญ.ภาวนา เชอื้ ศิริ from Highly Innovation Unique ยางพารา (Canine head model from International Invention Foundation (HIUF) In Jeddah, pulp paper and para rubber) Show INOVA-BUDI Saudi Arabia UZOR 2018 (INOVA 2018) ณ เมือง ZAGREB 2 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ International Engineering เรือ่ งหวั สนุ ขั จำลองจากเยอ่ื กระดาษและ สาธารณรฐั ประเทศ สพ.ญ.ภาวนา เชอ้ื ศิริ Invention and Innovation ยางพารา (Canine head model from CROATIA Exhibition (i-EVEX) 2018 Gold pulp paper and para rubber) งานประชมุ 43rd Award from Malaysia International Invention Show INOVA-BUDI 3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ 43rd International Invention เรอ่ื งหวั สุนขั จำลองจากเยอ่ื กระดาษและ UZOR 2018 (INOVA 2018) สพ.ญ.ภาวนา เชื้อศริ ิ Show INOVA-BUDI UZOR 2018 ยางพารา (Canine head model from ณ เมือง ZAGREB (INOVA 2018), Zagreb, pulp paper and para rubber) สาธารณรฐั ประเทศ Croatia Silver Award CROATIA งานประชมุ 43rd 4 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (Swiss Bronze Award) เร่ืองอวยั วะจำลองทางกายวภิ าคทางสตั ว International Invention สพ.ญ.ภาวนา เชอ้ื ศริ ิ ในสาขา Teaching methods and แพทยจ์ ากเยอื่ กระดาษ(Veterinary Show INOVA-BUDI materials - Musical instruments Anatomical Organ Model from Pulp UZOR 2018 (INOVA 2018) - Art materials Paper) ณ เมอื ง ZAGREB สาธารณรัฐประเทศ 5. อาจารย์ ดร.ธรี พงศ์ รางวลั นกั เทคโนโลยีรนุ่ ใหม่ ประจำปี “นาโนวัคซีนแบบจุ่มโดยเลยี นแบบเชอ้ื กอ่ CROATIA ยะทา The 47th International พ.ศ.2563 โรคในปลา” Exhibition of Inventions Geneva ณ INTERNATIONAL EXHIBITION OF INVENTIONS Palexpo 7 ณ นครเจนวี า สมาพันธรัฐ สวสิ งานการประชมุ วชิ าการ นานาชาติดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง เทคโนโลยี คร้ังท่ี 46

6. รองศาสตราจารย์ รางวัลนวตั กรรมแหง่ ชาติ ประจำปี \"นวัตปะการังประตมิ ากรรมแห่งเทคโนโลยี สำนักงานนวัตกรรมแหง่ ชาติ สพ.ญ.ดร.นันทรกิ า พ.ศ.2563 (ดา้ นการออกแบบ เพอ่ื ชวี ติ \" (องค์การมหาชน) ชนั ซือ่ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร ประเภทการ ออกแบบผลติ ภัณฑ์ รางวลั ชนะเลศิ ) 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ INOVA 2020 Special Award ชุดหุน่ จำลองสามมติ ขิ องเยื่อหุ้มสมอง และ 45th Inova-International สพ.ญ.ภาวนา เชือ้ ศิริ (Award Certificate Only), from โครงหลอดเลือดของสมองสุนขั Invention Show, Zagreb, และคณะ the Croatian Inventors Network (THREE-DIMENSIONAL MODEL KIT OF Croatia (Special Edition (organizer of INOVA) MENINGES AND VASCULAR Live Event/Online Show), STRUCTURE OF DOG’S BRAIN) INOVA Croatia 2020, 2nd Oldest world’s invention show and 2nd largest European invention show 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Toronto International Society ชุดหุ่นจำลองสามมิติของเย่ือหมุ้ สมอง และ 45th Inova-International สพ.ญ.ภาวนา เช้อื ศิริ of Innovation & Advanced Skills โครงหลอดเลอื ดของสมองสนุ ัข Invention Show, Zagreb, และคณะ (TISIAS) Special Award (Medal (THREE-DIMENSIONAL MODEL KIT OF Croatia (Special Edition and Award Certificate) MENINGES AND VASCULAR Live Event/Online Show), STRUCTURE OF DOG’S BRAIN) INOVA Croatia 2020, 2nd Oldest world’s invention show and 2nd largest European invention show 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เหรียญทอง ชุดห่นุ จำลองกายวภิ าคตาสนุ ขั แบบสามมิติ Innovation Week Africa, สพ.ญ.ภาวนา เช้อื ศริ ิ เพ่ือการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 3D Dog Eye IWA 2020”, Rabat, Anatomy Model for Self-learning Morocco) (Online) OFEED Morocco Supported by International Federation of Inventors’ Associations (IFIA) / The Patent Invention Magazine / Oxford Business Group 10. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ รางวลั เหรยี ญเงิน (Silver Medal) “Formalin free embalming solution” The 14th International สพ.ญ.ดร.ศิรกานต์ Warsaw Invention Show” ฐิตวัฒน์ (IWIS 2020) ณ กรุงวอรซ์ อ และคณะ สาธารณรัฐโปแลนด์ 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รางวัล Grand Prize “อุปกรณไ์ มโครฟลอู ิดิกส์ชปิ สำหรับตรวจหา The 14th International น.สพ.ดร.ประพฤติดี ไมโครฟิลาเรยี ” Warsaw Invention Show” ปิยะวริ ยิ ะกุล และคณะ (IWIS 2020) ณ กรุงวอรซ์ อ สาธารณรัฐโปแลนด์ 12. รองศาสตราจารย์ รางวัลผลงานนวัตกรรมสาย วคั ซีนแช่นาโนแบบเกาะตดิ เยอ่ื เมือกดา้ นโรค สำนักงานการวิจยั แห่งชาติ น.สพ.ดร.นพดล พิฬา อุดมศึกษา ประจำปี 2563 (ระดับ เหงือกเน่าในปลา (วช.) รัตนแ์ ละคณะ ดเี ดน่ ) 13. ศาสตราจารย์ สพ.ญ. รางวัลสภาวจิ ัยแห่งชาติ:รางวัล \"นวตั กรรมอุปกรณร์ ะบบของไหลจลุ ภาคเพ่อื สำนักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ ดร.อัจฉริยา ไศละสูต ผลงานวิจัย ประจำปี 2564 ระดับดี ประยุกต์ใช้ศกึ ษาด้านวิศวกรรมชีวภาพ (วช.) และคณะ มาก ในทางสตั วแพทยเ์ ป็นรปู แบบการศึกษา\"

7.2. สิทธิบตั รและอนสุ ิทธบิ ตั ร ในระหวา่ งปีงบประมาณ 2561-2564 คณาจารย์ บคุ ลากรและนิสิตคณะสตั วแพทยศาสตร์ ได้มกี าร สรา้ งสรรคผ์ ลงานส่ิงประดษิ ฐ์และไดย้ ่นื ขอจดสิทธิบตั รหรืออนุสทิ ธบิ ตั รเพ่ือเป็นทรัพย์สินทางปญั ญา ประกอบดว้ ย สิทธบิ ัตรการประดิษฐ์ จำนวน 6 รายการ และอนุสทิ ธบิ ตั รจำนวน 11 รายการ สทิ ธิบัตรการประดิษฐ์ ลำดับ ช่ือผลงาน ผู้ประดษิ ฐ์ และหนว่ ยงาน เลขทีค่ ำขอ เลขทรี่ ับจด วนั ที่ยื่นคำขอ วันท่ไี ด้รับจด ทะเบียน ทะเบียน 1. หัวสุนัขจำลองจากเยือ่ ผศ.สพญ.ภาวนา เชือ้ ศิริ 1903000476 27 เม.ย. 61 กระดาษและยางพารา ภาควิชากายวภิ าคศาสตร์ 26 ก.ย. 61 คณะสตั วแพทยศาสตร์ และคณะ 2. องค์ประกอบวคั ซนี นาโนอมี ัล รศ.นสพ.ดร.นพดล พิฬารตั น์ 1801005882 ชนั สำหรับตอ่ ตา้ นเช้อื ฟลาโว ภาควชิ าพยาธวิ ิทยา แบคทีเรยี มคอลมั แนร์ในปลา คณะสตั วแพทยศาสตร์ และคณะ และกรรมวธิ กี ารผลิต

3. เคร่อื งชงั่ นำ้ นมโค สำหรับ อ.น.สพ.ปิยะณฐั ประสมศรี 1901001456 11 มี.ค. 62 11 เม.ย. 62 เครื่องรีดนมชนิดถังรีด ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ 11 เม.ย. 62 คณะสัตวแพทยศาสตร์ และคณะ 17 ก.พ.59 29 มี.ค.62 4. วิธกี ารตรวจจำแนกสายพนั ธุ์ ผศ.น.สพ.ดร.อรรณพ 1901002244 ของเชอื้ ไวรัสพีอาร์อารเ์ อส สุริยสมบูรณ์ 3 สายพนั ธ์ุ ในการทดสอบ ภาควิชาสัตวบาล ครั้งเดียว และชุดทดสอบที่ คณะสตั วแพทยศาสตร์ และคณะ ได้จากวธิ กี ารดงั กล่าว 5. ระบบการตรวจหาสาร ผศ.น.สพ.ดร.อรรณพ 1901002245 พันธกุ รรมดว้ ยชปิ แบบของ สุริยสมบูรณ์ ไหลจุลภาค (microfluidics ภาควชิ าสัตวบาล chip) คณะสตั วแพทยศาสตร์ และคณะ 6. กรรมวธิ ีการตรวจหาเชื้อ ผศ.สพ.ญ.ดร.อญั ญรตั น์ 601000684 69094 ไวรัสไขห้ วัดนกโดยใชล้ ำดบั ต้นธรี วงศ์ เบสของเชือ้ ไวรัสไข้หวัดนก ภาควิชาจลุ ชวี วิทยา คณะสัตว ทีจ่ ำเพาะตอ่ สายพันธุ์ H5, แพทยศาสตร์ H7 และ H9 อนุสทิ ธิบัตร ลำดบั ชอ่ื ผลงาน ผู้ประดษิ ฐ์ และหนว่ ยงาน เลขท่คี ำขอ เลขท่ีรบั จด วนั ที่ยืน่ คำขอ วันทไ่ี ด้รบั จด 26 ม.ค. 61 ทะเบียน ทะเบยี น 26 ม.ค. 61 1. โปรแกรมการกระตนุ้ การตกไข่ ศ.นสพ.ดร.มงคล 180300232 23 มี.ค. 61 หลายใบด้วยฮอโมนเอฟ เอส เตชะกำพุ 11 ก.ย. 61 เอช แบบฉดี นอ้ ยคร้งั ในแกะ คณะสตั แพทยศาสตร์ และคณะ 2. สตู รนำ้ ยาสำหรับแชแ่ ข็งนำ้ เชอื้ ศ.นสพ.ดร.มงคล 180300233 ในแกะ เตชะกำพุ คณะสตั วแพทยศาสตร์ และ คณะ 3. ชุดทดสอบแมกนเี ซียม ผศ.สพญ.ดร.ศิรกานต์ ฐิตวฒั น์ 1803000697 ภาควิชาสรรี วทิ ยา คณะสตั วแพทยศาสตร์ และ คณะ 4. ผลิตภัณฑ์ต้นแบบโปรไบโอติก รศ.นสพ.ดร.ณวุ รี ์ 1803002037 สำหรับสุกร และกรรมวธิ ีการผลิต ประภสั ระกูล ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ และ คณะ

