Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Educational Management 2563

Educational Management 2563

Published by Education Management, 2022-05-10 11:08:42

Description: หนังสือที่ระลึก ดุษฎีบัณฑิต เเละมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื่องในโอกาสรับพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2563

Keywords: Educational Management,Chulalongkorn University,CUMGT2563

Search

Read the Text Version

EDUCATIONAL MANAGEMENT CHULALONGKORN UNIVERSITY สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้น�ำทางการศกึ ษา 99 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

ภาพกิจกรรมดษุ ฎีบณั ฑติ เเละมหาบณั ฑิต 100 หนงั สือที่ระลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

EDUCATIONAL MANAGEMENT CHULALONGKORN UNIVERSITY สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผูน้ �ำทางการศกึ ษา 101 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจดั การและความเป็นผนู้ ำ�ทางการศึกษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั EDUCATIONAL MANAGEMENT CHULALONGKORN UNIVERSITY 102 หนังสือท่รี ะลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ดษุ ฎีบณั ฑิต และมหาบณั ฑิต คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเปน็ ผู้น�ำทางการศึกษา 103 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

104 หนงั สือทร่ี ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ทำ�เนียบนิสิตเกา่ ดเี ดน่ คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ� ปี ๒๕๒๑ ประจ�ำปี ๒๕๓๓ ประจ�ำปี ๒๕๓๙ ประจ�ำปี ๒๕๔๓ สมคั ร หนูไพโรจน์ (เรอื เอก) เชาว ์ มณีวงษ์ (รศ.) (ดา้ นบริหาร) ประภาพรรณ เส็งวงศ์ วิลาวณั ย ์ ตันวัฒนะพงษ์ (ดร.) ทัศนีย ์ ศภุ เมธี (รศ.) (ด้านวิชาการ) วรี พงษ์ แสนโภชน์ บญุ ชว่ ย ศิรเิ กษ (รศ.) ประจำ� ปี ๒๕๒๒ จรัล ทองปยิ ภมู ิ (บาทหลวง) สวุ ิทย ์ พ่วงลาภ วริ ชั บุญนำ� ประจ�ำปี ๒๕๓๔ ประสิทธ ิ์ เชิดชู วันชัย อมรพนั ธุ์ ประเสรฐิ เกสรมาลา (พล.ต.ต.) เอกจติ รา ชูสกลุ ชาติ พชั นี โปรยี านนท์ ประจำ� ปี ๒๕๒๓ (ดา้ นบรหิ ารและวิชาการ) สมพร เทศะบำ� รุง มานะ กิจเตง่ (บาทหลวง) วินัย เชือ้ สกุล จรญู เอกอนิ ทร์ (ด้านบรหิ าร) อรทัย หนองขนุ สาร ปราโมทย์ เบญจกาญจน์ (ผศ.ดร.) สรุ ัตน์ เจยี ตระกลู (ด้านพัฒนา) กมล บญุ ประเสรฐิ ประจ�ำปี ๒๕๒๔ โรส วภิ า เลค (ซิสเตอร)์ (ด้านบริหาร) ประจำ� ปี ๒๕๔๐ นงพรรณ ดอนขาว ปญั ญา นำ้� เพชร เฉลิม รัชชนะกลู ประจำ� ปี ๒๕๓๕ ธานี สมบูรณ์บูรณะ ประจ�ำปี ๒๕๔๔ ประจำ� ปี ๒๕๒๕ สเุ ทพ ภิรมย์ราช (ด้านบริหาร) นคร ต้ังคะพภิ พ พฤทธิ์ ศิรบิ รรณพิทักษ์ (รศ.ดร.) เดชา ทองสวุ รรณ มีศักด์ิ ว่องประชานุกูล (ภราดา) (ด้าน บุญเรอื น หมัน้ ทรพั ย์ (ซสิ เตอร์) สโุ ข วุฑฒโิ ชติ วิชาการ) บรรจง ศศธิ างกูล วทิ ธยา บรบิ รู ณท์ รพั ย์ ประจ�ำปี ๒๕๒๖ มณเฑยี ร ศรภี ูธร (ดา้ นพัฒนา) ประกอบ พรหมบตุ ร เชดิ ศกั ด์ิ ศุภโสภณ อดิศร ใสสุก อดุ ม วัชรสกณุ ี (ด้านบริหาร) ประเสรฐิ แก้วเพช็ ร สวุ ิทย ์ วิสทุ ธสิ นิ (ด้านบริหาร) มิตรศกั ด์ ิ เตมิ ธนะศักดิ์ ประจ�ำปี ๒๕๔๕ ประจ�ำปี ๒๕๒๗ อดุ ม สุขสุวรรณ ปญั ญา วงศก์ ุหมดั ไพฑรู ย์ เจรญิ พันธุวงศ์ (ดา้ นบรหิ าร) ประจำ� ปี ๒๕๓๖ ลัดดา พรอ้ มมูล วิไลพร วรจติ ตานนท์ (ดา้ นวิชาการ) นิคม สวสั ดี (ด้านบริหาร) ประจ�ำปี ๒๕๔๑ จิตราภรณ ์ ใยศิลป์ วนั มูหะมดั นอร์ มะทา (ด้านบรหิ าร) กติ ติโชค ห้อยยี่ภู่ อุษา สมบรู ณ์ ประจ�ำปี ๒๕๒๘ ภิญญพร วัฒนเจริญ ทศั น ี วงศ์ยืน (ดร.) สุวทิ ย ์ มูลคำ� (ดร.) วา่ งเว้น ไม่ปรากฏศิษยเ์ ก่าดีเดน่ นวิ ัตร นาคะเวช วชั รา เลา่ เรยี น ประจ�ำปี ๒๕๓๗ ประสงค ์ มากนวล พมิ พพ์ กิ า เพญ็ กิตติ (พล.ต.หญิง) ประจ�ำปี ๒๕๒๙ ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์ (รศ.ดร.) พทิ ยา มุสิก จำ� นงค ์ แจ่มจันทรวงษ​์ ประดษิ ฐ ์ สังขะวชิ ัย (ด้านบริหาร) สันต ์ ธรรมบ�ำรงุ (รศ.) พิสฐิ คงเมือง วศิ นี ศลิ ตระกูล (ด้านวชิ าการ) โกวทิ สรุ สั วดี วรรณวิไล พันธุ์สีดา ประจ�ำปี ๒๕๔๖ ศิลปะสิทธิ์ ทับทิมธงไชย ศิริ สงุ คาสทิ ธ์ิ ธวัชชยั แกว้ พิกุล ประจ�ำปี ๒๕๓๐ กลา้ หาญ สดุ แสน สทุ ธิศักด์ิ เฟือ่ งเกษม เชิดชยั พลานิวัติ วรศกั ด ิ์ แกน่ มผี ล (ด้านบรหิ าร) พสิ ษิ ฐ์ ศวิ ลัย ศิรวิ รรณ ์ ฉายะเกษตรนิ กนก จันทรข์ จร (ด้านวิชาการ) ไพรชั อรรถกามานนท์ ประจ�ำปี ๒๕๔๒ ธงชาติ วงษส์ วรรค์ บรรจบ ค�ำ่ คณู ชวล ี พึ่งแสงสี นโิ คลาส ศกั ดช์ิ ยั ทรพั ยอ์ ปั ระไมย (บาทหลวง) ประจำ� ปี ๒๕๓๑ สุวรรณ กู้สจุ ริตกลุ เฉลิมชยั รัตนประยรู (ดร.) สิร์ราน ี วสุภทั ร ว่างเว้น ไมป่ รากฏศษิ ยเ์ กา่ ดเี ด่น เซเฟรีโน เลเด็สมา (บาทหลวง) นิคม อนิ ทรโสภา ประจ�ำปี ๒๕๓๘ รตั นา เชาวป์ รีชา ประจำ� ปี ๒๕๔๗ ประจ�ำปี ๒๕๓๒ เฉลย พนู สวน ลำ� ดวน เรือนรน่ื จกั รพรรด ิ วะทา (ดร.) ทองคูณ หงสพ์ ันธ์ุ (รศ.ดร.) (ดา้ นบรหิ าร) ถวลั ย์ ทองมี สมชาย แป้นหนู สายณั ห ์ รงุ่ ปา่ สัก สุรชาติ สนิ ทรัพย์ ปรชี า จิตรสงิ ห์ บาทหลวง ดร.วิทยา ควู่ ริ ัตน์ เพม่ิ ยศ บุญปาน มานติ บุญประเสรฐิ (ดร.) 105 สุญากรรณ ศิวบวร (ซสิ เตอร์) อเนก เอี่ยมตาล สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผู้น�ำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

ทำ�เนยี บนิสติ เกา่ ดีเด่น คณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าบริหารการศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจำ� ปี ๒๕๔๘ ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ประจำ� ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๙-๒๕๖๐ นพพร สุวรรณรุจิ กมล รอดคลา้ ย (ดร.) กล้าศักด์ ิ จิตตส์ งวน (ดร.) ไม่มีการคัดเลือก มยุรัตน์ สตั ตวฒั นานนท์ เจริญวทิ ย์ สมพงษ์ธรรม (ผศ.ดร.) ณัฐกิจ บัวชุม ร่งุ เรอื ง สุขาภิรมย์ (ดร.) ชำ� นาญ เหล่ารักผล (ดร.) มะลิ คงสกลุ ประจำ� ปี ๒๕๖๑ ชชู าต ิ กาญจนธนชยั ยุพนิ วรพุทธนนท์ สถาพร กรีธาธร (ดร.) ประจำ� ปี ๒๕๔๙ ปรเมษฐ์ โมลี (ดร.) รัชชยั ย์ ศรสวุ รรณ (ดร.) สมชัย สินแท้ (ดร.) เกษม บญุ รมย์ ไพบลู ย์ เกตแุ ก้ว (ดร.) วันทนา ปทมุ เทศวพิ ฒั น์ นิตยา เทพอรณุ รตั น์ (ดร.) ชศู ร ี อดุ มกุศลศรี ไมตร ี ศรีสกลุ ไทย วฒุ ศิ กั ด ิ์ พชิ ญกานต์ อภเิ ชษฐ์ ฉิมพลสี วรรค์ (ดร.) ธวชั หมนื่ ศรีชยั ศภุ ลักษณ ์ เศษธะพานชิ (ดร.) ศักดา สกนธวฒั น์ (ภราดา ดร.) สอาดจิต เพ็ชรมีศรี (ดร.) ประกาศิต ยังคง สุทศั น ์ ดรุ งคเ์ รอื ง สมศักด์ิ ชอบทำ� ดี ศวง วจิ ิตรวงศ์ (บาทหลวง) ไพรตั น ์ กรบงกชมาศ สุภทั รา เออื้ วงศ์ (พล.ร.ต.หญิง ดร.) สำ� เร็จวิชญ์ เพชรลงั คณุ มณฑล โรจนสุทัศน์กลุ (บาทหลวง) ลดั ดา ตัง้ สภุ าชยั สุภาณี โลหิตานนท์ สุทธนา ฮ่นั เกยี รตพิ งษ์ (ดร.) รืน่ หมน่ื โกตะ (ดร.) สิรชิ าญชยั ฟกั จ�ำรูญ (ดร.) สมุ นรตั น ์ อศั ตรกุล สุวรรณ วงั โสภณ (ดร.) สมเกียรติ ชดิ ไธสง (ดร.) เสน่ห ์ ขาวโต ประจ�ำปี ๒๕๕๔ ประจ�ำปี ๒๕๕๗ ประจำ� ปี ๒๕๖๒ ประจำ� ปี ๒๕๕๐ กาญจนา โพธิวิชยานนท์ (ดร.) ประยูร ครองยศ (ดร.) เศกสรร สกนธวฒั น์ (ดร.) ประเภท นักบริหารดีเด่น จักษ์ จิตตธรรม (พ.ต.อ.ดร.) วสิ ิทธ์ิ ใจเถงิ (ดร.) สุพรรัตน์ สตั ตธนชัยภัทร (ดร.) ด�ำรง สมิ าภิรกั ษ์ ตรสี คุ นธ์ จติ ตส์ งวน (ผอ.) พรทพิ ย์ มาศรนี วล เฉลมิ วฒุ ิ เเท่นสุวรรณ์ (ดร.) วศิ รุต สนธิชยั ประสทิ ธ์ ิ เขียวศรี (ดร.) ณรงค ์ คงสมปราญช์ มนัส บุญชม (ดร.) ประเภทนกั วิชาการดีเด่น มณฑล ประทุมราช (ภราดา ดร.) วีรยทุ ธ บญุ พราหมณ์ (ภราดา ดร.) ชลทั ทิพยล์ มยั อนุสรณ ์ ฟูเจรญิ วรรณด ี นาคสขุ ปาน (ผอ.) พรศรี ฉมิ แกว้ (ดร.) โรจนะ กฤษเจริญ ศิริพนั ธ์ ุ สพุ รรณณพ (ผอ.) อดศิ ักด ์ิ วิไลลกั ษณ์ ประเภทนักพฒั นาดเี ด่น สาทร สมบญุ (ดร.) ราตร ี ศรีไพวรรณ (ดร.) สะอาด ทั่นเสง้ สุรพงษ ์ พนั ธะโก (ดร.) ทนง โชตสิ รยุทธ์ สพุ ล เพชรานนท์ พิเชฐ โพธิ์ภกั ดี (ดร.) ประจ�ำปี ๒๕๕๕ ณัฏฐนนั ท์ ป้ันลายนาค (ดร.) ประจ�ำปี ๒๕๕๑ สุมน สตุ ะวริ ยิ ะวัฒน์ อดุ มพนั ธ์ ุ พชิ ญป์ ระเสรฐิ (ผศ.ดร.) พนัส พัฒนรฐั วไิ ล วทิ ยารารถไพศาล พวงแก้ว สกลุ ทอง (ซิสเตอร)์ จินตนา จันทรเ์ จรญิ (ดร.) ประจำ� ปี ๒๕๕๘ กจิ จา ชูประเสริฐ ส�ำเรจ็ แก้วกระจ่าง วีรพงษ์ คล้อยดี บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์ สุภชาต ิ ถนอมจิตร ถวลิ ศรีใจงาม (ดร.) ชอ่ ชบา มงั ตรีสรรค์ วิชยั แสงศรี (ดร.) จตภุ ูม ิ แจม่ หม้อ จ�ำนง ตันตริ ัตนโอภาส กมลวรรณ เภกะนนั ทน์ (ดร.) ประจ�ำปี ๒๕๕๒ ธีระพนั ธ์ุ ธรี านันท์ วณิชชา ภทั รประสิทธ์ิ (ดร.) ไกร เกษทนั วชิ ยั พวงภาคศี ิริ สำ� เนา แสงแกว้ พศิ ณ ุ ศรพี ล บัญชา ชลาภิรมย์ (รศ.ดร.) อญั ชลี ประกายเกียรติ (ดร.) พรี ะ ชยั ศริ ิ สริ ินันท์ ศรีวีระสกุล (ดร.) ภกั ด ี คงดำ� ธรี ะเดช มรี งุ่ เรือง วราภรณ ์ พฤกษ์ปญั ญากลุ ขวัญชัย พานชิ การ (ดร.) อนนั ต์ ทรพั ยว์ ารี ยุพวรรณ นังคลาภิวัฒน์ (ดร.) 106 หนงั สือท่รี ะลกึ ในโอกาสส�ำเร็จการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