5. กรรมวิธกี ารผลติ นมแพะพาส ศ.นสพ.ดร.มงคล 1903000833 5 เม.ย. 62 5 เม.ย. 62 เจอไรซ์ เตชะกำพุ 5 เม.ย. 62 5 เม.ย. 62 ภาควชิ าสูติศาสตร์ เธนเุ วช 23 มี.ค.61 15 ม.ค.63 11 ส.ค. 60 28 เม.ย. 63 วิทยาและวทิ ยาการสืบพันธ์ 11 ก.พ. 63 23 พ.ย. 63 คณะสตั วแพทยศาสตร์ และ คณะ 6. สูตรนมแพะรสมะพร้าว และ ศ.นสพ.ดร.มงคล 1903000834 กรรมวิธีการผลติ นมแพะพาส เตชะกำพุ เจอร์ไรซ์รสมะพรา้ ว ภาควิชาสูตศิ าสตร์ เธนเุ วช วิทยาและวิทยาการสืบพันธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ และ คณะ 7. สตู รนมแพะรสกล้วย และ ศ.นสพ.ดร.มงคล 1903000835 กรรมวิธกี ารผลิตนมแพะพาส เตชะกำพุ เจอรไ์ รซร์ สกลว้ ย ภาควชิ าสตู ิศาสตร์ เธนุเวช วิทยาและวทิ ยาการสืบพันธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ และ คณะ 8. สูตรนมแพะรสเมลอ่ น และ ศ.นสพ.ดร.มงคล 1903000836 กรรมวิธกี ารผลติ นมแพะพาส เตชะกำพุ เจอรไ์ รซร์ ส ภาควิชาสตู ศิ าสตร์ เธนุเวช เมลอ่ น วิทยาและวิทยาการสืบพันธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ และ คณะ 9. ชุดทดสอบแมกนีเซยี ม ผศ.สพญ.ดร.ศิรกานต์ ฐติ วัฒน์ 1803000697 15834 หนว่ ยชวี เคมี คณะสตั วแพทยศาสตร์ 10. อุปกรณไ์ มโครฟลอู ิดิกส์ชปิ แบบ ผศ.สพ.ญ.ศรยิ า 1703001476 16171 ฟิลเตอรส์ ไปรลั สำหรับตรวจไม อัศวกาญจน์ โครฟิลาเรยี ในเลอื ด หนว่ ยชวี เคมี คณะสัตวแพทยศาสตร์ 11. ปะการังเทยี มถอดประกอบ รศ.สพญ.ดร.นนั ทริกา 2003000260 16948 ช้นิ ส่วน ชันซื่อ ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ คณะสัตว แพทยศาสตร์

8. รางวลั ส่งเสริมบุคลากรท่ีมผี ลงานดา้ นนวตั กรรมของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 8.1. รางวลั Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET 2020 ด้วยคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ได้มีนโยบายการดำเนินงานและสนับสุนให้บุคลากรและนิสิตมีแนวคิด และผลงานทางดา้ นนวัตกรรม เพ่อื เป็นขวญั กำลังใจแก่บุคลากรสายวิชาการ สายปฏิบตั กิ าร และ นิสิตบัณฑิตศึกษา ที่คิดค้นและสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาทิเช่น นวัตกรรม ผลติ ภัณฑ์ นวัตกรรมการบริการ นวัตกรรมกระบวนการ หรืออ่ืน ๆ อันมีผลงานเปน็ ท่ีประจักษ์ มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ และเป็นประโยชน์ต่อวงการสัตวแพทย์และสังคม อีกทั้งสร้างชื่อเสียงให้แก่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงเห็นสมควรให้รางวัลแก่บุคลากรสายวิชาการ สายปฏิบัติการ และนิสิตบัณฑิตศึกษา เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณและยกย่องเชดิ ชเู กียรติของคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เน้น งานด้านนวตั กรรมให้เป็นแบบอย่างอนั ดสี บื ไป คณะกรรมการฯ ได้มกี ารตั้งเกณฑ์การประเมนิ สำหรับการพิจารณาผู้ สมควรได้รับรางวัล Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award คณะสัตวแพทยศาสตร์ ประจำปี พ.ศ.2563 ประกอบดว้ ย 3 รางวัล ไดแ้ ก่ 1. บุคลากรสายวิชาการ - Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET academic staffs เงนิ รางวลั 20,000 บาท 2. บุคลากรสายปฏิบัติการ Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET supporting staffs เงินรางวลั 10,000 บาท 3. น ิ ส ิ ต บ ั ณ ฑ ิ ต ศ ึ ก ษ า - Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET graduate students เงินรางวัล 10,000 บาท โดยพจิ ารณาตามเกณฑด์ ังตอ่ ไปนี้ บุคลากรสายวชิ าการ - มคี วามคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ในการคิดคน้ สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรม - เป็นเจา้ ของผลงานนวตั กรรม มีสทิ ธบิ ตั รหรืออนุสทิ ธิบตั ร - มีผลงานนวตั กรรมและสว่ นร่วมในการสร้างนวตั กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง - ได้เผยแพร่งานนวัตกรรม มีส่วนรว่ มในการนำเสนอผลงานนวตั กรรม - ได้รบั รางวลั การประกวดผลงานนวตั กรรม - ผลงานนวัตกรรมไดถ้ กู นำไปใช้ประโยชน์เชิงประจักษ์

บคุ ลากรสายปฏบิ ัตกิ าร - มีความคดิ ริเร่ิม สรา้ งสรรค์ในการคิดค้นสงิ ประดษิ ฐ์ นวัตกรรม และกระบวนการพัฒนางานใหม่ - เป็นสว่ นรว่ มในผลงานนวตั กรรม มสี ทิ ธิบัตรหรืออนสุ ทิ ธิบตั ร - มกี ารพฒั นางานประจำและสรา้ งสรรค์กระบวนการใหม่ในการทำงานอย่างต่อเนื่อง - ได้เผยแพร่งานนวัตกรรม มีส่วนร่วมในการนำเสนองานวิจัยเชิงนวัตกรรมหรือนำเสนอ กระบวนการพฒั นางานใหม่ - เป็นผมู้ ีส่วนร่วมในรางวลั การประกวดผลงานนวัตกรรม - ผลงานนวัตกรรมหรอื การพัฒนากระบวนการทำงานไดถ้ ูกนำไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ ประจกั ษ์ นสิ ติ บณั ฑติ ศึกษา - มีความคดิ รเิ ร่ิม สร้างสรรคใ์ นการคิดค้นสิง่ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรม - เป็นผูม้ สี ่วนรว่ มในผลงานนวัตกรรม สิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร - มผี ลงานวิจยั ทนี่ ำมาต่อยอดในการสร้างนวัตกรรม - ไดเ้ ผยแพร่งานนวตั กรรม มีส่วนรว่ มในการนำเสนอผลงานนวัตกรรม - ไดร้ บั รางวลั การประกวดผลงานนวัตกรรม - ผลงานนวัตกรรมได้ถูกนำไปใช้ประโยชนเ์ ชิงประจักษ์ Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET (Year 2020) สรุปรายชื่อผทู้ ีไ่ ดร้ บั รางวลั รางวลั สำหรบั สายวชิ าการ ไดแ้ ก่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สพ.ญ.ดร.ศริ กานต์ ฐติ วัฒน์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.สริ ิพงศ์ เกยี รติกติ ติคณุ รางวัล สำหรับสายปฏบิ ัตกิ าร ได้แก่ นางสาวสจุ นิ ต์ ศิริสวสั ดิ์ รางวลั สำหรบั นสิ ติ ระดับบณั ฑติ ศึกษา ได้แก่ นางสาวสิริกร กิติโยดม

Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET academic staffs (20,000 THB) Winners Assistant Professor Dr Sirakarnt Dhitavat Biochemistry Unit, Department of Physiology, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University Associate Professor Sireepong Kiertkrittikhoon Department of Surgery, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University (as a team) Innovation award Silver Medal from International Warsar Invention Show 2020 “Formalin free embalming solutions” Innovation utilization a. Animal soft cadavers in surgical practice for veterinary students b. Animal soft cadavers in Anatomy classes for veterinary students c. Animal soft cadavers in workshop for continuing education of veterinary practitioners d. Research projects of CU VET graduate students Intellectual property a. Formalin free embalming solutions (Petty patent No. 9761) from 9 April 2015 b. Embalming solutions by cosmetic chemicals (Petty patent No. 13610) from 27 February 2018 c. Embalming solutions for soft cadavers in veterinary anatomy studies (Patent Application No. 1903002419) from 20 September 2019 Ongoing innovation project Nano formulation of embalming solutions Grant from The Chulalongkorn Academic Advancement into Its 2nd Century Project

Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET supporting staffs (10,000 THB) Winner Ms. Sujin Sirisawat Biochemistry Unit, Department of Physiology, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University Innovation exhibition “An innovative bath-substituting hydro-nanogel for ill, vaccinated or wounded pet animals” in The 48th International Exhibition of Inventions Geneva (25-29 March 2020) Intellectual property a. Ammonia test kit for fresh water (Petty patent No. 3825) b. Acid-base test kit for fresh water (Petty patent No. 4476) c. Nitrite test kit for fresh water (Petty patent No. 4695) d. Ammonia gas meter (Petty patent No. 4242) e. Ammonia gas meter for average concentration (Petty patent No. 2986) f. Production process for protein and amino acid test kit (Petty patent No. 2986) g. Composition of essential oil-encapsulated nanocarrier hydrogel and the production process (Patent application No. 2003002708) Innovation utilization a. Commercialization of water quality test kits (AQUA-VBC) Ongoing innovation project Innovative nanospray for hand moisturization and deordorization by using nanophytoparticles Grant for Routine to Research and Innovations from the Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University

Boehringer Ingelheim Best Innovation for Society Award for CU VET graduate students (10,000 THB) Winner Dr. Sirikorn Kitiyodom Graduate student, Pathobiology Program, Department of Pathology Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University Innovation award a. The Young Scientist Award in 2020 Project “Immersion nanovaccine against fish pathogens” from The Foundation for the Promotion of Science and Technology under the Patronage of H.M. the King b. The Best Innovation Award for Graduate Student in 2020 Project “Mucoadhesive nanovaccine against columnaris disease in fish” From The National Research Council of Thailand Innovation exhibition “An innovative regulator substance of movement in aquatic animals” in The 48th International Exhibition of Inventions Geneva (25-29 March 2020) Intellectual property e. Innovative immersion nanovaccine against columnaris disease (Patent Application No. 1801005882 and 1801001293) f. Composition of a regulator substance of movement in aquatic animals and preparation thereof (Patent Application No. 00517) g. Formulation and preparation of biological soft robotic for delivery of nanoparticles into intestinal digestive tract (Patent Application No. 00516) Innovation utilization (during the process of licensing and technology transfer) a. Immersion nanovaccine (FLAVOVAC) for prevention of columnaris disease b. Regulator substance (AQUA PEACE) for sedation used in aquaculture Ongoing innovation project Innovative nanovaccine against Streptococcus agalactiae and Aeromonas veronii

ขอ้ เสนอแนะในการพจิ ารณารางวลั ด้านนวัตกรรมในปีต่อไป 1. การพิจารณาผลงานนวัตกรรมให้พิจารณาว่าผลงานที่ส่งเข้ามาอยู่ในคำนิยามของคำว่านวัตกรรม หรือไม่ อย่างไร ในการพิจารณารางวัลในปีต่อ ๆ ไป คณะกรรมการฯ เสนอแนะให้ผู้ส่งผลงานทุกท่าน มาพูดนำเสนอผลงานของตนเองต่อกรรมการพจิ ารณารางวลั (Pitching) 2. ในปีถัดไปสนับสนุนให้มีการพิจารณาผู้ที่มีโครงร่างผลงานด้านนวัตกรรม ซึ่งอาจยังไม่ได้ส่งผลงานเข้า ประกวดหรือได้รับรางวัลใดด้วย เพื่อให้ได้รับรางวัลในระดับคณะก่อน สำหรับส่งไปพิจารณารางวัลใน ระดับมหาวทิ ยาลัย ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ตอ่ ไป 3. ตั้งเกณฑ์ในการให้คะแนนการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ การได้รับรางวัลในระดับต่าง ๆ ได้แก่ ระดับชาติ ระดบั นานาชาติ และระดบั มหาวทิ ยาลัย 4. สามารถพจิ ารณาและใหค้ ะแนนจากโครงรา่ งผลงานด้านนวัตกรรม 5. ในกรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษาและนิสิตบัณฑิตศึกษามีผลงานนวัตกรรมร่วมกัน สามารถส่งขอรับรางวัล พร้อมกันหรือในปีต่อกันได้หรือไม่ เสนอแนะให้พิจารณาโดยต้องเป็นผลงานเดียวกันเป็นชิ้นงานหลัก โดยอาจารย์ควรมีผลงานนวตั กรรมอื่น ๆ ประกอบ ทีแ่ สดงใหเ้ ห็นถงึ การพัฒนางานอยา่ งตอ่ เนื่อง 6. เนื่องจากการยื่นขอสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรนั้นใช้ระยะเวลานาน ดังนั้นหากผู้ส่งผลงานมีเลขในการ ยน่ื ขอสิทธบิ ัตรหรืออนสุ ิทธิบัตร (เลข Pending) สามารถนำเลขน้ันมาใสใ่ นผลงานได้ 7. มีการประกาศคุณสมบัติและผลงานนวตั กรรมในวนั มอบรางวลั หรือส่อื ประชาสัมพนั ธ์ เพอื่ ให้ประชาคม ได้ทราบถึงรายละเอยี ดของรางวัล และจงู ใจในการสร้างผลงานและสง่ เพ่อื พิจารณาในปตี ่อ ๆ ไป

ฝ่ายสตั วแพทยศาสตร์ศึกษาและรบั รองหลักสูตร สรุปภาพรวม ฝา่ ยสัตวแพทยศาสตร์ศึกษาและการรับรองหลักสูตรโดยการนำของ ผศ.น.สพ.ดร.เจนภพ สว่างเมฆ และการ สนับสนนุ โดยฝา่ ยวิชาการ/ คณะทำงานในสว่ นตา่ งๆ ได้ดำเนนิ การเตรยี มความพรอ้ มเพื่อการรับประเมินจาก European Association of Establishments for Veterinary Education (EAEVE) หรอื EAEVE Full Visit โดย ยดึ จากผลการประเมนิ Consultative Visitation เปน็ แนวทางในการ OKRs เพ่อื การปรับปรุงและพัฒนาระบบการ จัดการการเรียนการสอนในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย โดยแบ่งการดำเนนิ งานออกเปน็ 5 working groups และ 2 focused area (Isolation units in Small and Farm Animal Hospitals) ดังต่อไปนี้ 5 Working Groups: 1. E-logbook 2. Skill Lab 3. OSCE 4. MCQ 5. E-Exam 2 Focused Area (Isolation units in Small and Farm Animal Hospitals): A. Small Animal Hospital B. Farm Animal Hospital NOTE for updates from EAEVE: Most up-date-date EAEVE’s documents for reference: 1. SOP 2019 2. ESEVT indicators (updated July 2020) 3. Day One Competency 4. Exceptional Rules for ESEVT Visitations planned in 2021_approved by ExCom and the 33rd EAEVE GA EAEVE GA meeting Points (3 Dec 2020): • Acknowledgement on Associate Membership Status – CU, BKK, Thailand = Associate Member approved by Ex-com during 1 June 2019 – 1 December 2020 • President re-election = Dr. Stéphane Martinot, Director de Cabinet, University of Lyon

• Membership fees 2021 remain the same as 2019 for all membership categories • ENQA’s main recommendation for EAEVE – the CV rebranding to be PV • Result from Permanent SOP WG: Proposal List for Amendment of SOP to be circulated for members’ final consideration in the beginning of 2021, approved in next GA meeting in Turin, and expectedly implemented in 2023 • Amendment of SOP 2019: 1. Temporary amendment due to exceptional situation caused by Covid-19 2. Replacement of Consultative Visitation by Preliminary Visitation Process of visitation to be done in 2021 will be based either solely option Plan in Exceptional Rules) using SOP 2019 + exceptional circumstance approved December 2020 (VEE in consultation with EAEVE) สรุปรายละเอียดกจิ กรรมในชว่ งปี 2561 – 2562 ฝา่ ยสัตวแพทยศาสตร์ศกึ ษาและรับรองหลกั สตู ร ได้มีการจัดและร่วมกจิ กรรมในชว่ งปี 2561 – 2564 ดังต่อไปน้ี 1) International Conference on Veterinary Eligibility and Education International Conference on Veterinary Eligibility and Education jointly convened with 17th Asian Association of Veterinary Schools (AAVS) Meeting สถานท:่ี Ito International Research Center, The University of Tokyo ประเทศ ญ่ีปนุ่ (Japanese Society of Veterinary Science (JSVS)/ AAVS Meeting) วนั ที่: 21 – 22 พ.ย. 2561 รายละเอียดโดยย่อ: อ.น.สพ.ดร. เจนภพ สวา่ งเมฆ ผู้ช่วยคณบดฝี ่ายสตั วแพทยศาสตรศ์ ึกษาและรบั รอง หลักสูตร ไดเ้ ข้าร่วมสมั มนาและบรรยายในหวั ข้อเร่ือง “Veterinary Education in Thailand” ในงานประชมุ สมั มนาคร้งั นี้ ซึง่ ไดร้ บั การสนบั สนุนโดย AAVS

2) Workshop on preparation of farm animal and horse teaching for international accreditation สัมมนาเชิงปฏบิ ัติการ “การเตรยี มการสอนด้านสตั ว์บริโภคและม้า เพ่ือรับรองสถาบนั ตามมาตรฐานระดับ นานาชาติ” วันท:ี่ 13 ธ.ค. 2561 ผเู้ ขา้ ร่วม: คณาจารย์และบคุ ลากรทเี่ ก่ยี วข้องกบั การ เรียนการสอนด้านสตั วบ์ ริโภคและมา้ คณะสัตว แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย รายละเอยี ดโดยย่อ: การสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการในครั้งนี้ ได้รบั เกียรตจิ าก Professor Dr. Hisao Kurazono (Dean of VetNorth Japan and Dean of Obihiro University of Agriculture and Veterinary Medicine) มาเปน็ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒแิ ละประสบการณ์ในเรื่องการ รบั รองมาตรฐานทางการศึกษาตามมาตรฐาน EAEVE / ESEVT มาให้ขอ้ มูลต่าง ๆ และคำแนะนำเกย่ี วกับการ เตรยี มการสอนเพ่ือรบั รองสถาบันตามมาตรฐานระดับ นานาชาติ แก่คณาจารยแ์ ละบุคลากรทีเ่ ก่ียวข้องกับการ เรียนการสอนดา้ นสัตว์บริโภคและมา้

3) FVS – SAR – Obhiro MOU Signing วันท:่ี 6 – 8 ก.พ. 2562 รายละเอียดโดยย่อ: เป็นการลงนามบนั ทึกความเข้าใจ (MOU) ความร่วมมือเชงิ วชิ าการ ระหวา่ งองค์กร ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. Obihiro University of Agriculture and Veterinary Medicine, Obihiro, Hokkaido, Japan 2. Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand 3. School of Agricultural Resources, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