ทำ�เนยี บประธานกิจกรรมนิสติ สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา เเละประธานดุษฎีบัณฑิต-มหาบัณฑติ คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย รนุ่ ที่ ปีทส่ี �ำเร็จ ประธานกิจกรรมนิสติ ประธานดุษฎีบณั ฑติ รุ่นท่ี ปที ่ีสำ� เร็จ ประธานกจิ กรรมนิสิต ประธานดษุ ฎีบณั ฑิต การศกึ ษา และมหาบัณฑติ การศกึ ษา และมหาบัณฑติ ๑๕ ๒๕๒๑ นายไพฑูรย์ เจริญพนั ธวุ งศ์ นายไพฑรู ย์ เจริญพันธวุ งศ ์ ๔๕ ๒๕๕๑ นางณรกิ า ถิรพสษิ ฐ ์ นายธรี ภัทร กโุ ลภาส ๑๖ ๒๕๒๒ ๑๗ ๒๕๒๓ พ.ต.อ.ประเสรฐิ เกสรมาลา พ.ต.อ.ประเสรฐิ เกสรมาลา ๔๖ ๒๕๕๒ นายสภุ ัท ดีประดิษฐ์ - ๑๘ ๒๕๒๔ ๑๙ ๒๕๒๕ นายพสิ ิษฐ์ ศวิ ลยั พ.อ.แพทย์หญงิ มยุรี พลางกูร ๔๗ ๒๕๕๓ นางสภุ าวดี อินทรางกูล ณ อยธุ ยา รศ.ดร.บญั ชา ชลาภริ มย์ ๒๐ ๒๕๒๖ ๒๑ ๒๕๒๗ นายประกฤติ เยี่ยมสกลุ นายเชญิ วรี ะฉายา นายวรพล อังกรุ ตั น์ ๒๒ ๒๕๒๘ ๒๓ ๒๕๒๙ นายศกั ดา ปญั จพรผล นายชนะ ธนะสมบูรณ์ ๔๘ ๒๕๕๔ นายชนะวัฒน์ โอกละคร นายทะนง โชติสรยุทธ์ ๒๔ ๒๕๓๐ ๒๕ ๒๕๓๑ นายเจิม สบื ขจร นายมีศกั ดิ์ ว่องประชานกุ ูล ๔๙ ๒๕๕๕ นายภานพุ งศ์ ศรสี ุรยิ ชัย นายศักดา สกลธวฒั น์ ๒๖ ๒๕๓๒ ๒๗ ๒๕๓๓ นายทวศี กั ด์ิ จันทรสาร นายชาญ อนันตป์ รชี าศรี ๕๐ ๒๕๕๖ นายสรุ ศกั ด์ิ เวยี นรอบ นางสาวบุษกร เลิศวีระศริ ิกลุ ๒๘ ๒๕๓๔ ๒๙ ๒๕๓๕ นายสมควร ตะกวั่ ทงุ่ นายปรชี า จิตรสงิ ห์ ๕๑ ๒๕๕๗ นายอานนท์ ธิติคุณากร นายอานนท์ ธติ คิ ุณากร ๓๐ ๒๕๓๖ ๓๑ ๒๕๓๗ นายไพบลู ย์ นลิ พิบูลย์ นายสมชาย แป้นหนู ๕๒ ๒๕๕๘ นายนท ี เชี่ยวสุวรรณ นาวาอากาศเอกยทุ ธศกั ดิ ์ พูลสุวรรณ ๓๒ ๒๕๓๘ ๓๓ ๒๕๓๙ นายกมล พลอยงาม นางวนั ทนยี ์ วิสิทธวงศ์ ๕๓ ๒๕๕๙ นายธนพจน์ ธงศิลา นายวรพล องั กุรัตน์ ๓๔ ๒๕๔๐ ๓๕ ๒๕๔๑ นายวิโรจน์ เทศนา นางนงพรรณ ดอนขวา ๕๔ ๒๕๖๐ นายพงศกร อดุลพิทยาภรณ ์ นางสาวกฤติยา แผ่นทอง ๓๖ ๒๕๔๒ ๓๗ ๒๕๔๓ นายกวี มทุ วุ งศ์ นายบัญชา ชลาภริ มย์ ๕๕ ๒๕๖๑ นายสรุ เชษฐ์ หิรัญสถติ ย์ นายเฉลิมวฒุ ิ แท่นสวุ รรณ ๓๘ ๒๕๔๔ ๓๙ ๒๕๔๕ นายวทิ ยา วงษ์สมาน นายศิริ สงคาสทิ ธิ์ ๕๖ ๒๕๖๒ นางสาววรรณวรณุ อนิ ปกั ดี นายศักดด์ิ นัย โรจน์สราญรมย์ ๔๐ ๒๕๔๖ ๔๑ ๒๕๔๗ นายธวัชชยั พินปรุ นายศุภกิจ เลศิ จติ รเลขา ๕๗ ๒๕๖๓ นางสาวธญั มน นวลโฉม นายภาณภุ ทั ร ลิ้มจำ� รญู ๔๒ ๒๕๔๘ ๔๓ ๒๕๔๙ นายทวีศกั ด์ิ วศิ ิษฎางกลุ นางสาววลั ภา นลิ เขต ๔๔ ๒๕๕๐ นายสุรศกั ด์ิ เกตุสภุ ะ นายธวัช หม่ืนศรีชยั นายชวลิต โพธิ์ขุน นายธวัชชยั พิกุลแก้ว นายขรรค์ชยั ออ่ นม ี นายพัชนี โปรียานนท์ นายสมั ฤทธ์ิ เพชรสังคุณ นายนคิ ม อินทรโสภา นายณฐั กจิ บัวชมุ นายวทิ ธยา บริบรู ณท์ รัพย์ นายสโุ ข วุฑฒิโชติ นางจ�ำนงค์ แจม่ จนั ทรวงษ์ นายสโุ ข วุฑฒโิ ชต ิ นายสุโข วฑุ ฒโิ ชติ นายพนสั พฒั นรัฐ นายสมยศ วนชิ ชาชีวะ นายสุรัต อตั นวานชิ นายสมชาย ดเี มฆ นายธรี ะเดช มีรุ่งเรอื ง นายธรี ะเดช มรี ุง่ เรือง นายประกาศติ ยังคง นายประกาศิต ยงั คง นายเดชา ลาภเอกอดุ ม นายอาวุธ ศลิ าเกษ นางศุภลกั ษณ์ สพุ รรณปราการ นายสิริชัย มากมลู ผล นายธนาชยั อ้ึงสมรรถโกษา - นางธนวดี ธีรภทั รสกลุ - สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผ้นู ำ� ทางการศึกษา 107 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

คณะกรรมการบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 นายภาณุภทั ร ล้ิมจำ�รูญ นายปฏิญญา มขุ สาร นางสาวปิยนุช มงคล ประธาน รองประธาน เหรัญญิก ดษุ ฎบี ัณฑติ (นอกเวลาราชการ) รุ่นที่ 14 มหาบัณฑติ (ในเวลาราชการ) รุน่ ท่ี 57 มหาบณั ฑติ (นอกเวลาราชการ) รนุ่ ที่ 29 นางสาวเปมกิ า ภาคแก้ว นางสาววิมลพร ปานดำ� นางสาวสถาพร บตุ รใสย์ นางสาวพชิ ญา ชูเอกวงศ์ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ มหาบณั ฑิต (ในเวลาราชการ) รุ่นท่ี 57 มหาบณั ฑติ (ในเวลาราชการ) รุ่นที่ 57 ดุษฎบี ณั ฑิต (นอกเวลาราชการ) ร่นุ ท่ี 13 ดุษฎบี ัณฑิต (นอกเวลาราชการ) รุ่นที่ 12 108 หนงั สอื ทร่ี ะลึกในโอกาสส�ำเรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย นางสาวอิฏฐิรา ทรงกิตพิ ศิ าล นางสาวปะราล ี อรา่ มดวง นางเทพสุดา เมฆวิลัย นายมูฮำ�หมดั อซั ซอมาดยี ์ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ดษุ ฎบี ัณฑิต (นอกเวลาราชการ) รนุ่ ท่ี 13 ดษุ ฎบี ณั ฑติ (นอกเวลาราชการ) รุ่นท่ี 13 ดุษฎีบัณฑิต (นอกเวลาราชการ) รุน่ ท่ี 12 มหาบัณฑติ (ในเวลาราชการ) ร่นุ ที่ 57 นางสาวอนงคก์ าญจน ์ ศรจี ันทร์ นางสาวพิมพ์ชนก หงษาวดี นายณฐั พงษ์ เกรียงไกรวงษ์ นางสาวพุทธอกั ษร ศรสี ด กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานกุ าร มหาบณั ฑิต (ในเวลาราชการ) รนุ่ ที่ 57 มหาบัณฑิต (นอกเวลาราชการ) รุ่นที่ 29 มหาบณั ฑิต (นอกเวลาราชการ) รนุ่ ท่ี 29 มหาบณั ฑติ (นอกเวลาราชการ) รนุ่ ท่ี 29 สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผูน้ �ำทางการศกึ ษา 109 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

การพลิกโฉมการบริหารจัดการศกึ ษา ในภาวะปกตใิ หม่หลังโควดิ -19 Transforming Education Management in the New Normal After COVID-19 ศ.ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพทิ ักษ์ ปูชนียาจารย์ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 1. ความท้าทายของการบริหารจัดการศกึ ษาในภาวะปกตใิ หม่ ภาวะปกติใหม่หลังโควิด-19 คือ สภาวะที่เศรษฐกิจและสังคม จะต้องได้รับการ แก้ไขด้วยวิธีใหม่หลังจากวิกฤตโควิด-19 ซ่ึงส่งผลต่อ วิกฤตเศรษฐกิจและสังคม การจัดการศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีทุนมนุษย์ (Schultz,1997) ทมี่ งุ่ พฒั นาผเู้ รยี น ใหม้ ที กั ษะความรแู้ ละคณุ ลกั ษณะทเี่ สรมิ สรา้ งความสามารถในการทาํ งานอยา่ งมผี ลติ ภาพ หรอื ประสทิ ธภิ าพทเี่ รยี ก วา่ to do productive work ซงึ่ เคยสง่ ผลดตี อ่ การสรา้ งความเจรญิ เตบิ โต ทางเศรษฐกิจเน่ืองจากคนเปน็ องค์ประกอบส�ำคญั ของปจั จัยการผลิต แต่หลังวิกฤติเศรษฐกิจ ผลการศึกษาของ Monteils (2004) ไม่พบสหสัมพันธ์เชิง บวกของการลงทุนทางการศึกษากับการเติบโต ทางเศรษฐกิจ การจัดการศึกษาจึงไม่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศด้าน เศรษฐกิจ สาเหตุ คือ โจทย์การพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจเปล่ียนไป เปล่ียนจากการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการขับเคลื่อนด้วยปัจจัย การผลิต (Factor-driven) และโดยการขับเคล่ือนด้วย ประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) เปน็ การขบั เคลอ่ื นดว้ ยนวตั กรรม (Innovation driven) เปน็ เศรษฐกจิ นวัตกรรม (Innovation Economy) นอกจากน้ี การจัดการศึกษาก็ไม่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ดา้ นสงั คม สาเหตุ คอื โจทยก์ ารพฒั นาประเทศดา้ นสงั คมเปลยี่ นไป เปลย่ี น จากการพฒั นา สังคมให้มีความทันสมัย (Modernization) เปน็ สงั คมสุข ภาวะ หรอื สงั คมอยดู่ มี ี สขุ (Societal Wellbeing) เปน็ สงั คมดจิ ทิ ลั (Digital Society) สงั คมนวตั กรรม (Innovation Society) และสงั คมหลงั นวตั กรรม (Post-innovation society) 110 หนังสอื ท่รี ะลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

เม่ือมีวิกฤตโควิด-19 วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจและสังคม 2.2 ภาวะปกติใหมข่ องการศึกษาในอนาคต รวมทั้งการบริหาร จัดการศึกษาต้องเปล่ียนแปลงอย่างพลิกผัน โครงการ OECD Future of Education and Skills 2030 ต้องใช้แนวคิดของการรักษาระยะ ห่างทางสังคมและระยะห่างทาง Project ได้สรุปภาวะปกตใิ หมข่ องการศึกษาในอนาคต ดงั ภาพที่ 2 กายภาพ (Social and Physical Distancing) โควิด-19 ไม่ใช่ เป็นเพียงวิกฤตสุขภาพเท่านั้น แต่เป็นวิกฤตเศรษฐกิจ สังคมและ การจัดการศึกษาด้วย แม้ว่าโควิด-19 จะผ่านพ้นไปแล้ววิกฤต เศรษฐกิจ สังคมและการศึกษาจะยังคงมีอยู่ต่อไป เพราะจะทําให้ เกิด “ภาวะปกติใหม”่ ดังน้ัน จึงมีความจําเป็นต้องทบทวนการบริหารจัดการ ศกึ ษาแบบดง้ั เดมิ หรอื แบบประเพณนี ยิ ม (Traditional approach) ในปัจจุบนั แลว้ ทําการออกแบบใหม่ (Redesign) หรือพลกิ โฉมใหม่ (Transform) ใหเ้ หมาะสมกับ ภาวะปกติใหม่ 2. ภาวะปกติใหมใ่ นอนาคต ภาพท่ี 2: ภาวะปกติใหมข่ องการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จากรายงานเร่ือง OECD Future of Education and (www.youtube.com/watch?v=9YNDnkphKo.) Skills 2030: OECD Learning Compass 2030 สรุปวา่ สภาวะ ในอนาคต เปน็ สงิ่ ทค่ี าดการณไ์ ดย้ ากหรอื คาดการณไ์ มไ่ ดเ้ นอ่ื งจาก 2.3 ภาวะปกติใหมข่ องสงั คมในอนาคต มีการเปล่ียนแปลงที่ไม่มีใครรู้ว่าเป็นอย่างไร โดยเฉพาะอย่างย่ิง สังคมปกติใหม่ในอนาคต เป็น สังคมดิจิทัลและสังคม การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยแี ละการเปลยี่ นแปลงในโลกของการ นวัตกรรมพลกิ ผัน ทํางาน สังคมดิจิทัล คือ สังคมใหม่ที่มีการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัลอย่างกว้างขวาง ทําให้วิถีชีวิตและความต้องการของคน 2.1 ภาวะปกติใหม่ของเทคโนโลยใี นอนาคต เปล่ียนแปลงไปอย่างพลิกผัน ท่ีเรียกว่า Digital disruption Goldin and Katz (2010) ได้เสนอผลการวิเคราะห์ ด้านเศรษฐกิจ ธุรกิจแบบด้ังเดิมประสบกับแรงส่ันสะเทือนของ การแขง่ ขันระหว่างเทคโนโลยี กบั การศึกษา: The race between เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทาํ ใหเ้ กดิ โมเดลธรุ กจิ ใหมใ่ นชอื่ เรยี กตา่ ง ๆ เชน่ ธรุ กจิ technology and education วา่ เทคโนโลยกี บั การศกึ ษาได้ ผลดั กนั ออนไลน์ E-commerce ธุรกิจแบบแพลตฟอรม์ ธรุ กจิ ธนาคารท่ใี ช้ เป็นผ้นู าํ แตม่ แี นวโน้มว่าเทคโนโลยจี ะมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งพลกิ Fin tech ธรุ กจิ สือ่ และโฆษณาทใ่ี ช้ Facebook, YouTube, Google โฉม ทเ่ี รยี กวา่ Transformative change มากกวา่ การศกึ ษาทมี่ กี าร และ Line ธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วและโรงแรมทใี่ ช้ Airbnb ธรุ กจิ รถบรกิ ารทใ่ี ช้ เปลยี่ นแปลงอยา่ งคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปทเี่ รยี กวา่ Incremental change Uber, Grab ดา้ นวถิ ชี วี ติ พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค เปลย่ี นจากโมเดลการ ดังน้ัน จึงมีความเป็นต้องพลิกโฉมการศึกษาให้มีการ บรโิ ภคออฟไลนเ์ ป็นออนไลน์ และเปลยี่ นจาก Mass Marketing เป็น เปลี่ยนแปลงแบบพลิกโฉม เพื่อให้การศึกษาเป็นผู้นําในการสร้าง Customer Network มากข้ึน เทคโนโลยีใหมท่ ี่พงึ ประสงคใ์ นอนาคต ดงั ภาพที่ 1 สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเปน็ ผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา 111 ภาพท่ี 1: การเเขง่ ขนั ของเทคโนโลยเี เละการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (Goldin and Katz (2010))

ธุรกิจและวิถีชีวิตที่มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ยังไม่ใช่ธุรกิจแบบ 4) เปน็ คนดีเทจ่ ะตาย (Be Internet Kind) การใหเ้ กยี รติ แพลตฟอร์ม และยังไม่ใช่สังคมดิจิทัล แต่ต้องเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ กนั และสง่ ตอ่ พลงั บวก ตลอดจนบลอ็ กและรายงานพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ในทุกมิตอิ ย่างมีกลยทุ ธ์อยา่ งถงึ แก่น จากรากฐานของธรุ กจิ ดว้ ย อันตรายในโลกออนไลน์ ถ้าพบว่ามีคนถูกทําร้ายในโลกออนไลน์ การพลิกโฉมธุรกิจเป็นธุรกิจดิจิทัล (Digital Business) โดยการ จะลุกข้ึนปกป้องไมใ่ ช่นงิ่ เฉย มีส่วนร่วมของทุกคนในองค์การ มีการใช้ Big Data ด้วยการ 5) สงสัยเม่ือไหร่ก็ถามได้เลย (Be Internet Brave) ออกแบบ Data Strategy เพอ่ื ใหธ้ รุ กจิ เปลย่ี น Data เปน็ “สนิ ทรพั ย”์ เราจะยืนหยัดเพื่อตัวเองและผ้อู น่ื เมือ่ พบพฤติกรรมทีเ่ ป็นอนั ตราย ท่ีช่วยให้ธุรกิจสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเหนือคู่แข่ง เมื่อ หรือไมเ่ หมาะสมในโลกออนไลน์ เราจะพดู คุยถงึ สถานการณ์ท่ีทําให้ ธรุ กจิ เขา้ ใจและลงมอื ทาํ เปน็ ธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั แลว้ ขนั้ ตอ่ ไปกต็ อ้ ง “สรา้ ง เราอึดอัดกับสมาชิกคนอนื่ ๆ ในฐานะครอบครัวเดยี วกัน นวัตกรรม” ให้เกิดขึ้นจริงในองค์การความฝันอันสูงสุดของการ สมรรถนะดิจิทัล จากกรอบแนวคิดความฉลาดรู้ทาง สร้างนวัตกรรมคือ “นวัตกรรมพลิกผัน” ที่เรียกว่า Disruptive ดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล จึงประกอบด้วย ความสามารถ Innovation 2 ด้าน คือ 1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ นวตั กรรมพลกิ ผนั คอื นวตั กรรมทที่ ดแทน หรอื พลกิ ผนั 2) ความสามารถในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อยา่ ง ธรุ กจิ หรือ นวัตกรรมเดิม สงั คมดิจิทลั จึงมีลกั ษณะเป็น “สงั คม ชาญฉลาด พร้อมท้ังมีความรับผิดชอบต่อสังคมและมนุษยชาติ นวัตกรรมพลิกผัน (Disruptive Innovation Society)” มีคุณธรรมและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมทําให้เกิดการพัฒนา ทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development) ตามเปา้ หมายขององคก์ าร 2.4 ภาวะปกติใหมข่ องคณุ ภาพคนทพี่ งึ ประสงคใ์ นอนาคต สหประชาชาตทิ เี่ รยี กวา่ Sustainable Development Goals (SDGs) 2.4.1 ตอ้ งมสี มรรถนะดจิ ทิ ลั และสมรรถนะนวตั กรพลกิ ผนั สมรรถนะสําคัญของคนในสังคมดิจิทัล คือ สมรรถนะ กรอบแนวคดิ (Conceptual Framework) เกี่ยวกบั สมรรถนะดจิ ิทลั การเป็น “นวัตกร” (Innovator) ท่ีมีความสามารถในการคิดริเร่ิม ทส่ี าํ คญั มี 2 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ 1) ความฉลาดรูท้ างดิจิทลั (Digital สรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหมท่ เี่ ปน็ นวตั กรรมพลกิ ผนั (Disruptive Innovation) Literacy) คอื ทกั ษะในการนาํ เครอ่ื งมอื อปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ดังนั้นคุณภาพของคนที่พึงประสงค์ในสังคมดิจิทัล จึงต้องเป็น อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์และสือ่ “นวตั กรพลกิ ผนั ” (Disruptive Innovator) นวตั กรพลกิ ผนั จะตอ้ ง ออนไลนม์ าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ในการสอื่ สาร การปฏบิ ตั งิ านและ มีทักษะการค้นหา (Discovery skills) ที่เป็น DNA ของนวัตกร การทาํ งานรว่ มกนั หรอื ใชพ้ ฒั นากระบวนการทาํ งานหรอื ระบบงาน พลิกผนั ดังภาพที่ 3 ในองคก์ าร รวมท้งั การเรยี นรู้ให้มคี วามทนั สมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ มากยิ่งขึ้น และ 2) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (Digital Intelligence) ภาพท่ี 3: ดีเอน็ เอของนวัตกรพลิกผัน คอื ความสามารถดา้ นการรบั รู้ สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสงั คมทท่ี าํ ให้คนเปน็ พลเมอื งดิจทิ ลั (Digital Citizens) สามารถเผชิญหนา้ กับ ความทา้ ทายและปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ยคุ ดิจทิ ลั ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ผู้มีความฉลาดรู้ทางดิจิทัลและความฉลาด ทางดิจิทัลจะต้องเปน็ “สดุ ยอดนกั ท่องอนิ เทอร์เนต็ ” (Be Internet Awesome) ยดึ หลกั จรรยาบรรณ 5 ประการ คอื 1) คดิ กอ่ นแชร์ (Be Internet Smart) คดิ ใหร้ อบคอบถงึ ขอ้ มลู ทแ่ี ชรแ์ ละคนทเี่ ราแชร์ โดยคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขน้ึ กบั ตวั เราและผอู้ นื่ และไมแ่ ชรข์ อ้ มลู ทลี่ ะเอยี ดออ่ นมากแกผ่ อู้ น่ื เชน่ ทอ่ี ยู่ บ้าน เลขท่บี ัญชีเงนิ ฝาก เป็นต้น 2) ไม่ตกหลุมพรางกลลวง (Be Internet Alert) ระมัดระวังไม่ถูกหลอกจากข้อมูลกลโกง (Phishing) ที่ส่งมาทาง email หรือ social media 3) เก็บข้อมูลไว้เป็นความลับ (Be Internet Strong) รบั ผดิ ชอบการปกปอ้ งขอ้ มลู สาํ คญั โดยการสรา้ งรหสั ผา่ นทรี่ ดั กมุ และไมซ่ ้�ำกนั ทงั้ อกั ขระและตวั เลข 112 หนังสือทรี่ ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