4) First Consultative Visit: Internal Audit วนั ท:่ี 18 – 22 ก.พ. 2562 ผเู้ ข้ารว่ ม: คณาจารย์และบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั รายละเอียดโดยย่อ: First Consultative Visit: Internal Audit เป็นการประเมินภายในคณะฯ (Internal Audit) และเตรียมความพร้อมก่อนการรับ การตรวจประเมินรอบแรก (consultative visitation) โดยได้เชิญ Associate Prof Dr. Goran Dalin (Basic sciences expert with the EAEVE/ Senior advisor to the Vice- Chancellor and to the Dean, Faculty of Veterinary Medicine and Animal Science, Swedish University of agricultural Sciences, Uppsala) เ ข ้ า ม า ชว่ ยในกระบวนการการทำประเมิน รวมทั้งให้ ข้อมูลและคำแนะนำเกี่ยวกับการเตรียมการ เพื่อรับรองสถาบันตามมาตรฐาน EAEVE แก่ คณะทำงานฯ คณาจารย์และบุคลากรท่ี เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและ สามารถเตรียมความพร้อมก่อนการรับการ ตรวจประเมินรอบแรก





5) Outcome-based education (OBE) lecture วนั ท่:ี 24 เม.ย. 2562 รายละเอยี ดโดยย่อ: จัดการบรรยายเรื่อง outcome-based education (OBE) ใหแ้ ก่ นิสิต โดยไดร้ ับความอนเุ คราะห์จากวทิ ยากร รศ.สพ.ญ.ดร.อรสริ ิ ชื่นทรวง

6) Biosafety concept lecture to SAH team วันที่: 10 พ.ค. 2562 รายละเอยี ดโดยย่อ: จดั การบรรยายหลกั การ biosafety แก่คณะกรรมการบริหาร โรงพยาบาลสตั วเ์ ลก็ โดยไดร้ ับความ อนเุ คราะหจ์ ากวิทยากร คุณวา นิยมธรรม

7) 32nd General Assembly of EAEVE The 32nd General Assembly of the European Association of Establishments for Veterinary Medicine (EAEVE), Zagreb, Croatia วันท่ี: 28 – 31 พ.ค. 2562 รายละเอยี ดโดยย่อ: รศ.น.สพ.ดร. สนธยา เตียวศิริทรัพย์ ผ้ชู ว่ ยคณบดีฝ่ายวชิ าการ และอ.น.สพ.ดร. เจนภพ สว่างเมฆ ผ้ชู ว่ ยคณบดฝี ่ายสัตวแพทยศาสตร์ศึกษาและรบั รองหลักสูตร ไดร้ ับเชิญไปรว่ ม ประชุมใหญส่ ามัญและสมั มนาร่วมกับนกั วิชาการด้านการศึกษาสตั วแพทยศาสตร์จากกลุ่มประเทศ ยโุ รปและประเทศต่างๆ มากกวา่ 40 ประเทศทว่ั โลก 8) ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพอื่ เตรียมการการตรวจประเมินรอบแรก ประกอบด้วยการประชมุ หลกั และสัมมนาย่อยทัง้ หมด 4 คร้ัง ดงั ต่อไปน้ี

8.1) Small Animal Hospital (SAH) EAEVE Seminar วนั ท่ี: 26 ต.ค. 2561 รายละเอียดโดยย่อ: ประชุมวางแผนกับทีมโรงพยาบาลสัตว์เล็ก โดยมีการวางแผน Working group, Timeline, การใช้ Obihiro University และ Hokkaido University เป็นแบบอย่างในการพัฒนาการรับรองมาตรฐานสถาบัน ระดับนานาชาต,ิ การให้ขอ้ แนะนำเกย่ี วกบั การพัฒนาโรงพยาบาลสัตว์เล็กและสตั วใ์ หญ่ การวางแผนเรื่อง logbook 8.2) Farm Animal Hospital (FAH) and Teaching EAEVE Seminar วันที่: 12 – 13 ธ.ค. 2561 รายละเอียดโดยย่อ: ประชุมวางแผนกับทีมโรงพยาบาลสัตว์ใหญ่ โดยมีการวางแผน Working group, Timeline, การนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการรับรองมาตรฐานสถาบันระดับนานาชาติ, การให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนา โรงพยาบาลสัตวเ์ ล็กและสัตวใ์ หญ่ การวางแผนเร่ือง logbook 8.3) Rehearsal Workshop วนั ที่: 22 – 23 พ.ค. 2562

ผู้เข้าร่วม: คณาจารยแ์ ละบุคลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง คณะสัตวแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รายละเอียดโดยย่อ: การประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังนี้จัดข้ึนเพื่อเตรียมการและซักซอ้ มการรบั การตรวจประเมินรอบ แรก (consultative visitation) 8.4) EAEVE Small Animal Hospital (SAH) Re-practice and Final Check วันท่ี: 4 - 6 มิ.ย. 2562 และ 17 ม.ิ ย. 2562 รายละเอียดโดยย่อ: ประชุมซักซ้อมการนำเสนอ การปฏิบัติการและการเตรียมความพร้อมด้านสถานที่ของ โรงพยาบาลพยาบาลสัตวเ์ ลก็ 9) Official Consultative Visitation (CV) วนั ท่ี: 24 – 28 มิ.ย. 2562 ผู้เขา้ ร่วม: คณาจารยแ์ ละบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง คณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

รายละเอียดโดยย่อ: Official Consultative Visitation (CV) เปน็ การประเมนิ รอบ แรกอยา่ งเปน็ ทางการภายใต้กระบวนการการรับรองสถาบัน ตามมาตรฐาน EAEVE ซงึ่ มีผู้เช่ยี วชาญ (EAEVE/ ESEVT expert) มาทำการประเมิน 3 ท่าน คอื Prof Dr. Ana Bravo Del Moral (Consultative Visitation Chairperson and EAEVE Expert on Basic Sciences), Prof Dr. Arcangelo Gentile (ESEVT Expert on Clinical Sciences –Food- Producing Animal) และ Prof. Dr. Pierre Lekeux (Director of the European System of Evaluation of Veterinary Training ESEVT Coordinator) ซงึ่ การตรวจประเมินประสบความสำเรจ็ เป็นอย่างดี ไดร้ บั คำชมและ คำแนะนำซึง่ เป็นประโยชนต์ อ่ การดำเนินการเพ่ือการตรวจประเมนิ ใหญ่ (Full Visitation) ตอ่ ไป ทั้งนีค้ ณะได้รับ Official Consultative Visitation Report จาก EAEVE และไดด้ ำเนนิ การสมคั รเพื่อเขา้ รว่ มเป็น Associate Member of an EAEVE ซง่ึ เป็นกระบวนการสำคญั ในการรบั รองสถาบันตามมาตรฐานยุโรป (จากการประชุมคณะ ผบู้ ริหารของ EAEVE นน้ั ทางคณะฯ ไดร้ บั แจง้ วา่ คณะสัตวแพทยศาสตรจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ไดร้ บั การอนุมัติ เข้าเปน็ Associate Member of an EAEVE ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2563





10) การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเพ่ือเตรียมความพรอ้ มในการรับรองสถาบนั ตามมาตรฐานยุโรป EAEVE/ ESEVT (Full Visitation, FV) ประกอบดว้ ย 2 การประชมุ หลกั ไดแ้ ก่ 10.1) FV EAEVE Workshop Talk (focused group) วันที่: 9 ก.ค. 2562 รายละเอียดโดยย่อ: ประชุมร่วมกับ focused group เพ่ือการนำเสนอผลจากการตรวจประเมินรอบแรก และการ เตรยี มความพร้อมสำหรับการตรวจประเมนิ รอบสอง โดยหัวขอ้ หลักประกอบด้วย FV timeline, Strategic Plans (Teaching Units and SER Units), การมสี ่วนร่วมของ Liaison และ Central SER team และแผนการประชมุ ปฎิบัติการใหญ่ 10.2) การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเพอื่ เตรยี มความพร้อมในการรบั รองสถาบันตามมาตรฐานยโุ รป EAEVE/ ESEVT (ประชุมใหญร่ วมทั้งคณะ)

วันท:่ี 1 ส.ค. 2562 ผเู้ ข้ารว่ ม: คณาจารย์และบุคลากรทีเ่ กี่ยวข้อง คณะสตั ว แพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย รายละเอยี ดโดยย่อ: เปน็ การนำเสนอ สรปุ ผลการประเมนิ รอบแรกและแนว ทางการตรวจประเมนิ รอบสอง (Full Visitation), Action Plan และ Motoring Plan



สรปุ รายละเอียดกิจกรรมในช่วงปี 2563 – 2564 สรปุ การดำเนินงานโดยย่อ 1) E-logbook E-logbook Working group นำโดย อ.สพ.ญ.ดร. ศริ นิ ันท์ พิสมยั (ประธาน Working Group) ผศ.น.สพ. ดร. นัทธี อำ่ อนิ ทร์ และอ.สพ.ญ.ดร. ชตุ ิมน ธนบรู ณน์ พิ ัทธ์ (โดย ศ.สพ.ญ.ดร.เกวลี ฉัตรดรงค์ เป็นทีป่ รกึ ษาหลัก) ได้ ดำเนินการสร้างและพัฒนาระบบ E-logbook โดยความรว่ มมอื กับคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (โดยมี รศ.ดร.อตวิ งศ์ สุชาโต เปน็ ทปี่ รกึ ษาหลัก) และ บริษัท โกลบิชอคาเดเมีย (ไทยแลนด)์ จำกดั (นำโดย ประธาน เจ้าหน้าทบ่ี ริหารฝา่ ยเทคโนโลยแี ละผูร้ ว่ มกอ่ ต้ัง) ไดน้ ำระบบ SmartSchool ซึง่ เป็นหนง่ึ ในระบบนเิ วศน์มายคอร์ สวลิ ล์ (myCourseVille Ecosystem) มาเปน็ ต้นแบบประยกุ ตใ์ ช้สำหรับ E-logbook ของคณะสตั วแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และใช้ช่ือวา่ CUVET SmartSchool ซง่ึ มกี ารลงนามบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือการ จดั การเรยี นร้ดู ว้ ยเทคโนโลยีในระบบนิเวศน์มายคอร์สวิลล์ ระหว่างท้งั 3 หนว่ ยงาน (ผ้ลู งนาม: คณบดีคณะสตั ว แพทยศาสตร์ คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และประธานเจา้ หน้าท่ีบริหารฝา่ ยเทคโนโลยี และผู้รว่ มก่อต้ังบริษัท โกลบิชอคาเดเมีย (ไทยแลนด)์ จำกัด) เม่ือวนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2563 ณ คณะสตั ว แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในปัจจุบัน ได้ดำเนินการทดลองปรับใช้ระบบ E-logbook หรือ CUVET SmartSchool กับการบันทึกการ ฝึกปฏิบัติการทางคลินิกของนิสิตชั้นปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 เทอมต้น และมีแผนเริ่มใช้ในการบันทึกการฝึก ปฏิบัติการทางคลินิกของนิสิตชั้นปีที่ 5 ในปีการศึกษา 2563 เทอมปลาย โดยมีแผนการประชุมกับอาจารย์ผู้ ประสานงานรายวิชาเรื่องการใช้ระบบและการ map ทักษะของแต่ละรายวิชาตาม EAEVE Day One Competency เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันตั้งแต่แรก และเริ่มมีการ involve ฝ่ายวิชาการในเข้ามาสร้างข้อมูล รายวชิ าและการนำเข้ารายชือ่ นสิ ติ ในระบบมากขึ้น ความคบื หนา้ ณ ปัจจบุ นั ไดม้ ีการจัดทำ CUVET Day One Competency List และ Curricular Mapping นำโดยอาจารยศ์ ริ ิรัตน์ นันทวสิ ยั และ สพ.ญ. จุฑามาศ จตั ุชัย ภายใต้คำชีแ้ นะจากฝา่ ยวชิ าการ โดยการใช้ EAEVE Day One Competency เปน็ หลกั และเพ่ิมเติมส่วนของ Day One Competency List ของสัตวแพทยสภาแหง่ ประเทศไทยและ OIE ท้ังน้ี ได้มกี ารนำส่งเอกสารท่ีจัดทำแล้วดังกล่าวให้แก่ทาง E-logbook Working Group ในการ ดำเนนิ การออกแบบ CUVET SmartSchool ให้สอดคล้องกับ competency list ดงั กลา่ ว ขอ้ มูลอา้ งองิ 1. CUVET SmartSchool’s URL: https://cuvet.onsmart.school/ 2. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการจดั การเรยี นรูด้ ้วยเทคโนโลยีในระบบนิเวศนม์ ายคอรส์ วลิ ล์ 3. E-logbook meetings and Workshops 4. คณะกรรมการ E-logbook 5. CUVET Day One Competency List 6. Curricular Mapping