2.4.2 ต้องมีสมรรถนะความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ 1) การคดิ ตดั สนิ ใจดว้ ยตรรกะแบบใหม่ ทเ่ี รยี กวา่ ตรรกะ (Humanized Person) แบบทวิพุทธิปัญญา (Cognitive Ambidexterity) ประกอบด้วย ความเปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ์ คอื ผทู้ ม่ี มี นษุ ยธรรม มคี วามรกั ในเพ่อื นมนุษย์และมีอจั ฉริยะทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและ ตรรกะในการคดิ ตดั สนิ ใจเชงิ ทาํ นาย (Prediction logic) และตรรกะ สตปิ ญั ญาเปน็ ผทู้ อ่ี ทุ ศิ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ นื่ เปน็ ผสู้ รา้ งสงั คม อย่ดู มี ีสุขท่ีแทจ้ ริงและยงั่ ยืน ในการคิดตัดสินใจเชงิ สรา้ งสรรค์ (Creation logic) 2.4.3 ต้องมีสมรรถนะความเป็นพลเมืองที่สร้างความ ยตุ ธิ รรมทางสงั คม 2) ความรบั ผดิ ชอบใหมแ่ บบ SEERS คอื ความรบั ผดิ ชอบ ความเป็นพลเมือง (citizenship) ในทัศนะของ Faulks ในความยั่งยืน 3 ประการ ได้แก่ สังคม (Social) สิ่งแวดล้อม (1998) เป็นสถานะท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับชุมชน ทางการเมือง (Political community) เปน็ ลักษณะของคนในการ (Environment) และเศรษฐกิจ (Economic) แลกเปลย่ี นหรอื แบง่ ปนั การใชส้ ทิ ธแิ ละความรบั ผดิ ชอบ (reciprocal rights and responsibilities) อยา่ งสมดุลและเปน็ ธรรม 3) การปฏบิ ตั กิ ารแบบ SSA คอื การปฏบิ ตั กิ ารท่ีมคี วาม T.H. Marshall (1950) ไดเ้ สนอไวใ้ นหนงั สอื เรอ่ื ง Citizen- ตระหนักรใู้ นตนและสงั คม (Self and Social Awareness) ship and Social Class ไว้ว่าความเปน็ พลเมอื งเป็นเรอื่ งของสิทธิ พลเมือง (citizenship rights) จาํ แนกได้ 3 ดา้ น คือ (1) สิทธใิ น 2.4.5 ต้องมีสมรรถนะผ้ปู ระกอบการนวตั กรรม การแสดงออกอย่างเสรขี องปัจเจกบคุ คล (individual freedom) ผปู้ ระกอบการนวตั กรรม มาจากภาษาองั กฤษวา่ Innovation และสิทธิในการเป็นเจ้าของหรือมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (2) สิทธิ ทางการเมือง ได้แก่ สิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งและการมีส่วน Entrepreneurs (www.entrepreneur.com/article/250777) ร่วมในการใช้อํานาจทางการเมือง (3) สิทธิในความมั่นคงทาง สงั คม (social security) และบรกิ ารทางสงั คม (social service) เชน่ มคี ณุ ลกั ษณะสาํ คญั 10 ประการ ดังน้ี การศึกษาและสุขภาพ ความเป็นพลเมืองจะมีผลต่อความยุติธรรมทาง 1) Apophenia : ความสามารถในการมองเห็นรูปแบบ สังคม เนื่องจากการกระจายการใช้สิทธิและความรับผิดชอบของ หรอื แบบแผนความเชอ่ื มโยงอยา่ งมคี วามหมายในสงิ่ ของหรอื ขอ้ มลู ปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคล ตามแนวคิดความเป็นพลเมืองของ Marshall ที่เกิดจากการใช้สิทธิความเป็นพลเมืองความยุติธรรม ทไี่ มม่ ีความสัมพนั ธก์ ัน ทางสงั คม มี 3 รูปแบบ คือ 1) ความยุติธรรมเชิงความเชื่อมโยง (Associational 2) Innovative : ความสามารถในการทํางานอย่าง Justice) คือ การมีส่วนร่วมของกลุ่มทางสังคมในโครงสร้างการ ชาญฉลาด (work smart, not hard) ตดั สินใจและกระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ 2) ความยุตธิ รรมเชิงกระจายทรัพยากร (Distributive 3) Obsessive note-takers : ความสามารถในการจด Justice) คือ การกระจายทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปยังกลุ่มทาง บันทกึ ตัวยง สังคมตา่ ง ๆ อย่างเสมอภาค 3) ความยตุ ธิ รรมเชงิ วฒั นธรรม (Cultural Justice) คอื 4) Preach perfection, practice progress : ความ การยอมรบั และเหน็ คุณคา่ ของกลมุ่ ทางสงั คมทุกกลุ่มวฒั นธรรม สามารถในการตง้ั เปา้ หมายที่สงู และกา้ วสเู่ ปา้ หมายเป็นระยะ ๆ แบบ 2.4.4 ตอ้ งมสี มรรถนะผนู้ ําเชงิ ผ้ปู ระกอบการ ผนู้ าํ เชงิ ผปู้ ระกอบการ มาจากภาษาองั กฤษวา่ Entrepreneurial ฝนั ใหไ้ กลไปให้ถึง leader คือ ผู้นําท่ีเสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม มีคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ (Greenberg, Danna and 5) Allied with fear : ความสามารถในการเปลี่ยน others, 2011) ดังนี้ ความกลัวใหเ้ ป็นมิตรแบบการเปลย่ี นวกิ ฤตให้เปน็ โอกาส คือ ความ กลวั ทําให้เรามคี วามพยายามแลว้ เกิดความกา้ วหน้าและนวัตกรรม 6) Don’t wait for things to break : ความสามารถ ในการบกุ เบิกพฒั นางานใหด้ กี วา่ เดิม (It can always be better) โดยไม่รอให้เกิดปัญหาก่อน เป็นการประกันไม่ให้เกิดปัญหา (To ensure the problem will never even exist) และเป็นการใช้ มาตรการปอ้ งกนั (Preventive action) ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะสาํ คญั ของ ผู้นาํ เชงิ รกุ ที่ เรยี กวา่ Proactive Leader 7) Understand the creative process : ความสามารถ ในการทํางานตามกระบวนการสร้างสรรค์ ซึ่งมี 4 กระบวนการ คือ การเตรียมการ (Preparation) การบ่มเพาะ (Incubation) การกระจา่ งชดั (Illumination) และการนาํ สกู่ ารทดสอบหรอื ปฏบิ ตั ิ (Implementation) 8) Pursue multiple streams : ความสามารถในการ แสวงหาทางเลอื กหรอื ผลลัพท์ท่ีหลากหลาย 9) Possess a healthy arrogance : มีความทะนงและ ความเช่ือมั่นในตนเอง สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเปน็ ผนู้ �ำทางการศึกษา 113 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

10) Embrace paradoxical thinking : ความสามารถ ชีวติ ทม่ี คี วามสุขอยา่ งมีคุณคา่ ซึง่ ประกอบ ด้วย 4 องค์ประกอบ ในการใช้แนวคิดต่างมุมทีย่ ้อนแย้งใหเ้ ป็นประโยชน์ คือ 1) Passion เลือกเรียนในสิ่งท่ีใฝ่ฝัน 2) Mission เลือกเรียน 3. โฉมหนา้ ใหม่ของการบรหิ ารจัดการศึกษาในภาวะปกตใิ หม่ 3.1 นวัตกรรมการบริหารหลักสูตร (Curriculum ในส่งิ ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อมนุษยชาติและโลก 3) Vocation เลอื กเรยี น Management Innovation): มุ่งเป้าหมายผลลัพธ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic End Results) ในสง่ิ ทท่ี ําเป็นอาชพี ได้ และ 4) Profession เลอื กเรยี นในสงิ่ ทีท่ าํ ได้ (1) หลกั สตู รมงุ่ ผลลพั ธก์ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรนุ่ เยาว์ (Young Innovator Creating) ลักษณะสําคัญของหลักสูตร ดีอย่างมอื อาชพี ต้องเป็นหลักสูตรอิงผลลัพธ์ (Outcome-based Curriculum: OBC) เฉพาะบุคคลที่มุ่งสร้างดีเอ็นเอนวัตกรพลิกผัน (The หลกั สตู รองิ ผลลพั ธเ์ ฉพาะบคุ คลตอ้ งมวี ชิ าเลอื กมากกวา่ disruptive Innovator’s DNA) ตามผลงานวจิ ยั ของ Jeff Dyer, Hal Gregersen และ Clayton M. Christensen (2019) ตามความ วิชาบังคับ ผู้เรียนสามารถเลือกที่ตรงกับเป้าหมายชีวิตหรือความ ใฝฝ่ นั ของผูเ้ รยี น จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จะต้องเน้นการพัฒนาทักษะ ฝนั ทงั้ ของตนและของมนษุ ยชาติ ควบคกู่ นั ตามบรบิ ท สงั คม ชมุ ชน การค้นหา ทเี่ รยี กวา่ Discovery skills 5 ทกั ษะ ประกอบด้วย ทกั ษะ พฤติกรรม (Behavioral skills) 4 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการตั้ง ทแ่ี ตกตา่ งกนั ทเี่ รยี กวา่ หลกั สตู รองิ บรบิ ท (Curriculum in Context) คาํ ถาม (Questioning) 2) ทกั ษะการสงั เกต (Observing) 3) ทกั ษะ การค้น หาความคดิ จากเครอื ข่าย (Idea networking) 4) ทกั ษะ (3) หลักสูตรมุ่งผลลัพธ์การสร้างสรรค์สุดยอด การทดสอบและนําร่องความคิดใหม่ (Experimenting) และทักษะ นกั ทอ่ งอนิ เทอรเ์ นต (Internet Awesome Creating Curriculum) ทางปัญญา (Cognitive skill) 1 ทักษะ คือ ทกั ษะการคิดเชอื่ มโยง ลกั ษณะของหลกั สตู รตอ้ งเปน็ หลกั สตู รองิ ผลลพั ธท์ ม่ี งุ่ สรา้ งสรรค์ (Associational thinking หรือ Associating) นอกจากนี้ จะต้อง มีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาความกล้าหาญในการสร้างสรรค์ สุดยอดนกั ทอ่ งอนิ เทอร์เนต ส่ิงใหม่ ท่ีเรยี กวา่ Courage to innovate ประกอบด้วย 2 ประการ คอื 1) ความต้องการในการเปลี่ยนแปลงสภาพเดมิ (Challenging (4) หลักสูตรมุ่งผลลัพธ์การสร้างสรรค์ผู้ประกอบการ the status quo) และ 2) ความสามารถในการเผชิญความเส่ียง นวตั กรรมและผนู้ าํ เชงิ ผปู้ ระกอบการ (Innovative Entrepreneur ในการเปล่ียนแปลงอย่างชาญฉลาด (Take smart risk) and Entrepreneur Leader Creating Curriculum) ลกั ษณะของ (2) หลักสูตรมุ่งผลลัพธ์การออกแบบชีวิตท่ีมีความ หลกั สตู รตอ้ งเปน็ หลกั สตู รองิ ผลลพั ธเ์ ฉพาะบคุ คลทมี่ งุ่ สรา้ งสรรค์ หมายและคณุ คา่ (Purposeful Life Design Curriculum) ลกั ษณะ ของหลกั สตู ร ตอ้ งเปน็ หลกั สตู รอิงผลลพั ธเ์ ฉพาะบุคคล ท่เี รียกวา่ ผปู้ ระกอบการนวตั กรรมและผนู้ ําเชิงประกอบการ Personalized หรอื Customized program ตามแนวคดิ 3 แนวคดิ คือ 1) หลักสูตรการออกแบบชีวิต (Life design program) (5) หลักสูตรมุ่งผลลัพธ์การสร้างสรรค์ความเป็น 2) แนวคดิ การเรยี นรทู้ ม่ี คี วามหมาย (Purposeful Learning) ของ พลเมืองผู้นําที่สร้างสรรค์ความยุติธรรม ลักษณะของหลักสูตร สงิ คโปร์ท่ีเนน้ การเรยี นรวู้ ธิ ีเรยี น (Learn how to learn) และการ ต้องเป็นหลักสูตรอิงผลลัพธ์ท่ี มุ่งสร้างพลเมืองทีเป็นผู้นําในการ เรียนรู้การใช้ชีวิต (Learn how to live) ประกอบด้วยการเรียนรู้ ชีวิต 4 แบบ คือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life long learning) ผูส้ รา้ งความยตุ ธิ รรมทางสงั คม การเรียนรู้ชวี ิตในโลกกวา้ ง (Life wide learning) การเรียนรู้ชวี ิต อยา่ งลึกซ้งึ (Life deep learning) และการเรียนรู้ชีวติ อย่างชาญ 3.2 นวัตกรรมการบริหารจัดการเรียนรู้ (Learning ฉลาด (Life wise learning) และ 3) แนวคดิ การสรา้ งสรรค์ชีวิต Management Innovation): มงุ่ วธิ กี ารจดั การเรยี นรเู้ ชงิ กลยทุ ธ์ ท่ีมีคุณค่าของญี่ปุ่น ที่เรียกว่า Ikigai คือ ผู้เรียนสามารถเลือก (Strategic Learning Management) เรยี นตามเปา้ หมายชวี ติ หรอื ความฝนั ของตนและสามารถออกแบบ (1) การออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล (Universal Design for Learning: UDL) และการเรียนการสอนอิงบริบท (Contextual Teaching and Learning) จุดมุ่งหมายของการ ออกแบบการเรียนรู้ท่ีเป็นสากล ที่เรียกว่า UDL คือ การทําให้ ผเู้ รยี นเรยี นรวู้ ธิ เี รยี นจนเปน็ ครสู อนตนเองได้ ทเี่ รยี กวา่ ผเู้ ชยี่ วชาญ การเรียนรู้ (Expert learner) เป้าหมายสูงสุด คือ การเป็น ผู้เช่ียวชาญการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Expert Learner) สว่ นการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรตู้ อ้ งทาํ ใหน้ กั เรยี นทกุ คนเรยี น รู้ได้อย่างทั่วถึงหรืออย่างครอบคลุม ไม่มีใครถูกท้ิงไว้ข้างหลัง ท่ีเรียกว่า Inclusive Learning หรือการสอนให้ผู้เรียนท่ีมีความ แตกต่างได้ประสบความสาํ เร็จทกุ คน (Pedagogy of Difference) นอกจากนี้จะต้องให้ผู้เรียนนําสิ่งท่ีเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ในบริบทที่แตกต่างกันได้ ที่เรียกว่า การเรียนการสอนอิงบริบท (Contextual Teaching and Learning) 114 หนังสอื ท่รี ะลึกในโอกาสสำ� เรจ็ การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