2) Skill Lab Skill Lab โดยการนำของ อ.น.สพ.ดร.ธีรวฒั น์ สว่างจนั ทร์อุทัย รองประธาน WG ได้จัดการประชมุ ตัวแทน ภาควิชา ทั้งหมด 3 ครั้ง โดยได้ข้อสรุปเป็น Items List จากทุกภาควิชา และแผนการจัดซื้อสำหรับห้อง Skill Lab สำหรับปงี บประมาณ 2564 และปงี บประมาณปี 2565 ในปัจจุบัน ห้อง Skill Lab ตั้งอยู่ ห้อง 837 อาคาร 60 ปีฯ โดยได้รับการปรับปรุงให้มีความพร้อมข้ัน พื้นฐาน เช่น การติดตั้ง wifi router/ CCTVs และล็อคอัตโนมัติ โดย สพศ. ได้มีแผนการเตรียมความพร้อมสำหรับ หอ้ ง Skill Lab อยา่ งต่อเนอ่ื ง ดงั น้ี 1. OKRs การเตรียมความพร้อมและบริหารจัดการห้อง Skill Lab (การเคลื่อนย้ายอุปกรณ์, Skill Lab’s website, ระบบการจอง ฯลฯ) ซึ่งคาดว่าน่าจะมีความพร้อมในการเปิดใช้งานในเดือนมิถุนายน ปี 2564 (โดยผูด้ แู ลหลัก คือ มกุ และคณุ บอม) Website URL: www.vetskilllab.vet.chula.ac.th Email Address: [email protected]

2. การจัดซอื้ ปีงบประมาณ 2564 และจัดงบประมาณสำหรับปี 2565 ภาพห้อง Skill Lab ภาพประกอบการเตรียมพร้อมห้อง Skill Lab ขอ้ มูลอ้างอิง : 1. RVC’s Skill Lab Reference 2. รายช่อื ตัวแทนภาควชิ า

3) OSCE OSCE โดยการนำของ อ.สพ.ญ.ดร. กฤชพร กระดังงา รองประธาน WG มีแผนการดำเนินงานและช่วง ระยะเวลาโดยสรปุ (จากการประชมุ WG รวม) ดังน้ี 1. วางรปู แบบการสอบ OSCE (ก.ค. - ก.ย. 2563) : • กำหนดตวั แทน OSCE group (คณะกรรมการ OSCE และคณะกรรมการพจิ ารณาข้อสอบ) • กำหนด OSCE Content • ออกแบบวงสอบ • เลอื กสถานที่ • Guideline สำหรับการสอบและการคุมสอบ • ประมวล OSCE items หรอื ข้อสอบ (จัดอบรม OSCE items) • ประชาสัมพนั ธใ์ ห้นิสิตทราบ 2. ดำเนนิ การทำ Pilot Run OSCE เทอมปลาย 2563 (นสิ ิตชัน้ ปี 5) (ก.ย. 2563 - พ.ค. 2564): • ฝึกหัตถการให้กับนสิ ิต • เตรียมสถานท่ีและอุปกรณ์ • Orientation สำหรบั อาจารย์: การคุมสอบและการตรวจขอ้ สอบ • Orientation สำหรบั นิสิต: คมุ สอบและประเมนิ ผล 4) E-Exam and MCQ ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ทำให้คณะฯ และมหาวิทยาลัยได้มีการใช้ online platform ทั้งในการสอน และการสอบซึ่งสามารถผ่านไปได้ด้วยดี ดังนั้น ถ้าหากไม่มี Exam-based application ที่เฉพาะเจาะจงหรือแบบที่ อนุญาตให้ใช้ฟรีในการสอบ (ตามการประชุม Focus group ร่วมกับนิสิตชั้นปี 1-4 และ 5-6 ในเดือนพฤษภาคมท่ี ผ่านมา) ทางคณะฯ มีแนวโน้มที่จะใช้ Blackboard เป็น platform ต่อไปทั้งในสถานการณ์ COVID-19 และ สถานการณ์ปกติ สง่ ผลให้อาจจะไมม่ แี ผนการซ้ือ ExamSoft ท้งั นี้ คาดว่าการสอบในคณะฯในอนาคต จะมลี ักษณะ เป็นแบบ papaerless และมุ่งเน้นการให้อาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องใช้ Blackboard เพื่อเป็น platform ใน การเรยี นการสอนและการสอบ online มากขนึ้ การดำเนินการของ E-Exam และ MCQ WGs ในปี 2563 คือ การร่วมมือกันในเรื่องการวางแผนการใช้ Blackboard เพื่อพัฒนาเป็น online exam platform ที่สามารถออกข้อสอบและวิเคราะห์ข้อสอบได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยทำงานร่วมกับฝ่ายวิชาฯ ในการจัดอบรมการใช้ Blackboard ให้แก่คณาจารย์และบุคลากร ผู้เก่ยี วข้อง คือ 1. การอบรมเรื่องการใช้ Blackboard เบื้องต้น โดย ผศ.น.สพ.ก้องเกียรติ ศรีสุวัฒนาสกุล (พุธ 29 ก.ค. 2563 เวลา 10.00-12.00 น.) 2. การใช้ Blackboard เพื่อการออกข้อสอบและการวิเคราะห์ข้อสอบ โดยมีวิทยาการหลักคือ อ.น.สพ.ดร. วชิรา หุ่นประสิทธิ์, อ.สพ.ญ.ดร. อารยา รัตนกถิกานนท์ และ อ. น.สพ. ดร. เกษม รัตนภิญโญพิทักษ์ (พฤหัสบดี 30 ก.ค. 2563 เวลา 10.00-12.00 น.)