(2) การออกแบบการเรยี นรศู้ ักยภาพสงู (High Scope (2) กลยทุ ธก์ ารประเมนิ โดยผเู้ รยี นมคี วามผกู พนั ในความ Learning) การเรียนรู้ศักยภาพสูง หรือ ไฮสโคป เป็นการเรียน รบั ผดิ ชอบ (Learner’s engagement and responsibility in self รู้ด้วยกระบวนการ PDR คือ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม assessment) ตามแนวคดิ High Scope Learning และ Visible Learning ในการวางแผนการเรียน (Plan) การนําแผนสู่การปฏิบัติ (Do) (3) กลยุทธ์การประเมินท่ีหลากหลายตามจุดมุ่งหมาย ที่แตกต่าง (Different Types of Assessment for Different และการทบทวนผลจากการนําแผนสู่การปฏิบัติ (Review) ซึ่งเป็น Purposes) (4) กลยุทธ์การเน้นทักษะการนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ นวัตกรรมที่มีลักษณะการเรียนรู้ประจักษ์ชัด (Visible Learning) ในชีวิตจริงและการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม (Application of Knowledge to the Real World and Holistic Student คอื การทาํ ใหผ้ เู้ รยี นรเู้ ปา้ หมาย (Milestone) ของการเรยี น วางแผน Well-being) การเรยี น และประเมนิ ผลการเรยี นดว้ ยตนเอง “It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent. It is the one (3) การออกแบบการเรียนรู้ด้วยการสร้างสรรค์ จินตนาการและการคิดออกแบบ (Imagination and Design that is most adaptable to change.” Thinking) มี 5 ขั้นตอน ดงั นี้ 1) ทําความเข้าใจปญั หา (Empathize) คอื เขา้ ใจอยา่ งลกึ -Charles Darwin ซ้งึ ในปัญหาความต้องการ ความจาํ เปน็ ค�ำดังกลา่ วทีย่ กมานี้ ขอใหบ้ ณั ฑติ ยดึ ถอื การ “ปรับตวั ” เป็นหนึ่งในคติเพ่ือใช้ในการด�ำเนินชีวิต เเละใช้ในการบริหาร 2) ระบุความต้องการใหช้ ดั เจน (Define) คอื การกําหนด การศึกษาให้เกดิ ประโยชน์เเก่สงั คมเเละประเทศชาติตอ่ ไป สงิ่ ทตี่ อ้ งการจะทาํ หรือสร้างสรรค์ การพลกิ โฉมการบริหารจดั การศึกษา ในภาวะปกตใิ หม่หลงั โควดิ -19 Transforming Education Management in the New Normal After Covid-19 3) ระดมความคดิ (Ideate) คอื การใช้จนิ ตนาการในการ แสวงหาความคิดในการทําหรือสร้างสรรค์ส่ิงที่ต้องการหลาย ๆ แนวทาง 4) สรา้ งตน้ แบบ (Prototype) คือ การนําความคดิ ทาง เลือกท่ีได้รบั การคดั เลือกมาสรปุ แบบตกผลกึ และสร้างนวตั กรรม 5) ทดสอบ (Test หรือ Measure and Learn) คือ การนํา ตน้ แบบนวตั กรรมไปทดสอบ ทดลองใชแ้ ลว้ นาํ ผลมาปรบั ปรงุ ตน้ แบ บกอ่ นนําสกู่ ารปฏิบตั หิ รอื วางตลาด (4) การออกแบบการเรียนรู้ดจิ ิทลั (Digital Learning) การเรียนรู้แบบใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีออนไลน์ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ ออฟไลน์ เชน่ การเรยี นรจู้ ากแพลตฟอรม์ การเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั (Digital Learning Platform) การเรียนรู้แบบห้องเรียนเสมือนจริงโดยใช้ ส่ือออนไลน์ การสืบค้นจากอินเทอร์เนตในเรื่องท่ีสนใจเฉพาะเร่ือง ในเวลาส้นั ๆ แบบ Micro-Learning โดยระบบการเรียนรู้ออนไลน์ มี 2 รปู แบบหลกั คอื 1) แบบประสานเวลา (Synchronons Learning) และ 2) แบบไม่ประสานเวลา (Asynchronons Learning) 3.3 นวัตกรรมการบริหารจัดการประเมินผลการเรียน (Learning Assessment Management Innovation): มุ่งการประเมินผลการเรียนรู้เชิงกลยุทธ์ (Strategic Learning Assessment) (1) กลยทุ ธก์ ารประเมนิ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นตามเปา้ หมาย เฉพาะบุคคล (Assessment for Personalized Goal of Each Learner) ตามแนวคิดหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ท่ีออกแบบ เฉพาะบคุ คลและความกา้ วหน้าในการเรยี นรทู้ ีไ่ มเ่ ป็นเชิงเสน้ ผู้เรียน มีเส้นทางการเรียนรูเ้ ฉพาะบุคคล สาขาวชิ าบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเป็นผนู้ ำ� ทางการศกึ ษา 115 คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

ผู้สนับสนนุ การจัดพมิ พห์ นงั สอื ท่รี ะลกึ บณั ฑติ ในโอกาสรับพระราชทานปรญิ ญาบตั ร ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ สาขาวชิ าบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจดั การและความเป็นผู้นำ�ทางการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 116 หนงั สอื ทร่ี ะลกึ ในโอกาสสำ� เรจ็ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผูน้ �ำทางการศกึ ษา 117 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

118 หนงั สือทร่ี ะลึกในโอกาสสำ� เร็จการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

สาขาวชิ าบรหิ ารการศึกษา ภาควชิ านโยบาย การจัดการและความเปน็ ผูน้ �ำทางการศกึ ษา 119 คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

ขอแสดงความยินดีกับ ดุษฎบี ณั ฑิตและมหาบัณฑติ ทกุ ทา่ น โครงการแลกเปลย่ี นภาษาและวัฒนธรรมเอน็ จีเนยี ส อินเตอรเ์ นชั่นแนล 96 ซอย จุฬาฯ48 แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร 10330 Engenius_inter Engenius International @engenius_inter 02-117-4742 120 หนังสือท่ีระลกึ ในโอกาสส�ำเรจ็ การศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook