ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology) ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การ รวบรวมประมวล เกบ็ รักษา และเผยแพร่ขอ้ มูลและสารสนเทศโดยรวมท้งั ฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ ฐานขอ้ มูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม 2. ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศสรา้ งข้ึนมาเพอ่ื จดุ มุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพ้นื ฐานประการหน่ึง คือ การประมวลขอ้ มูล (Data) ใหเ้ ป็ นสารสนเทศ (Information) และนาํ ไปสู่ความรู้ (Knowledge) ท่ชี ่วยแกป้ ัญหาในการดาํ เนินงาน 3. ความหมายของข้อมูล ขอ้ มลู คือ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั เหตุการณ์ หรือขอ้ มูลดิบทีย่ งั ไม่ผา่ นการประมวลผล ยงั ไมม่ ี ความหมายในการนาํ ไปใชง้ าน ขอ้ มูลอาจเป็ นตวั เลข ตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ์ รูปภาพ เสียง หรือ ภาพเคล่ือนไหว 4. ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลทไ่ี ดผ้ า่ นการประมวลผลหรือจดั ระบบแลว้ เพอ่ื ใหม้ ีความหมายและ คุณค่าสาํ หรับผใู้ ช้ 5. ลกั ษณะสารสนเทศทด่ี ี เนือ้ หา (Content) • ความสมบรู ณ์ครอบคลุม (completeness) • ความสมั พนั ธก์ บั เรื่อง (relevance) • ความถูกตอ้ ง (accuracy) • ความเช่ือถือได้ (reliability) • การตรวจสอบได้ (verifiability)
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 รูปแบบ (Format) • ชดั เจน (clarity) • ระดบั รายละเอียด (level of detail) • รูปแบบการนาํ เสนอ (presentation) • ส่ือการนาํ เสนอ (media) • ความยดื หยนุ่ (flexibility) • ประหยดั (economy) เวลา (Time) • ความรวดเร็วและทนั ใช้ (timely) • การปรบั ปรุงใหท้ นั สมยั (up-to-date) • มีระยะเวลา (time period) กระบวนการ (Process) • ความสามารถในการเขา้ ถึง (accessibility) • การมีส่วนร่วม (participation) • การเช่ือมโยง (connectivity) 6. ความหมายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ คือ ระบบทรี่ วบรวม ประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ สารสนเทศ เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผน การพฒั นาตดั สินใจ ประสานงาน และควบคุมการดาํ เนินงาน 7. องค์ประกอบระบบสารสนเทศทใี่ ช้คอมพวิ เตอร์ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การที่ใชค้ อมพวิ เตอร์ (Computer-based information systems CBIS) มีองคป์ ระกอบท่สี าํ คญั 6 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ (hardware) ซอฟตแ์ วร์ (software) ฐานขอ้ มูล (database) เครือขา่ ย (network) กระบวนการ (procedure) และคน (people) รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 - ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ที่ช่วยในการป้ อนขอ้ มูล ประมวลจดั เกบ็ และ ผลิต เอาทพ์ ทุ ออกมาในระบบสารสนเทศ - ซอฟตแ์ วร์ (Software) ไดแ้ ก่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ีช่วยใหฮ้ าร์ดแวร์ทาํ งาน - ฐานขอ้ มูล (Database) คอื การจดั ระบบของแฟ้ มขอ้ มลู ซ่ึงเก็บขอ้ มูลท่เี กี่ยวขอ้ งกนั - เครือข่าย (Network) คือ การเชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ช่วยใหม้ ีการใชท้ รัพยากรร่วมกนั และช่วยการตดิ ต่อส่ือสาร - กระบวนการ (Procedure) ไดแ้ ก่ นโยบาย กลยทุ ธ์ วธิ ีการ และกฎระเบยี บต่างๆ ในการใชร้ ะบบ สารสนเทศ - คน (People) เป็นองคป์ ระกอบท่สี าํ คญั ทสี่ ุดในระบบสารสนเทศ ซ่ึงไดแ้ ก่ บคุ คลท่ีเก่ียวขอ้ งใน ระบบสารสนเทศ เช่น ผอู้ อกแบบ ผพู้ ฒั นาระบบ ผดู้ ูแลระบบ และผใู้ ชร้ ะบบ 8. ประโยชน์ของระบบสารสนเทศ ประสิทธิภาพ (Efficiency) 1. ระบบสารสนเทศทาํ ใหก้ ารปฏิบตั งิ านมีความรวดเร็วมากข้ึน โดยใชก้ ระบวนการ ประมวลผลขอ้ มูลซ่ึงจะทาํ ใหส้ ามารถเกบ็ รวบรวม ประมวลผลและปรบั ปรุงขอ้ มูลใหท้ นั สมยั ได้ อยา่ งรวดเร็วระบบสารสนเทศช่วยในการจดั เก็บขอ้ มูลทมี่ ีขนาดใหญ่ หรือมีปริมาณมากและช่วย ทาํ ใหก้ ารเขา้ ถึงขอ้ มูล (access) เหล่าน้นั มีความรวดเร็วดว้ ย 2. ช่วยลดตน้ ทุน การที่ระบบสารสนเทศช่วยทาํ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ขอ้ มูล ซ่ึงมีปริมาณมากมีความสลบั ซบั ซอ้ นใหด้ าํ เนินการไดโ้ ดยเร็วหรือการช่วยใหเ้ กิดการตดิ ตอ่ สื่อสาร ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ทาํ ใหเ้ กิดการประหยดั ตน้ ทุนการดาํ เนินการอยา่ งมาก 3. ช่วยใหก้ ารติดตอ่ ส่ือสารเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว การใชเ้ ครือขา่ ยทางคอมพวิ เตอร์ทาํ ใหม้ ี การตดิ ต่อไดท้ ว่ั โลกภายในเวลาท่ีรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็นการติดต่อระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ดว้ ยกนั (machine to machine) หรือคนกบั คน (human to human) หรือคนกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ (human to machine) และการตดิ ต่อส่ือสารดงั กล่าวจะทาํ ใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ป็ นท้งั ขอ้ ความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคล่ือนไหวสามารถส่งไดท้ นั ที รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4 4. ระบบสารสนเทศช่วยทาํ ใหก้ ารประสานงานระหวา่ งฝ่ ายตา่ ง ๆ เป็ นไปไดด้ ว้ ยดี โดยเฉพาะหากระบบสารสนเทศน้นั ออกแบบ เพอื่ เอ้ืออาํ นวยใหห้ น่วยงานท้งั ภายในและภายนอก ท่อี ยใู่ นระบบของซพั พลายท้งั หมด จะทาํ ใหผ้ ทู้ ม่ี ีส่วนเก่ียวขอ้ งท้งั หมดสามารถใชข้ อ้ มูลร่วมกนั ได้ และทาํ ใหก้ ารประสานงาน หรือการทาํ ความเขา้ ใจเป็ นไปไดด้ ว้ ยดียงิ่ ข้นึ ประสิทธิผล (Effectiveness) 1. ระบบสารสนเทศช่วยในการตดั สินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบสาํ หรับผบู้ ริหาร เช่น ระบบสารสนเทศท่ีช่วยในการสนบั สนุนการตดั สินใจ (Decision support systems) หรือระบบ สารสนเทศสาํ หรบั ผบู้ ริหาร (Executive support systems) จะเอ้ืออาํ นวยใหผ้ บู้ ริหารมีขอ้ มูลในการ ประกอบการตดั สินใจไดด้ ีข้ึน อนั จะส่งผลใหก้ ารดาํ เนินงานสามารถบรรลุวตั ถุประสงคไ์ วไ้ ด้ 2. ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินคา้ /บริการทีเ่ หมาะสมระบบสารสนเทศจะ ช่วยทาํ ใหอ้ งคก์ ารทราบถึงขอ้ มูลทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ตน้ ทุน ราคาในตลาดรูปแบบของสินคา้ /บริการทมี่ ี อยู่ หรือช่วยทาํ ใหห้ น่วยงานสามารถเลือกผลิตสินคา้ /บริการท่มี ีความเหมาะสมกบั ความเชี่ยวชาญ หรือทรัพยากรทมี่ ีอยู่ 3. ระบบสารสนเทศช่วยปรบั ปรุงคุณภาพของสินคา้ /บริการใหด้ ีข้ึนระบบสารสนเทศทาํ ใหก้ ารตดิ ต่อระหวา่ งหน่วยงานและลูกคา้ สามารถทาํ ไดโ้ ดยถูกตอ้ งและรวดเร็วข้ึน ดงั น้นั จงึ ช่วยให้ หน่วยงานสามารถปรบั ปรุงคุณภาพของสินคา้ /บริการใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ ไดด้ ีข้ึน และรวดเร็วข้ึนดว้ ย 4. ความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั (Competitive Advantage) 5. คุณภาพชีวติ การทาํ งาน (Quality o f Working Life) คณุ สมบตั ิของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพวิ เตอร์ถูกสร้างข้ึนมาเพอื่ ใหม้ ีจดุ เด่น 4 ประการ เพอื่ ทดแทน ขอ้ จาํ กดั ของมนุษย์ เรียกวา่ 4 S special ดงั น้ี 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บขอ้ มูลจาํ นวน มากและเป็นเวลานาน นบั เป็น จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็ นหวั ใจของการทาํ งานแบบ อตั โนมตั ขิ องเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ท้งั เป็ นตวั บ่งช้ีประสิทธิภาพของคอมพวิ เตอร์แต่ละเครื่อง ดว้ ย รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอ้ มลู (Processing Speed) โดยใชเ้ วลานอ้ ย เป็ นจุดเด่นทางโครงสรา้ งท่ีผใู้ ชท้ วั่ ไปมีส่วน เก่ียวขอ้ งนอ้ ยทส่ี ุด เป็นตวั บง่ ช้ีประสิทธิภาพของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีสาํ คญั ส่วนหน่ึง เช่นกนั 3. ความเป็นอตั โนมตั ิ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลขอ้ มูล ตามลาํ ดบั ข้นั ตอนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและตอ่ เนื่องอยา่ งอตั โนมตั ิ โดยมนุษยม์ ีส่วนเก่ียวขอ้ งเฉพาะใน ข้นั ตอนการกาํ หนด 4. ความน่าเชื่อถอื (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลใหเ้ กิดผลลพั ธท์ ีถ่ ูกตอ้ ง ความน่าเชื่อถือนบั เป็นสิ่งสาํ คญั ทส่ี ุดในการทาํ งานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ความสามารถน้ีเก่ียวขอ้ ง กบั โปรแกรมคาํ สงั่ และขอ้ มลู ทมี่ นุษยก์ าํ หนดใหก้ บั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์โดยตรง กล่าวคอื หากมนุษย์ ป้ อนขอ้ มูลทไ่ี ม่ถูกตอ้ งใหก้ บั เครื่องคอมพวิ เตอร์ก็ยอ่ มไดผ้ ลลพั ธท์ ่ไี มถ่ ูกตอ้ งดว้ ยเช่นกนั ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร์ 1. จุดกาํ เนิดของคอมพิวเตอร์ ตน้ กาํ เนิดของคอมพวิ เตอร์อาจกล่าวไดว้ า่ มาจากแนวความคิดของระบบตวั เลข ซ่ึงได้ พฒั นาเป็นวธิ ีการคาํ นวณตา่ ง ๆ รวมท้งั อุปกรณ์ที่ช่วยในการคาํ นวณอยา่ งงา่ ย ๆ คือ\" กระดาน คาํ นวณ\" และ \"ลูกคดิ \" ในศตวรรษท่ี 17 เครื่องคาํ แบบใชเ้ ฟ่ื องเคร่ืองแรกไดก้ าํ เนิดข้ึนจากนกั คณิตศาสตร์ชาว ฝรัง่ เศส คือ Blaise Pascal โดยเครื่องของเขาสามารถคาํ นวณการบวกการลบไดอ้ ยา่ งเท่ียงตรง และ ในศตวรรษเดียวกนั นกั คณิตศาสตร์ชาวเยอรมนั คอื Gottried Wilhelm von Leibniz ไดส้ ร้างเครื่อง คดิ เลขเครื่องแรกทส่ี ามารถคูณและหารไดด้ ว้ ย ในตน้ ศตวรรษท่ี 19 ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Joseph Marie Jacquard ไดพ้ ฒั นาเครื่องทอผา้ ท่ี สามารถโปแกรมได้ โดยเคร่ืองทอผา้ น้ีใชบ้ ตั รขนาดใหญ่ ซ่ึงไดเ้ จาะรูไ้ วเ้ พอื่ ควบคุมรูปแบบของลาย ท่จี ะปัก บตั รเจาะรู(punched card) ท่ี Jacquard ใชน้ ้ีไดถ้ ูกพฒั นาตอ่ ๆมาโดยผอู้ ื่น เพอ่ื ใชเ้ ป็ นอุปกรณ์ ป้ อนขอ้ มูลและโปรแกรมเขา้ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในยคุ แรกๆ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 6 ต่อมาในศตวรรษเดียวกนั ชาวองั กฤษช่ือ Charles Babbage ไดท้ าํ การสร้างเครื่องสาํ หรบั แก้ สมการโดยใชพ้ ลงั งานไอน้าํ เรียกวา่ difference engine และถดั จากน้นั ไดเ้ สนอทฤษฎีเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์สมยั ใหม่ เมื่อเขาไดท้ าํ การออกแบบ เครื่องจกั รสาํ หรับทาํ การวเิ คราะห์ (analytical engine) โดยใชพ้ ลงั งานจากไอน้าํ ซ่ึงไดม้ ีการออกแบบใหใ้ ชบ้ ตั รเจาะรูของ Jacquard ในการป้ อน ขอ้ มูล ทาํ ใหอ้ ุปกรณ์ชิ้นน้ีมีหน่วยรับขอ้ มูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล และหน่วยเกบ็ ขอ้ มูล สาํ รอง ครบตามรูปแบบของคอมพวิ เตอร์สมยั ใหม่ แตโ่ ชคไม่ดีทแี่ มว้ า่ แนวความคดิ ของเขวจะ ถูกตอ้ ง แต่เทคโนโลยใี นขณะน้นั ไม่เอ้ืออาํ นวยตอ่ การสร้างเครื่องทีส่ ามารถทาํ งานไดจ้ ริง อยา่ งไรก็ ดี Charles Babbage กไ็ ดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็ นบดิ าของคอมพวิ เตอร์คนแรก และผรู้ ่วมงานของเขาคอื Augusta Ada Byron กไ็ ดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็นนกั เขียนโปรแกรมคนแรกของโลก เคร่ือง Difference Engine ของ Charles Babbage จากน้นั ประมาณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ไดพ้ ฒั นาเคร่ืองจดั เรียงบตั รเจาะรูแบบ electromechanical ข้นึ ซ่ึงทาํ งานโดยใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ า และสามารถทาํ การ จดั เรียง (sort) และ คดั เลือก (select) ขอ้ มูลได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ไดท้ าํ การก่อต้งั บริษทั สาํ หรบั เคร่ืองจกั รในการจดั เรียงชื่อ Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ไดข้ ยาย กิจการโดยเขา้ หุน้ กบั บริษทั อ่ืนอีก 2 บริษทั จดั ต้งั เป็ นบริษทั Computing -Tabulating-Recording- Company ซ่ึงประสบความสาํ เร็จเป็นอยา่ งมาก และในปี ค.ศ. 1924 ไดเ้ ปลี่ยนช่ือเป็ น International Business Corporation หรือท่ีรูจ้ กั กนั ตอ่ มาในชื่อของบริษทั IBM นน่ั เอง รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7 เคร่ืองจดั เรียงบตั รเจาะรูของ Dr. Her Hollerith ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ไดร้ ่วมมือกบั บริษทั IBM ออกแบบคอมพวิ เตอร์โดยใชท้ ฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I กไ็ ดถ้ ือ กาํ เนิดข้ึนเป็นคอมพวิ เตอร์เคร่ืองแรก ซ่ึงมีขนาดยาว 5 ฟตุ ใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าและใช้ relay แทนเฟื อง แตย่ งั ทาํ งานไดช้ า้ คอื ใชเ้ วลาประมาณ 3-5 วนิ าทีสาํ หรับการคูณ การพฒั นาที่สาํ คญั กบั Mark I ไดเ้ กิดข้นึ ปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จาก University of Pennsylvnia ไดอ้ อกแบบสรา้ งเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซ่ึงทาํ งานไดเ้ ร็วอยใู่ นหน่วยของหน่ึงส่วนลา้ นวนิ าที ในขณะท่ี Mark I ทาํ งานอยใู่ นหน่วยของหน่ึงส่วนพนั ลา้ นเทา่ โดยหวั ใจของความสาํ เร็จน้ีอยทู่ ่กี ารใชห้ ลอด สูญญากาศมาแทนท่ี relay นน่ั เอง และถดจากน้นั Mauchly และ Eckert กท็ าํ การสร้าง UNIVAC ซ่ึง เป็ นคอมพวิ เตอร์อิเลก็ ทรอนิกสเ์ พอ่ื การคา้ เคร่ืองแรกของโลก เคร่ือง ENIAC สูง 10 ฟตุ กว้าง 10 ฟุต และยาว 10 ฟตุ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 8 การพฒั นาท่สี าํ คญั ไดเ้ กิดข้นึ มาอีก เมอ่ื Jonh von Neumann ซ่ึงเป็ นทีป่ รึกษาของโครงการ ENIAC ไดเ้ สนอแผนสาํ หรบั คอมพวิ เตอร์เครื่องแรกที่จะทาํ การเกบ็ โปรแกรมไวใ้ นหน่วย โปรแกรมไวใ้ นหน่วยความจาํ ท่เี หมือนกบั ที่เกบ็ ขอ้ มูล ซ่ึงพฒั นาการน้ีทาํ ใหส้ ามารถเปล่ียนวงจร ของคอมพวิ เตอร์ไดโ้ ดยอตั โนมตั ิแทนที่จะตอ้ งทาํ การเปลี่ยนสวทิ ตด์ ว้ ยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจากน้ี Dr. Von neumann ยงั ไดน้ าํ ระบบเลขฐานสองมาใชใ้ นคอมพวิ เตอร์ซ่ึงหลกั การตา่ งๆ เหล่าน้ีไดท้ าํ ใหเ้ ครื่อง IAS ทสี่ ร้างโดย Dr. von Neumann เป็ นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เอนกประสงค์ เคร่ืองแรกของโลก เป็นการเปิ ดศกั ราชของคอมพวิ เตอร์อยา่ งแทจ้ ริงและยงั ไดเ้ ป็ นบิดาคอมพวิ เตอร์ คนท่ี 2 2. ยคุ ของคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์มีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง สามารถแบ่งออกไดโ้ ดยแบง่ ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 4 ยคุ ดว้ ยกนั ยคุ ท่ี 1 (1951-1958) ก่อนหนา้ ปี 1951 เครื่องคอมพวิ เตอร์จะมีใชเ้ ฉพาะนกั วทิ ยาศาสตร์ วศิ วกร และทหาร เทา่ น้นั จนกระทงั่ ผสู้ รา้ ง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ไดจ้ ดั ต้งั บริษทั เพอ่ื ทาํ ตลาดเชิงพาณิชย์ ของเครื่องรุ่นถดั มาของพวกเขา คอื เครื่อง UNIVAC ซ่ึงคอมพวิ เตอร์ในยคุ น้ีจะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็ นส่วนประกอบสาํ คญั แตห่ ลอดสุญญากาศจะมีไม่น่าเช่ือถือ สูง เป็นเหตุใหต้ อ้ งใชค้ วามพยายามอยา่ งมากในการทาํ ใหเ้ ครื่องในยคุ น้นั สามารถทาํ งานได้ ส่วน ดรัมแม่เหล็กถูกใชเ้ ป็นหน่วยความจาํ หลกั (primary memory) บนเครื่องคอมพวิ เตอร์ส่วนมากในยคุ แรกน้ี ส่วนหน่วยบนั ทึกขอ้ มูลสาํ รอง (secondary storage) ซ่ึงใชเ้ กบ็ ท้งั ขอ้ มูลและคาํ สงั่ โปรแกรม ในยคุ น้ีจะอยใู่ นบตั รเจารู จนปลายยคุ น้ีเทปแม่เหล็กจงึ ไดถ้ ูกนาํ มาใชเ้ ป็ นหน่วยบนั ทึกขอ้ มูลสาํ รอง ภาษาคอมพวิ เตอร์ในยคุ น้ีจะอยใู่ นรูปของภาษาเครื่อง ซ่ึงเป็ นตวั เลขฐาน 2 ท้งั สิ้น ทาํ ใหผ้ ทู้ ่ี จะสามารถโปรแกรมใหเ้ คร่ืองทาํ งานได้ ตอ้ งเป็ นผเู้ ช่ียวชาญเทา่ น้นั รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 9 เคร่ือง UNIVAC ยคุ ท่ี 2 (1959-1964) การพฒั นาท่ีสาํ คญั ทีส่ ุดทแ่ี บง่ แยกยคุ น้ีออกจากยคุ แรก คือการแทนท่หี ลอดสูญญากาศดว้ ย ทรานซิสเตอร์ (Transistor) หน่วยความจาํ พน้ื ฐานก็ไดม้ ีการพฒั นามาเป็ น magnetic core รวมท้งั มี การใช้ magnetic disk ซ่ึงเป็นหน่วยบนั ทกึ ขอ้ มูลสาํ รองทม่ี ีความเร็วสูงข้ึน นอกจากน้ี ส่วนประกอบ ท่ีคอมพวิ เตอร์ไดถ้ ูกรวบรวมเขา้ ไวใ้ น แผน่ วงจรพมิ พล์ าย (printed circuit boards) ซ่ึงงา่ ยต่อการ เปลี่ยนและมีการสรา้ งโปรแกรมวเิ คราะหเ์ พอื่ หาส่วนผดิ พลาดไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ภาษาโปรแกรมระดบั สูง เช่น FORTRAN และ COBOL ไดถ้ ูกใชใ้ นการโปรแกรมสาํ หรับ ยคุ น้ี โปรแกรมเมอร์สามารถใชง้ านภาษาเหล่าน้ีไดส้ ะดวกกวา่ คอมพวิ เตอร์ในยคุ ที่ 1 เน่ืองจากมี ไวยากรณ์ทค่ี ลา้ ยคลึงกบั ภาษาองั กฤษ อยา่ งไรก็ดี เนื่องจากคอมพวิ เตอร์สามารถทาํ งานไดแ้ ต่เฉพาะ กบั ภาษาเคร่ือง ทาํ ใหต้ อ้ งใชโ้ ปรแกรมตวั อ่ืน คอื compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดบั สูงให้เป็ นภาษาเคร่ือง ในยคุ ที่ 2 เริ่มมีการตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ 2 เคร่ืองทีอ่ ยหู่ ่างกนั โดยผา่ น สายโทรศพั ท์ ถึงแมว้ า่ จะติดสื่อสารกนั ไดช้ า้ มากกต็ าม ปัญหาในยคุ น้ีคอื อุปกรณ์รับขอ้ มลู และ อุปกรณ์แสดงผลทาํ งานไดช้ า้ มาก ทาํ ใหค้ อมพวิ เตอร์ตอ้ งรอการรับขอ้ มูลหรือการแสดงผลบอ่ ย ๆ ซ่ึง Dr.Daniel Slotnick ไดท้ าํ การพฒั นาเพมิ่ เติม โดยใชห้ ลกั การของการประมวลผลแบบขนานกนั นอกจากน้นั ยงั มีกลุ่มคณาจารยแ์ ละนกั เรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พฒั นา ระบบ มลั ติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซ่ึงเป็ นการจดั สรรใหค้ อมพวิ เตอร์ทาํ งานหลาย โปรแกรมพรอ้ ม ๆ กนได้ ทาํ ใหไ้ ม่ตอ้ งเสียเวลารอหน่วยรบั ขอ้ มูลและหน่วยแสดงผลอีกตอ่ ไป รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 10 ยคุ ท่ี 3 (1965-1971) ในยคุ ที่ 3 เป็นยคุ ของอุตสาหกรรมคอมพวิ เตอร์ที่มีการเติบโตมาก ไดม้ ีการนาํ แผงวงจร รวม (IC หรือ integrated circuits) ซ่ึงประกอบดว้ ยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้ าทีร่ วมอยบู่ นแผน่ ซิลิกอนเลก็ ๆ มาแทนการประกอบแผน่ วงจรพมิ พล์ าย ทาํ ใหเ้ วลาการทาํ งานขิงคอมพวิ เตอร์ลดลง อยใู่ นหน่วยหน่ึงส่วนพนั ลา้ นวนิ าที นอกจากน้ี มนิ ิคอมพวิ เตอร์ไดถ้ อื กาํ เนิดข้ึนในปี ค.ศ.1965 คอื เครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment Corportion (DEC) ซ่ึงต่อมากม็ ีการใชม้ ินิคอมพวิ เตอร์ท่ี สามารถติดต่อกบั คอมพวิ เตอร์กนั อยา่ งแพร่หลาย รวมท้งั มีการใชง้ าน เทอร์มินลั (terminal) ซ่ึงเป็ น จอคอมพวิ เตอร์ผา่ นทาง คยี บ์ อร์ด (keyboard) ทาํ ใหก้ ารป้ อนขอ้ มูลและพฒั นาโปรแกรมกระทาํ ได้ สะดวกข้ึน แผงวงจรรวมเปรียบเทียบกันทรานซิสเตอร์และหลอดสูญญากาศ ภาษาโปรแกรมระดบั สูงไดเ้ กิดข้ึนมากมานในยคุ ที่ 3 เช่น RPG APL BASICA เป็ นตน้ และไดม้ ีการเปิ ดตวั โปรแกรมจดั การระบบ (Operating system) ซ่ึงช่วยใหส้ ามารถบริการทรพั ยากร ของคอมพวิ เตอร์ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ระบบแบง่ เวลา (time sharing) ก็ทาํ ใหส้ ามารถ ตดิ ต่อเทอร์มินลั จาํ นวนมากเขา้ ไปยงั คอมพวิ เตอร์ 1 เคร่ือง โดยทผี่ ใู้ ชแ้ ต่ละคนสามารถทาํ งานใน ส่วนของตนไดพ้ ร้อม ๆ กนั ยคุ ที่ 4 (1971-ปัจจบุ นั ) ในยคุ ท่ี 4 เทคโนโลยแี ผงวงจรรวมไดพ้ ฒั นาข้ึนเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากน้นั กม็ ีการพฒั นาตา่ งเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large- Scale integartion - VLSI) ซ่ึงทาํ ให้เกิด microprocessor ตวั โลกของโลก คอื Intel 4004 จากบริษทั รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 11 Intel ซ่ึงเป็นการใชแ้ ผน่ ชิฟเพยี งแผน่ เดียวสาํ หรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คาํ นวณเลข ตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพวิ เตอร์ท้งั หมดเทคนิคในการยอ่ ทรานซีสเตอร์ใหอ้ ยกู่ นั อยา่ งหนาแน่นบนแผน่ ซิลิกอนน้ี ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องจากปัจจุบนั สามารถเก็บ ทรานซิสเตอร์นบั ลา้ นตวั ไวใ้ นชิปเพียงหน่ึงแผน่ ในส่วนของหน่วยบนั ทึกขอ้ มูลสาํ รอง (secondary storage) กไ็ ดเ้ พมิ่ ความจขุ ้ึนอยา่ งมากจนสามารถเก็บขอ้ มูลนบั พนั ลา้ นตวั อกั ษรไดใ้ นแผน่ ดิสก์ ขนาด 3 นิ้ว เน่ืองจากการเพมิ่ ความจุของหน่วยบนั ทึกขอ้ มูลสาํ รองนี่เอง ซอฟตแ์ วร์ชนิดใหม่ได้ พฒั นาข้ึน เพอื่ ใหส้ ามารถเก็บรวมรวบและบนั ทึกแกไ้ ขขอ้ มูลจาํ นวณมหาศาลทถี่ ูกจดั เกบ็ ไว้ นนั่ คือ ซอฟร์แวร์ ฐานขอ้ มูล (Data base ) นอกจากน้ี ยงั มีการถือกาํ เนิดข้ึนของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ส่วน บุคคลในปี 1975 คอื เคร่ือง Altair ซ่ึงใชช้ ิป intel 8080 และถดั จากน้นั กเ็ ป็ นยคุ ของเครื่อง และ ตามลาํ ดบั ในส่วนของซอฟตแ์ วร์กไ็ ดม้ กี ารพฒั นาใหเ้ ป็ นมิตรกบั ผใู้ ช้ มีขนาดใหญ่และซบั ซอ้ นมาก ข้ึนเร่ือย ๆ รวมท้งั มีการนาํ เทคนิคตา่ ง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพฒั นา การพฒั นาทีส่ าํ คญั อื่นๆในยคุ ท่ี 4 คอื การพฒั นาเคร่ืองขา่ ยคอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาํ ให้ คอมพวิ เตอร์สามารถเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนกนั ได้ โดยการใชง้ านภายในองคก์ รน้นั ระบบ เครือข่ายทอ้ งถิ่น (Local Area Networks) ซ่ึงนิยมเรียกวา่ แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเช่ืองโยง เคร่ืองนบั รอ้ ยเขา้ ดว้ ยกนั ในพ้นื ที่ไทห่ ่าวกนั นกั ส่วนระบบเครื่องขา่ ยระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทาํ หนา้ ทีเ่ ชื่อมโยงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ที่อยหู่ ่างไกลคนละซีกโลก เขา้ ดว้ ยกนั การประยกุ ตใ์ ชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศในปัจจบุ นั ไดม้ ีการนาํ มาใชใ้ นหลายสาขา วชิ าชีพ ท้งั ในดา้ นการศึกษา ดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรม ดา้ นการแพทย์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพอื่ อาํ นวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การทาํ งาน การศึกษาหาความรู้ ทาํ ให้ คุณภาพชีวติ ของคนในสงั คมปัจจบุ นั ดีข้ึน นอกจากน้ีหน่วยงานราชการต่างๆ กน็ าํ เทคโนโลยี สารสนเทศและ ระบบคอมพวิ เตอร์ เขา้ มาอาํ นวยความสะดวกใหก้ บั ประชาชน ในการติดต่อ ประสานงานกบั ทางราชการ และในธุรกิจเอกชนทางดา้ นการโรงแรม และการทอ่ งเทยี่ ว ก็ ใหบ้ ริการขอ้ มูลขา่ วสาร และบริการลูกคา้ ผา่ นทางระบบอินเทอร์เน็ต ทาํ ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วทนั เหตกุ ารณ์ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศที่นาํ มาใชส้ าํ หรับการเรียนการสอน เป็ นการใชเ้ ทคโนโลยสี มยั ใหม่หลาย อยา่ ง สอนดว้ ยสื่ออุปกรณ์ทีท่ นั สมยั หอ้ งเรียนสมยั ใหม่ มีอุปกรณ์วดิ ีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มีเครื่องคอมพวิ เตอร์ มีระบบการอ่านขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์แบบต่าง ๆ รูปแบบของสื่อที่ นาํ มาใชใ้ นดา้ นการเรียนการสอน กม็ ีหลากหลาย ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมในการนาํ มาใช้ เช่น คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน อิเลก็ ทรอนิกส์บุค วดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวดิ ีโอออนดีมานด์ การ สืบคน้ ขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์ และระบบอนิ เทอร์เน็ต เป็ นตน้ - คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เป็นการนาํ เอาเทคโนโลยี รวมกบั การออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ ช่วยสอน ซ่ึงเรียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ บทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจดั โปรแกรมการสอน โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน ในปัจจบุ นั มกั อยใู่ นรูปของสื่อประสม (Multimedia) ซ่ึงหมายถึงนาํ เสนอไดท้ ้งั ภาพ ขอ้ ความ เสียง ภาพเคล่ือนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วย สอนน้ีเหมาะกบั การศึกษาดว้ ยตนเอง และเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนสามารถโตต้ อบ กบั บทเรียนได้ ตลอด จนมีผลป้ อนกลบั เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนรู้ บทเรียนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และเขา้ ใจในเน้ือหาวชิ าของ บทเรียนน้นั ๆ - การเรียนการสอนโดยใชเ้ วบ็ เป็นหลกั เป็ นการจดั การเรียน ทม่ี ีสภาพการเรียนต่างไปจากรูป แบบเดิม การเรียนการสอนแบบน้ี อาศยั ศกั ยภาพและความสามารถของเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึง เป็ นการนาํ เอาสื่อการเรียนการสอน ทเี่ ป็ นเทคโนโลยี มาช่วยสนบั สนุนการเรียนการสอน ใหเ้ กิด การเรียนรู้ การสืบคน้ ขอ้ มูล และเช่ือมโยงเครือขา่ ย ทาํ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเรียนไดท้ กุ สถานท่ีและทกุ เวลา การจดั การเรียนการสอนลกั ษณะน้ี มีชื่อเรียกหลายช่ือ ไดแ้ ก่ การเรียนการสอนผา่ นเวบ็ (Web- based Instruction) การฝึกอบรมผา่ นเวบ็ (Web-based Trainning) การเรียนการสอนผา่ นเวลิ ด์ ไวด์ เวบ็ (www-based Instruction) การสอนผา่ นส่ือทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-learning) เป็นตน้ - อิเล็กทรอนิกสบ์ ุค๊ คือการเกบ็ ขอ้ มูลจาํ นวนมากดว้ ยซีดีรอม หน่ึงแผน่ สามารถเก็บขอ้ มูล ตวั อกั ษรไดม้ ากถึง 600 ลา้ นตวั อกั ษร ดงั น้นั ซีดีรอมหน่ึงแผน่ สามารถเกบ็ ขอ้ มูลหนงั สือ หรือ เอกสารไดม้ ากกวา่ หนงั สือหน่ึงเล่ม และทส่ี าํ คญั คอื การใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ ทาํ ใหส้ ามารถเรียก คน้ หาขอ้ มลู ภายในซีดีรอม ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วโดยใชด้ ชั นี สืบคน้ หรือสารบญั เรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อท่ี รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 13 มีบทบาทต่อการศกึ ษาอยา่ งยงิ่ เพราะในอนาคตหนงั สือต่าง ๆ จะจดั เก็บอยใู่ นรูปซีดีรอม และเรียก อ่านดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ ที่เรียกวา่ อิเล็กทรอนิกสบ์ คุ ซีดีรอมมีขอ้ ดคี อื สามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู ใน รูปของมลั ตมิ ีเดีย และเม่ือนาํ ซีดีรอมหลายแผน่ ใส่ไวใ้ นเคร่ืองอ่านชุดเดียวกนั ทาํ ใหซ้ ีดีรอมสามารถ ขยายการเก็บขอ้ มูลจาํ นวนมากยงิ่ ข้ึนได้ - วดิ ีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ หมายถึงการประชุมทางจอภาพ โดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารส่ือสารทท่ี นั สมยั เป็นการประชุมร่วมกนั ระหวา่ งบุคคล หรือคณะบุคคลท่อี ยตู่ ่างสถานท่ี และห่างไกลกนั โดยใชส้ ื่อ ทางดา้ นมลั ตมิ ีเดีย ที่ใหท้ ้งั ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง เสียง และขอ้ มูลตวั อกั ษร ในการประชุมเวลา เดียวกนั และเป็นการส่ือสาร 2 ทาง จงึ ทาํ ให้ ดูเหมือนวา่ ไดเ้ ขา้ ร่วมประชุมร่วมกนั ตามปกติ ดา้ น การศึกษาวดิ ีโอเทคเลคอนเฟอเรนซ์ ทาํ ใหผ้ เู้ รียนและผสู้ อนสามารถติดตอ่ ส่ือสารกนั ได้ ผา่ นทาง จอภาพ โทรทศั นแ์ ละเสียง นกั เรียนในหอ้ งเรียน ทอ่ี ยหู่ ่างไกลสามารถเห็นภาพและเสียง ของผสู้ อน สามารถเห็นอากบั กิริยาของ ผสู้ อน เห็นการเคลื่อนไหวและสีหนา้ ของผสู้ อนในขณะเรียน คุณภาพ ของภาพและเสียง ข้ึนอยกู่ บั ความเร็วของช่องทางการส่ือสาร ทใี่ ชเ้ ชื่อมต่อระหวา่ งสองฝั่งทม่ี ีการ ประชุมกนั ไดแ้ ก่ จอโทรทศั น์หรือจอคอมพวิ เตอร์ ลาํ โพง ไมโครโฟน กลอ้ ง อุปกรณ์เขา้ รหสั และ ถอดรหสั ผา่ นเครือขา่ ยการส่ือสารความเร็วสูงแบบไอเอสดีเอ็น (ISDN) - ระบบวดิ ีโอออนดีมานด์ (Video on Demand) เป็ นระบบใหม่ท่กี าํ ลงั ไดร้ ับความนิยมนาํ มาใช้ ใน หลายประเทศเช่น ญีป่ ่ นุ และสหรฐั อเมริกา โดยอาศยั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาํ ให้ผชู้ ม ตามบา้ นเรือนตา่ ง ๆ สามารถเลือกรายการวดิ ีทศั น์ ทต่ี นเองตอ้ งการชมไดโ้ ดยเลือกตามรายการ (Menu) และเลือกชมไดต้ ลอดเวลา วดิ ีโอออนดีมานด์ เป็ นระบบทม่ี ีศูนยก์ ลาง การเก็บขอ้ มูลวดี ิ ทศั น์ไวจ้ าํ นวนมาก โดยจดั เกบ็ ในรูปแหล่งขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Video Server) เม่ือผใู้ ชต้ อ้ งการเลือก ชมรายการใด ก็เลือกไดจ้ ากฐานขอ้ มูลท่ีตอ้ งการ ระบบวดิ ีโอ ออนดีมานดจ์ งึ เป็ นระบบท่จี ะนาํ มาใช้ ในเรื่องการเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีขอ้ จาํ กดั ดา้ นเวลา ผเู้ รียนสามารถเลือกเรียน ในสิ่งท่ี ตนเองตอ้ งการเรียนหรือสนใจได้ - การสืบคน้ ขอ้ มูล (Search Engine) ปัจจุบนั ไดม้ ีการกลา่ วถึงระบบการสืบคน้ ขอ้ มูลกนั มาก แมแ้ ตใ่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยกุ ตใ์ ชไ้ ฮเปอร์เทก็ ซใ์ นการสืบคน้ ขอ้ มูล จนมี โปรโตคอลชนิดพเิ ศษท่ีใชก้ นั คอื World Wide Web หรือเรียกวา่ www. โดยผใู้ ชส้ ามารถเรียกใช้ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 14 โปรโตคอล http เพอื่ เช่ือมโยงเขา้ สู่ระบบไฮเปอร์เทก็ ซ์ ซ่ึงเป็ นฐานขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เทก็ ซม์ ีลกั ษณะเป็นแบบมลั ตมิ ีเดีย เพราะสามารถสรา้ งเป็ นฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ ท้งั ภาพ เสียง และตวั อกั ษร มีระบบการเรียกคน้ ท่ีมีประสิทธิภาพ โดยใชโ้ ครงสรา้ งดชั นีแบบลาํ ดบั ช้นั ภมู ิ โดยทวั่ ไป ไฮเปอร์เทก็ ซ์จะเป็ นฐานขอ้ มูลทีม่ ีดชั นีสืบคน้ แบบเดินหนา้ ถอยหลงั และบนั ทกึ ร่องรอยของการสืบคน้ ไว้ โปรแกรมที่ใชใ้ นการสรา้ งไฮเปอร์เทก็ ซม์ ีเป็ นจาํ นวนมาก ส่วน โปรแกรมทีม่ ีช่ือเสียงไดแ้ ก่ HTML Compossor FrontPage Macromedia Dreamweaver เป็ นตน้ ปัจจุบนั เราใชว้ ธิ ีการสืบคน้ ขอ้ มูล เพอ่ื นาํ ขอ้ มลู ทไี่ ดไ้ ปใชป้ ระกอบในการทาํ เอกสารรายงานต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว - อินเทอร์เน็ต คือเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงประกอบดว้ ยเครือข่ายยอ่ ย และเครือขา่ ยใหญ่ สลบั ซบั ซอ้ นมากมาย เชื่อมตอ่ กนั มากกวา่ 300 ลา้ นเคร่ืองในปัจจบุ นั โดยใชใ้ นการติดตอ่ สื่อสาร ขอ้ ความรูปภาพ เสียงและอ่ืน ๆ โดยผา่ นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ที่มีผใู้ ชง้ านกระจายกนั อยทู่ ว่ั โลก ปัจจุบนั ไดม้ ีการนาํ ระบบอินเทอร์เน็ต เขา้ มาใชใ้ นวงการศกึ ษากนั ทวั่ โลก ซ่ึงมีประโยชนใ์ น ดา้ นการเรียนการสอนเป็นอยา่ งมาก ประยุกต์ใช้ในงานทะเบยี นของสถานศึกษา - งานรับมอบตวั ทาํ หนา้ ทีต่ รวจสอบหลกั ฐานที่นกั ศึกษานาํ มารายงานตวั จากน้ันกจ็ ดั เก็บประวตั ิ ภมู ิหลงั นกั ศกึ ษา เช่น ภูมิลาํ เนา บิดามารดา ประวตั กิ ารศกึ ษา ทนุ การศึกษา ไวใ้ นแฟ้ มเอกสารขอ้ มูล ประวตั นิ กั ศึกษา - งานทะเบียนเรียนรายวชิ า ทาํ หนา้ ทีจ่ ดั รายวชิ าท่ีตอ้ งเรียนใหก้ ั บนกั ศึกษา ในแต่ละภาคเรียนทกุ ช้นั ปี ตามแผนการเรียนของแตล่ ะแผนก แลว้ จดั เกบ็ ไวใ้ นแฟ้ มขอ้ มูลผลการเรียน - งานประมวลผลการเรียน ทาํ หนา้ ที่นาํ ผลการเรียนจากอาจารยผ์ สู้ อนมาประมวลในแต่ละภาค เรียน จากน้นั ก็จดั เกบ็ ไวใ้ นแฟ้ มเอกสารขอ้ มูลผลการเรียน และแจง้ ผลการเรียนใหผ้ ทู้ ี่เก่ียวขอ้ ง ทราบ - งานตรวจสอบผจู้ บการศกึ ษา ทาํ หนา้ ทต่ี รวจสอบรายวชิ า และผลการเรียน ที่นกั ศึกษาเรียนต้งั แต่ เริ่มตน้ จนกระทงั่ จบหลกั สูตร จากแฟ้ มเอกสาร ขอ้ มูลผลการเรียน วา่ ผา่ นเกณฑก์ ารจบหรือไม่ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 15 - งานส่งนกั ศึกษาฝึกงาน ทาํ หนา้ ทห่ี าขอ้ มูลจากสถานท่ฝี ึกงาน ในแตล่ ะแห่งวา่ สามารถรองรบั จาํ นวน นกั ศกึ ษาท่ีจะฝึกงานในรายวชิ าต่าง ๆ ไดเ้ ป็ นจาํ นวนเทา่ ใด จากน้นั กจ็ ดั นกั ศกึ ษา ออก ฝึกงานตามรายวชิ า ใหส้ อดคลอ้ งกบั จาํ นวนท่ีสถานประกอบการตอ้ งการ ประยุกต์ใช้ในห้างสรรพสินค้าและสาขาย่อย เนื่องจากหา้ งสรรพสินคา้ เป็นศูนยก์ ารคา้ ขนาดใหญ่ มีอยหู่ ลายสาขาทจ่ี ดั จาํ หน่ายอยทู่ วั่ ประเทศ มีซพั พลายเออร์กวา่ พนั ราย และมีพนกั งานอยหู่ ลายพนั คน ดงั น้นั ขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ ง และ การตดั สินใจตอ้ งทาํ อยา่ งรวดเร็วเพอื่ ใหท้ นั ต่อเหตกุ ารณ์ ดงั น้นั การที่ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยจี ึงเป็ นสิ่งที่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ การใชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์และเคร่ืองอ่านบาร์โคด้ จึงมีความจาํ เป็ นฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศจะเป็นฝ่ายสนบั สนุน สิ่งสาํ คญั ทสี่ ุดคือ เราตอ้ งใหค้ วามมนั่ ใจไดว้ า่ ระบบจะตอ้ งทาํ งาน ไดไ้ ม่มีปัญหาขดั ขอ้ ง ปัจจุบนั ระบบการเชื่อมต่อหา้ งสรรพสินคา้ จะเป็ นแบบสอง ลกั ษณะคอื ใน ต่างจงั หวดั จะใชก้ ารเชื่อมต่อผา่ นดาวเทยี ม ในกรุงเทพจะใชก้ ารเช่ือมต่อแบบออนไลน์ ซ่ึงจะมีการ รับส่งขอ้ มูลกนั ทกุ วนั ในส่วนของไอที นอกจากจะตอ้ งทาํ ใหร้ ะบบ สามารถทาํ งานไดต้ ลอดเวลา แลว้ ยงั ตอ้ งมนั่ ใจดว้ ยวา่ ขอ้ มูลทรี่ บั ส่งกนั น้นั มีความถูกตอ้ ง ซ่ึงในแต่ละวนั มีขอ้ มลู มาก ทจ่ี ะตอ้ ง ผา่ นการประมวลผลใหแ้ ก่ผบู้ ริหารเพอ่ื ใชป้ ระกอบการตดั สินใจ ไม่วา่ จะเป็ นขอ้ มูลยอดขายขอ้ มูล สตอ็ กและขอ้ มลู ตา่ งๆ ท่ี ผบู้ ริหารตอ้ งการ ประยุกต์ใช้ในงานสาธารณสุขและการแพทย์ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดร้ ับการนาํ มาใชใ้ นการพฒั นา ดา้ นสาธารณสุขอยา่ งกวา้ งขวาง และ ทาํ ใหง้ านดา้ น สาธารณสุขเจริญกา้ วหนา้ อยา่ งรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ไดป้ รบั ระบบการ บริหารงาน และนาํ เทคโนโลยี สารสนเทศมาใชใ้ นงานต่างๆ ดงั น้ี - ดา้ นการลงทะเบยี นผปู้ ่ วย ต้งั แตเ่ ร่ิมทาํ บตั ร จ่ายยา เกบ็ เงนิ - การสนบั สนุนการรักษาพยาบาล โดยการเช่ือมโยงระบบคอมพวิ เตอร์ของโรงพยาบาล ตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั สามารถสร้างเครือขา่ ยขอ้ มูลทางการแพทย์ แลกเปลี่ยนขอ้ มูลของผปู้ ่ วย - สามารถใหค้ าํ ปรึกษาทางไกล โดยแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาํ นาญ เทคโนโลยสี ารสนเทศ จะช่วยใหแ้ พทย์ สามารถเห็นหนา้ หรือทา่ ทางของผปู้ ่ วยได้ ช่วยใหส้ ่งขอ้ มูลท่เี ป็ นเอกสาร หรือภาพเพอ่ื ประกอบการ พจิ ารณาของแพทยไ์ ด้ - เทคโนโลยสี ารสนเทศจะช่วยในการ ใหค้ วามรูแ้ ก่ประชาชนของแพทย์ หรือหน่วยงาน รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 16 สาธารณสุขตา่ งๆ เป็นไปดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว ไดผ้ ลข้ึน โดยสามารถใชส้ ื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวมีเสียงและอื่นๆ เป็นตน้ - เทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยใหผ้ บู้ ริหารสามารถกาํ หนดนโยบาย และตดิ ตามกาํ กบั การ ดาํ เนินงานตามนโยบายไดด้ ียงิ่ ข้ึน โดยอาศยั ขอ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ งฉบั ไว และขอ้ มูลที่จาํ ป็ น ท้งั น้ีอาจใช้ คอมพวิ เตอร์เป็นตวั เก็บขอ้ มูลต่างๆ ทาํ ใหก้ ารบริหารเป็นไปไดด้ ว้ ยความรวดเร็ว ถูกตอ้ งมากยง่ิ ข้นึ - ในดา้ นการใหค้ วามรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะ ดาวเทยี ม จะช่วยใหก้ ารเรียนการสอนทางไกล ทางดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณะสุข เป็ นไปไดม้ าก ข้ึนประชาชนสามารถเรียนรูพ้ ร้อมกนั ไดท้ วั่ ประเทศและ ยงั สามารถโตต้ อบหรือถามคาํ ถามไดด้ ว้ ย ประยุกต์ใช้ในงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มนกั วทิ ยาสตร์ วศิ วกรที่ตอ้ งการศึกษาพฤตกิ รรมบางอยา่ งของสิ่งมีชีวติ รวมถึงสิ่งแวดลอ้ ม ต่างๆ เช่นศกึ ษาการกระจายถิ่นทอี่ ยขู่ องนก การกระจายของแบคทเี รีย การสรา้ งอาณาจกั รของมด ผ้งึ ชีวติ ความเป็นอยขู่ องสตั วป์ ่ าต่าง ๆ การพ่งึ พาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั ตลอดจนระบบนิเวศวทิ ยา ความสนใจในการจาํ ลองความเป็นอยขู่ อง สิ่งมีชีวติ ไดม้ ีมานานแลว้ เริ่มต้งั แตค่ ร้ัง จอหน์ พอยเมน ผเู้ ป็ นนกั คณิตศาสตร์ เสนอแนวคดิ การทาํ ใหเ้ คร่ืองจกั รทาํ งานโดยอตั โนมตั ิภายใตโ้ ปรแกรม ซ่ึง เป็ นรากฐานของเครื่องคอมพวิ เตอร์ จนถึงปัจจบุ นั เกมแห่งชีวติ จึงเกิดข้นึ ประยุกต์ใช้ในงานด้านการส่ือสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยขี องการส่ือสารและโทรคมนาคมในปัจจบุ นั กา้ วไกลไปมาก มีบริการมากมายที่ ทนั สมยั และตอบรับกบั การนาํ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาํ เนินธุรกิจ ตวั อยา่ งการใชโ้ ทรศพั ทใ์ นปัจจบุ นั น้ีก็มิไดมีไวเ้ พยี งสาํ หรบั คุยสนทนาเพยี งอยา่ งเดียวอีกตอ่ ไป แตม่ นั สามารถช่วยงานไดม้ ากข้ึน โดย อา้ งอิงขอ้ มูลและการเปิ ดใหบ้ ริการของบริษทั มีติดต่อส่ือสารผา่ นดาวเทยี มท้งั ภาพและเสียง มี โทรศพั ทม์ ือถือรุ่นต่าง ๆ ออกมามากมาย พฒั นาท้งั หน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่นเทเลคอม เอเชีย คอร์ปอร์เรชนั่ จาํ กดั (มหาชน) ซ่ึงเป็ นผวู้ างแผนการก่อสรา้ ง และติดต้งั ขยายบริการโทรศพั ท์ พ้นื ฐาน 2.6 ลา้ นเลขหมาย ครอบคลมุ พน้ื ท่ีในเขตกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึงการซ่อมบาํ รุงรักษา เป็ นระยะเวลา 25 ปี และเป็นหน่ึงในผใู้ หบ้ ริการในปัจจุบนั ประยกุ ต์ใช้ในงานด้านการออกแบบผลิตภณั ฑ์ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการออกแบบ ไดม้ ีการนาํ คอมพวิ เตอร์มาช่วยในการ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 17 ออกแบบ ( CAD : Computer Aided Design) ออกแบบผลิตภณั ฑ์ ออกแบบสินคา้ และสามารถใช้ คอมพวิ เตอร์ช่วยควบคุมกระบวนการผลิต ( CAM : Computer Aided Menufacturing ) เช่นควบคุม อุณหภูมิ ควบคุมคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ ลดแรงงาน โดยใชค้ อมพวิ เตอร์ควบคุมหุ่นยนตท์ าํ งาน ประยกุ ต์ใช้ในสํานักงานภาครัฐและเอกชน ปัจจบุ นั ไดม้ ีการนาํ เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาใชใ้ นหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ มากมาย เช่น การทาํ บตั รประจาํ ตวั ประชาชน การเกิด การตาย การเสียภาษีอากร การทาํ ใบอนุญาต ขบั รถยนต์ การจา่ ยค่าสาธารณูปโภคตา่ งๆ การประมวลผลคะแนนเลือกต้งั ฯลฯ เป็ นตน้ งานเหล่าน้ี ไดม้ ีการนาํ ระบบสาํ นกั งานอตั โนมตั ิเขา้ มาใช้ เพอ่ื ทาํ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ข่าวสารที่รวดเร็ว และยงั ตอบสนองกบั การบริหารยคุ ใหม่ท่ตี อ้ งใชข้ อ้ มูลเป็นหลกั ในการบริหารจดั การ กล่าวโดยสรุปคอื ไดม้ ีการนาํ คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาใชใ้ นหน่วยงาน ต่าง ๆ เกือบทกุ วงการ ท้งั ภาครัฐและเอกชนไม่วา่ จะอยใู่ นรูปของบุคคลหรือองคก์ รใด ๆ ก็ตาม ฉะน้นั จึงจาํ เป็นอยา่ งยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ งมีการศกึ ษาทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในหน่วยงานดา้ น การศกึ ษากม็ ีความตน่ื ตวั และเปิ ดทาํ การเรียนการสอนในหลกั สูตรดงั กล่าว ท้งั ในระดบั อาชีวศึกษา และอุดมศกึ ษา และเป็นสาขาวชิ าท่ีมีนกั ศกึ ษา ใหค้ วามสนใจ กนั มากเนื่องจากยงั มีตลาดแรงงาน รองรับ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กกับการประยกุ ต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ 1. คอมพวิ เตอร์กราฟิกกบั การออกแบบ คอมพวิ เตอร์กราฟิกไดถ้ ูกนาํ มาใชใ้ นการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เราคงจะเคยไดย้ นิ คาํ วา่ CAD (Computer - Aided Design) ซ่ึงเป็นโปรแกรมสาํ หรับช่วยในการออกแบบทางวศิ วกรรม โปรแกรมเหล่าน้ีจะช่วยใหผ้ อู้ อกแบบหรือวศิ วกรออกแบบงานตา่ งๆ ไดส้ ะดวกข้ึน กล่าวคอื ผอู้ อกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเสน้ แลว้ ลงสี แสงเงา เพอ่ื ใหด้ ูคลา้ ยกบั ของจริงได้ นอกจากน้ี แลว้ เม่ือผอู้ อกแบบกาํ หนดขนาดของวตั ถุลงในระบบ CAD แลว้ ผอู้ อกแบบยงั สามารถยอ่ หรือขยาย ภาพน้นั หรือตอ้ งการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ไดด้ ว้ ย การแกไ้ ขแบบก็ทาํ ไดง้ า่ ยและสะดวกกวา่ การ ออกแบบบนกระดาษ ทางดา้ นวศิ วกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กถูกนาํ มาใชใ้ นการ ออกแบบวงจรต่างๆ ผอู้ อกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใชส้ ญั ลกั ษณ์ต่างๆ ทีร่ ะบบ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 18 จดั เตรียมไวใ้ หแ้ ลว้ มาประกอบกนั เป็ นวงจรทตี่ อ้ งการ ผอู้ อกแบบสามารถแกไ้ ข ตดั ต่อ เพมิ่ เตมิ วงจรไดโ้ ดยสะดวก นอกจากน้ียงั มีโปรแกรมสาํ หรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซ่ึงมี ความสามารถจดั การใหแ้ ผน่ ปร้ินตม์ ีขนาดทีจ่ ะวางอุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ไดเ้ หมาะสมทีส่ ุด การออกแบบพาหนะตา่ งๆ เช่น รถยนต์ เคร่ืองบิน หรือเคร่ืองจกั รต่างๆ ในปัจจบุ นั ก็ใช้ ระบบ CAD นกั ออกแบบสามารถจะออกแบบส่วนยอ่ ยๆ แตล่ ะส่วนก่อน แลว้ นาํ มาประกอบกนั เป็ นส่วนใหญ่ข้นึ จนเป็นเคร่ืองจกั รเครื่องยนตท์ ี่ตอ้ งการได้ นอกจากน้ีในบางระบบยงั สามารถท่จี ะ ทดสอบแบบจาํ ลองท่อี อกแบบไวไ้ ดด้ ว้ ย เช่น อาจจะออกแบบรถยนตแ์ ลว้ นาํ โครงสร้างของรถที่ ออกแบบน้นั มาจาํ ลองการวงิ่ โดยใหว้ งิ่ ที่ความเร็วตา่ งๆ กนั แลว้ ตรวจดูผลที่ได้ ซ่ึงการทดลองแบบ น้ีสามารถทาํ ไดใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์และจะประหยดั กวา่ การสรา้ งรถจริงๆ แลว้ นาํ ออกมาศกึ ษา ทดสอบการวงิ่ การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บา้ น สะพาน หรือโครงสร้างใดๆ ทางวศิ วกรรมโยธาและ สถาปัตยกรรม ก็สามารถทาํ ไดโ้ ดยใช้ CAD ช่วยในการออกแบบ หลงั จากสถาปนิกออกแบบ โครงสร้างในแบบ 2 มิติเสร็จแลว้ ระบบ CAD สามารถจดั การใหเ้ ป็ นภาพ 3 มิติ และยงั สามารถ แสดงภาพทมี่ ุมมองตา่ งๆ กนั ไดต้ ามท่ีผอู้ อกแบบตอ้ งการ นอกจากน้ีในบางระบบสามารถแสดง ภาพใหป้ รากฏต่อผอู้ อกแบบราวกบั วา่ ผอู้ อกแบบสามารถเดินเขา้ ไปภายในอาคารทอ่ี อกแบบไดด้ ว้ ย 2. กราฟและแผนภาพ คอมพวิ เตอร์กราฟิกถูกนาํ มาใชใ้ นการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของขอ้ มูลไดเ้ ป็ น อยา่ งดี โปรแกรมทางกราฟิกทวั่ ไปในทอ้ งตลาดจะเป็ นโปรแกรมที่ใชใ้ นการสร้างภาพกราฟและ แผนภาพ โปรแกรมเหล่าน้ียงั สามารถสร้างกราฟไดห้ ลายแบบ เช่น กราฟเสน้ กราฟแทง่ และกราฟ วงกลม นอกจากน้ียงั สามารถแสดงภาพกราฟไดท้ ้งั ในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาํ ใหภ้ าพกราฟท่ีได้ ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงนิ สถิติ และ ขอ้ มูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผบู้ ริหารหรือผจู้ ดั การกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาํ ความเขา้ ใจกบั ขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็วกวา่ เดิม ในงานวจิ ยั ตา่ งๆ เช่น การศกึ ษาทางฟิ สิกส์ กราฟ และแผนภาพมีส่วนช่วยใหน้ กั วจิ ยั ทาํ ความเขา้ ใจกบั ขอ้ มูลไดง้ ่ายข้ึนเมอื่ ขอ้ มูลที่ตอ้ งวเิ คราะหม์ ี จาํ นวนมาก ระบบขอ้ มูลทางภมู ิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เป็ นรูปแบบ หน่ึงของการแสดงขอ้ มูลในทาํ นองเดียวกบั กราฟและแผนภาพ ขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงใน ระบบคอมพวิ เตอร์ แลว้ ใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์กราฟิกจดั การแสดงขอ้ มูลเหล่าน้นั ออกมาทางจอภาพ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 19 ในรูปของแผนทีท่ างภูมิศาสตร์ 3. ภาพศลิ ป์ โดยคอมพวิ เตอร์กราฟิก การวาดภาพในปัจจบุ นั น้ีใครๆ ก็สามารถวาดไดแ้ ลว้ โดยไม่ตอ้ งใชพ้ กู่ นั กบั จานสี แต่จะใช้ คอมพวิ เตอร์กราฟิกแทน ภาพทวี่ าดในระบบคอมพวิ เตอร์กราฟิ กน้ีเราสามารถกาํ หนดสี แสงเงา รูปแบบลายเสน้ ท่ีตอ้ งการไดโ้ ดยงา่ ย ภาพโฆษณาทางโทรทศั น์หลายชิ้นกเ็ ป็ นงานจากการใช้ คอมพวิ เตอร์กราฟิก ขอ้ ดีของการใชค้ อมพวิ เตอร์วาดภาพกค็ อื เราสามารถแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ส่วนท่ี ตอ้ งการไดง้ า่ ย นอกจากน้ีเรายงั สามารถนาํ ภาพตา่ งๆ เก็บในระบบคอมพวิ เตอร์ไดโ้ ดยใชเ้ ครื่อง สแกนเนอร์ (Scanner) แลว้ นาํ ภาพเหล่าน้นั มาแกไ้ ข 4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใชค้ อมพวิ เตอร์ ภาพยนตร์การ์ตนู และภาพยนตป์ ระเภทนิยายวทิ ยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ท่ีใชเ้ ทคนิคพเิ ศษ ต่างๆ ในปัจจุบนั มีการนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กเขา้ มาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเคล่ือนไหว (Computer Animation) มากข้นึ เนื่องจากเป็ นวธิ ีทส่ี ะดวก รวดเร็ว และงา่ ยกวา่ วธิ ีอื่นๆ นอกจากน้ี ภาพท่ไี ดย้ งั ดูสมจริงมากข้ึน เช่น ภาพยานอวกาศทปี่ รากฏในภาพยนตร์ประเภทนิยายวทิ ยาศาสตร์ เป็ นตน้ การใชค้ อมพวิ เตอร์กราฟิกช่วยใหภ้ าพท่ีอยใู่ นจินตนาการของมนุษยส์ ามารถนาํ ออกมาทาํ ใหป้ รากฏเป็นจริงได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชนม์ ากท้งั ในระบบการศึกษา การอบรม การวจิ ยั และการจาํ ลองการทาํ งาน เช่น จาํ ลองการขบั รถ การขบั เครื่องบนิ เป็ นตน้ เกมสค์ อมพวิ เตอร์หรือ วดิ ีโอเกมส์ก็ใชห้ ลกั การทาํ ภาพเคลื่อนไหนในคอมพวิ เตอร์กราฟิ กเช่นกนั 5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาํ วา่ อิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพทีเ่ กิดจากการถ่ายรูป หรือจากการสแกนภาพใหป้ รากฏบนจอภาพคอมพวิ เตอร์ วธิ ีการทางอิเมจโปรเซสซิงกจ์ ะตา่ งกบั วธิ ีการของคอมพวิ เตอร์กราฟิก กล่าวคอื ในระบบคอมพวิ เตอร์กราฟิก ตวั คอมพวิ เตอร์เองจะเป็นตวั ท่สี รา้ งภาพ แตเ่ ทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิงกน์ ้นั ใชค้ อมพวิ เตอร์สาํ หรับการจดั รูปแบบของสีและ แสงเงาทม่ี ีอยแู่ ลว้ ในภาพใหเ้ ป็นขอ้ มูลทางดิจิตอล แลว้ อาจจะมีวธิ ีการทาํ ใหภ้ าพทรี่ บั เขา้ มาน้ันมี ความชดั เจนมากข้ึนกอ่ น จากน้นั ก็จดั การกบั ขอ้ มูลดิจติ อลน้ีใหเ้ ป็ นภาพส่งออกไปท่ีจอภาพของ คอมพวิ เตอร์อีกที วธิ ีการน้ีมีประโยชนใ์ นการแสดงภาพของวตั ถุที่เราไม่สามารถจะเห็นไดโ้ ดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวสี แกนของหุ่นยนตอ์ ุตสาหกรรม เป็ นตน้ เมื่อภาพถ่ายถูกทาํ ใหเ้ ป็นขอ้ มูลดิจติ อลแลว้ เราก็สามารถจะจดั การแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงภาพ น้นั ไดโ้ ดยจดั การกบั ขอ้ มลู ดิจติ อลของภาพนนั่ เอง ซ่ึงเรากจ็ ะใชห้ ลกั การของคอมพวิ เตอร์กราฟิกมา ใชก้ บั ขอ้ มูลเหล่าน้ีได้ เช่น ในภาพสาํ หรบั การโฆษณา เราสามารถทาํ ใหภ้ าพทเี่ ห็นเหมือภาพถ่าย น้นั แปลกออกไปจากเดิมไดโ้ ดยมีภาพบางอยา่ งเพมิ่ เขา้ ไปหรือบางส่วนของภาพน้นั หายไป ทาํ ให้ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 20 เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็นจริงแต่ดูเหมือนกบั เกิดข้ึนจริงได้ เป็ นตน้ เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงกส์ ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ บั การแพทยไ์ ด้ เช่น เครื่องเอกซเรย์ โท โมกราฟี (X-ray Tomography) ซ่ึงใชส้ าํ หรับแสดงภาพตดั ขวางของระบบร่างกายมนุษย์ เป็ นตน้ จากท่ีกล่าวมาแลว้ เราจะเห็นไดว้ า่ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กน้นั นบั วนั ยงิ่ มีความสาํ คญั ใน สาขาวชิ าต่างๆ มากข้ึน ดงั น้นั จึงเป็นการดีท่เี ราควรจะมีความรู้ความเขา้ ใจในหลกั การและทคนิ คเบ้ืองตน้ ตา่ งๆ ทใี่ ชใ้ นคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก ภาพยนตร์กับคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก ความสาํ เร็จในการพฒั นาการแสดงผลเป็ นภาพสี ในช่วงปลายทศวรรษที่ 70 ทาํ ให้ คอมพวิ เตอร์กราฟิกกลายมาเป็นเครื่องมือสาํ คญั สาํ หรับการพฒั นาสื่อประเภทอ่ืนโดยเฉพาะการ สรา้ งเป็นภาพยนตร์ รวมท้งั นาํ มาใชส้ รา้ งเทคนิคพเิ ศษ (Special Effect) ในระยะแรกๆ ภาพเคล่ือนไหวคอมพวิ เตอร์กราฟิกถูกนาํ มาใชก้ บั โครงการอวกาศก่อน เช่น โครงการวอยเอจเจอร์ (Voyager) ขององคก์ ารบริหารการบินและอวกาศหรือนาซ่า สหรฐั อเมริกา ในปลายทศวรรษท่ี 70 ภาพเคลื่อนไหวของโครงการน้ีไดจ้ ดุ ประกายความคิดในการนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กมาใชเ้ ป็ น เคร่ืองมือ เพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นการเดินทางของยานวอยเอจเจอร์ทโี่ คจรผา่ นดาวเสาร์และดาวพฤหสั ใน ระยะใกลด้ ว้ ยความเร็วสูงโดยใชเ้ วลาจริง 20 ชวั่ โมง แต่ภาพทป่ี รากฏออกมาในเบ้ืองตน้ ไม่ เหมาะสมแก่การเผยแพร่นกั เนื่องจากตาํ แหน่งท่ีวอยเอจเจอร์บนั ทกึ ภาพอยหู่ างจากดวงอาทิตยม์ าก และเม่ือวอยเอจเจอร์โคจรผา่ ยดาวเสาร์ไปทาํ ใหต้ าํ แหน่งของดวงอาทติ ยไ์ ปปรากฎอยดู่ า้ นหลงั ดาว เคราะห์ ภาพดาวเสาร์จงึ แสดงใหเ้ ห็นเงามืดเสียเป็ นส่วนใหญ่ แต่เน่ืองจากสญั ญาณทว่ี อยเอจเจอร์ ส่งกลบั มายงั โลกเป็นขอ้ มลู ดิจิตอล ทาํ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตร์สามารถนาํ ขอ้ มลู เหล่าน้นั มาปรบั แต่งสีให้ เหมาะกบั การนาํ เสนอทางโทรทศั น์ จึงทาํ ใหไ้ ดภ้ าพทีส่ วยงามและชดั เจนยิง่ ข้นึ ต่อมาความสาํ เร็จจากภาพยนตร์เรื่องสตาร์วอร์ (Star War) ในปี ค.ศ. 1979 ซ่ึงมีการนาํ คอมพวิ เตอร์ไปใชส้ รา้ งเทคนิคพเิ ศษหลายดา้ น โดยเฉพาะเทคนิคควบคุมการเคลื่อนกลอ้ งดว้ ย คอมพวิ เตอร์ ทาํ ใหผ้ สู้ รา้ งภาพยนตร์เลง็ เห็นความสาํ คญั ของการนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กมาใช้ ในปี ค.ศ. 1984 บริษทั พคิ ซาร์ สหรฐั อเมริกา โดย John Lasseter ผเู้ ป็ นท้งั ศลิ ปิ น นกั โปรแกรมและ นกั วจิ ยั คอมพวิ เตอร์ ไดผ้ สมผสานศาสตร์ทางศิลปะและวทิ ยาศาสตร์เขา้ ดว้ ยกนั โดยสร้างภาพยนตร์ เรื่องส้นั คอมพวิ เตอร์กราฟิกที่นาํ ออกฉาย เรื่องแรกชื่อ Luxo Jr. โดยตวั ละครเป็นโคมไฟต้งั โตะ๊ ใน บทของแม่และลูก ต่อมาบริษทั พคิ ซาร์ ไดเ้ สนอภาพยนตร์คอมพวิ เตอร์กราฟิ กอีกสองเรื่องคือ Red's Dream และ Tin Toy ตวั เอกในเรื่องเป็ นของเล่นไขลานนกั ดนตรี ทาํ จากสงั กะสี ช่ือ Tinny ภาพยนตร์เรื่องน้ีไดร้ บั รางวลั ออสการ์ในสาขาเทคนิคพเิ ศษการสรา้ งภาพเคล่ือนไหวดว้ ย รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 21 คอมพวิ เตอร์ในปี ค.ศ. 1986 อยา่ งไรก็ดีภาพยนตร์คอมพวิ เตอร์กราฟิ กทผี่ า่ นมายงั คงถูกสรา้ งข้ึนเป็ นภาพยนตร์ส้นั ๆ จนกระทงั่ ในปี ค.ศ. 1991 บริษทั พคิ ซาร์และวอลดิสนียไ์ ดร้ ่วมกนั สรา้ งภาพยนตร์คอมพวิ เตอร์ กราฟิกเร่ืองยาวเป็นเร่ืองแรก คือ ทอยสตอรี (Toy Story) ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นถึงศกั ยภาพของ คอมพวิ เตอร์กราฟิกมาเป็นเครื่องมือสาํ คญั ในการใชส้ ร้างภาพยนตร์ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมาก ซ่ึง ภายหลงั ไดม้ ีการผลิตภาพยนตร์คอมพวิ เตอร์กราฟิกออกมาอีกหลายเร่ือง คอมพวิ เตอร์กราฟิกกบั เทคนิคพเิ ศษในภาพยนตร์ ถึงแมว้ า่ ภาพยนตร์คอมพวิ เตอร์กราฟิ ก จากโครงการวอยเอจเจอร์จะปรากฏแก่สายตาของ ฝงู ชนในปลายทศวรรษที่ 70 ไปแลว้ แต่คอมพวิ เตอร์กราฟิ กยงั ไม่นิยมนาํ มาสร้างเทคนิคพเิ ศษใน ภาพยนตร์นกั นอกจากการใชเ้ ป็นเครื่องมือในการตกแตง่ ตดั ต่อภาพยนตร์ และควบคุมการเคล่ือน กลอ้ ง (Motion Control) ดว้ ยวธิ ีนาํ คอมพวิ เตอร์ไปใชค้ วบคุมอุปกรณ์วดั ตาํ แหน่งเพลาและการหมุน ของมอเตอร์ทตี่ ิดต้งั บนแทน่ กลอ้ ง ทาํ ใหส้ ามารถควบคุมการเคล่ือนไหวกลอ้ งภาพยนตร์ใหเ้ ป็ นไป อยา่ งต่อเน่ืองและแลดูเป็นธรรมชาติ ภาพทบ่ี นั ทึกการเคลื่อนไหวของหุ่นจาํ ลองในทิศทางตา่ งๆ จงึ แลดูสมจริงกวา่ ภาพยนตร์ทผ่ี า่ นมามาก คอมพวิ เตอร์กราฟิกถูกนาํ มาใชส้ ร้างภาพเทคนิคในภาพยนตร์คร้ังแรกเม่ือปี ค.ศ. 1979 เมื่อ บริษทั วอลดิสนียไ์ ดเ้ สนอภาพยนตร์เรื่อง ตรอน (Tron) ซ่ึงเป็ นเรื่องเป็ นเรื่องราวการผจญภยั ของเด็ก หนุ่มสาว 2 คนทีถ่ ูกส่งเขา้ ไปภายในระบบคอมพวิ เตอร์ ถึงแมว้ า่ ภาพยนตร์เร่ืองน้ีจะไม่ไดป้ ระสบ ความสาํ เร็จเท่ากบั สตาร์วอสแ์ ต่เทคนิคพเิ ศษในภาพยนตร์เรื่องตรอน ก็เป็ นจุดเปล่ียนแปลงท่ีสาํ คญั ของการนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิกมาใชส้ ร้างเทคนิคพเิ ศษ ทีท่ ดแทนวธิ ีการแบบเก่าในอุตสาหกรรม ภาพยนตร์ ในปี ค.ศ. 1982 บริษทั พราราเมาส์พกิ เจอร์ร่วมกบั บริษทั ลูกสั ฟิ ลม์ ไดน้ าํ เสนอภาพยนตร์ เรื่องสตาร์เทรค 2 (Star Trek II) ในภาพยนตร์น้ีมีฉากหน่ึงทนี่ าํ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กมาสรา้ ง ภาพเคล่ือนไหวยาว 20 วนิ าที คอื ภาพแสดงโครงการเจเนซิส ทีม่ ีวตั ถุประสงคส์ รา้ งโลกใหม่ของ มนุษย์ จุดเด่นของภาพคอมพวิ เตอร์กราฟิ กคือ เทคนิคท่ีแสดงภาพการระเบดิ เป็ นอนุภาคฝ่ ุนและ กาํ แพงไฟที่ผวิ ดาวเคราะห์และขยายตวั ไปอยา่ งรวดเร็วจนทวั่ ท้งั ดวงดาว ทาํ ใหเ้ รียกเทคนิคพเิ ศษที่ เป็ นอนุภาค (Particle) ในเร่ืองน้ีวา่ Genesis Demo พฒั นาการของเทคนิคพเิ ศษไดก้ า้ วไปอีกข้นั หน่ึงเม่ือ บริษทั ไอแอลเอม็ (Industrial Light & Magic : ILM) ไดส้ ร้างความฉงนใหก้ บั ผชู้ มภาพยนตร์ในเวลาน้นั ดว้ ยภาพยนตร์เร่ือง Abyss ในปี ค.ศ. 1989 ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงเทคนิคพเิ ศษคอมพวิ เตอร์กราฟิ กทีก่ า้ วหนา้ มากท่ีสุด ตอ่ มาในปี ค.ศ. รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 22 1991 บริษทั ไอแอลเอม็ ไดส้ รา้ งเทคนิคพเิ ศษสาํ หรับภาพยนตร์เร่ือง The Terminator 2 : Judgement Day ความสาํ เร็จของการใชเ้ ทคนิคพเิ ศษในภาพยนตร์ทาํ ใหค้ อมพวิ เตอร์กราฟิ กกลายเป็ นเคร่ืองมือ สาํ คญั สาํ หรบั การสร้างสรรคภ์ าพจากจนิ ตนาการของผปู้ ระพนั ธบ์ นใหป้ รากฏออกมาในภาพยนตร์ ทใ่ี หค้ วามสมจริงได้ อาจกล่าวไดว้ า่ ในกลางทศวรรษที่ 90 เป็ นคน้ มา การพฒั นาระบบฮาร์ดแวร์ และซอฟตแ์ วร์ทใี่ ชส้ ร้างเทคนิคพเิ ศษส่งผลใหเ้ กิดทางเลือกใหม่แก่ผผู้ ลิตภาพยนตร์ คือ เน้ือหาของบทภาพยนตร์ไม่ถูกจาํ กดั การนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กมาใชท้ าํ ใหเ้ น้ือหาบท ภาพยนตร์ไม่ถูกจาํ กดั ดว้ ยเทคนิคและกระบวนการสร้างภาพยนตร์อีกต่อไป ศิลปิ นมีความอิสระใน การสรา้ งภาพยนตร์ โดยไม่จาํ กดั ตวั เองใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ฎเกณฑใ์ นธรรมชาติ เช่น ตาํ แหน่ง ความเร็ว น้าํ หนกั ของวตั ถุและกลอ้ งในภาพยนตร์ เครื่องมือชิ้นใหม่สาํ หรับเทคนิคพเิ ศษ คอมพวิ เตอร์กราฟิ กกลายเป็ นเคร่ืองมือชิ้นหน่ึง สาํ หรบั การสรา้ งเทคนิคพเิ ศษ เช่น ภาพการระเบิด เปลวไฟ การลบบางส่วนของภาพออก รวมท้งั การนาํ ไปใชส้ รา้ งตวั ละครประกอบในฉากจาํ นวนมากๆ การใหค้ วามสมจริง คุณภาพของภาพทีป่ รากฏในฉากภาพยนตร์ ผชู้ มจะไม่สามารถแยกได้ วา่ ภาพทปี่ รากฏเป็นเหตกุ ารณ์จริง หรือเกิดจากเทคนิคพเิ ศษทสี่ ร้างข้ึนดว้ ยคอมพวิ เตอร์กราฟิ ก รวมท้งั การพฒั นาระบบทีเ่ สมือนจริงซ่ึงสามารถสร้างสิ่งแวดลอ้ มสามมิตขิ ้ึนมารอบตวั ผชู้ มไดอ้ ยา่ ง น่าต่ืนตา การลดตน้ ทุนการผลิต ผผู้ ลิตภาพยนตร์สามารถลดข้นั ตอนการถ่ายทาํ ลงใหอ้ ยภู่ ายในฉาก เดียวกนั ได้ โดยเฉพาะในเหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ พรอ้ มกนั หลายๆ เหตกุ ารณ์ เช่น ฉากการตอ่ สูข้ องยาน รบในอวกาศที่สบั สนวนุ่ วายหรือภาพฝงู ไดโนเสาร์จาํ นวนหลายสิบตวั ท่กี าํ ลงั วงิ่ ไล่ล่ากนั การปรับปรุงคุณภาพการผลิต การผลิตภาพยนตร์ในระยะหลงั ไดพ้ ฒั นาท้งั ระบบการ บนั ทกึ ภาพและเสียงท่แี ต่เดิมกระทาํ ในระบบอนาลอ็ กไดถ้ กู เปล่ียนมาใชร้ ะบบดิจติ อลทใ่ี หภ้ าพและ เสียงคมชดั การใชค้ อมพวิ เตอร์กราฟิกควบคุมการเคล่ือนไหวกลอ้ งบนั ทกึ รวมท้งั กระบวนการหลงั ถ่ายทาํ เช่น การตดั ต่อและการบนั ทกึ เสียง เป็ นตน้ คอมพวิ เตอร์กราฟิกเป็นรูปแบบของการสรา้ งสรรคง์ านศิลปะท่ปี ราศจากขอ้ จาํ กดั ซ่ึง สามารถขยายพรมแดนการแสดงออกของจินตนาการ ทาํ ใหศ้ ิลปิ นสามารถสรา้ งสรรคภ์ าพทไ่ี ม่เคย มีผใู้ ดเคยเห็นมาก่อน เช่น ภาพวตั ถุทม่ี ีขนาดเลก็ หรือยหู่ ่างไกลจากความเป็ นจริงดว้ ยระยะทางและ กาลเวลา ใหป้ รากฏออกมาไดอ้ ยา่ งสมจริง เราจะพบวา่ ภาพเคล่ือนไหวคอมพวิ เตอร์กราฟิ กนอกจาก กาํ ลงั เป็นสิ่งท่ลี บเสน้ ก้นั ระหวา่ งจติ นาการกบั ความเป็ นจริงที่ผชู้ มไม่อาจแยกออกจากกนั ไดอ้ ีก ต่อไปแลว้ ยงั สามารถสนองความรู้สึกและใหค้ วามตื่นตาตนื่ ใจแก่ผชู้ ม ในขณะที่ตน้ ทุนการนาํ คอมพวิ เตอร์กราฟิกมาใชก้ บั อุตสาหกรรมภาพยนตร์จะมีแนวโนม้ ทต่ี ่าํ ลง รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 23 การประยกุ ต์ใช้งานอนิ เทอร์เน็ต เมื่อเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเช่ือมโยงเครือข่ายทวั่ โลกใหส้ ามารถตดิ ตอ่ ถึงกนั ไดห้ มดจน กลายเป็นเครือข่ายของโลก ดงั น้นั จงึ มีผใู้ ชง้ านบนเครือขา่ ยน้ีจาํ นวนมาก การใชง้ านเหล่าน้ีเป็ นสิ่งท่ี กาํ ลงั ไดร้ บั การกล่าวถึงกนั ทวั่ ไป เพราะการเชื่อมโยงเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตทาํ ใหโ้ ลกไร้พรมแดน ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ งๆ สามารถสื่อสารถึงกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ตวั อยา่ งการใชง้ านบนอินเทอร์เน็ตทจ่ี ะ กล่าวตอ่ ไปน้ีเป็นเพยี งตวั อยา่ งที่แพร่หลายและใหก้ นั มากเท่าน้นั ยงั มีการประยกุ ตง์ านอ่ืนทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาข้ึนมาใหม่ตลอดเวลา 1) ไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนิกส์ (electronic mail หรือ e-mail) เป็ นการส่งขอ้ ความตดิ ต่อกนั ระหวา่ งบุคคลกบั บคุ คลกไ็ ด้ หากเปรียบเทยี บไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกสก์ บั ไปรษณียธ์ รรมดาจะ พบวา่ โดยหลกั การน้นั ไม่แตกต่างกนั มากนกั ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกสเ์ ปลี่ยนบุรุษไปรษณียใ์ หเ้ ป็ น โปรแกรม เปลี่ยนรูปแบบการจา่ หนา้ ซองจดหมายให้เป็ นการจ่าหนา้ แบบอา้ งอิงระบบ อิเล็กทรอนิกสโ์ ดยใชท้ ่อี ยขู่ องไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (email address) การส่ง ไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกส์น้นั มีรูปแบบท่ีงา่ ย สะดวกและรวดเร็ว หากตอ้ งการส่งขอ้ ความถึงใครกส็ ามารถเขียนเอกสาร แลว้ จ่าหนา้ ซองท่ี อยขู่ องผรู้ บั ระบบจะจาํ ส่งทนั ทีอยา่ งรวดเร็ว ลกั ษณะของอยทู่ จ่ี ะเป็ นช่ือรหสั ให้ และช่ือเครื่องประกอบกนั เช่น [email protected] การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตน้ี ระบบจะหา ตาํ แหน่งใหเ้ องโดยอตั โนมตั ิ และนาํ ส่งไปยงั ปลายางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง การบั ส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกสก์ าํ ลงั เป็นท่ีนิยมกนั อยา่ งแพร่หลาย รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 24 ปัจจุบนั ขอ้ มูลทสี่ ่งผา่ นไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนิกสน์ ้นั เป็ นเป็ นขอ้ มูลแบบใดก็ไดท้ อี่ ยใู่ น รูปแบบของดิจิทลั (digital) และสามารถใชภ้ าษาอะไรกไ็ ด้ 2) การโอนย้ายแฟ้ มข้อมูลระหว่างกัน (File Transfer Protocol : FTP) เป็ นระบบทที่ าํ ให้ ผใู้ ชส้ ามารถรบั ส่งแฟ้ มขอ้ มูลระหวา่ งกนั หรือมีสถานีใหบ้ ริการการเก็บแฟ้ มขอ้ มูลทอี่ ยใู่ นท่ตี า่ งๆ และใหบ้ ริการ ผใู้ ชส้ มารถเขา้ ไปคดั เลือกนาํ แฟ้ มขอ้ มูลมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เช่น โปรแกรม cuteFTP โปรแกรม wsFTP เป็นตน้ 3) การใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล (telnet) การเชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ กบั เครือขา่ ย ทาํ ใหเ้ ราสามารถตดิ ต่อเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทเี่ ป็ นสถานีบริการในทห่ี ่างไกลไดถ้ า้ สถานี บริการน้นั ยนิ ยอม ทาํ ใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถนาํ ขอ้ มูลไปประมวลผลยงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทอี่ ยใู่ น เครือข่าย เช่น นกั เรียนในประเทศไทยส่งโปรแกรมไปประมวลผลท่เี ครื่องคอมพวิ เตอร์ที่อยใู่ น บริษทั ในประเทศญี่ป่ ุนผา่ นทางระบบเครือข่ายโดยไม่ตอ้ งเดินทางไปเอง 4) การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร (search engine) ปัจจบุ นั มีฐานขอ้ มูลข่าวสารท่ีเกบ็ ไวใ้ หใ้ ช้ งานจาํ นวนมาก ฐานขอ้ มูลบางแห่งเกบ็ ขอ้ มูลในรูปส่งพมิ พอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ท่ผี ใู้ ชส้ มารถเรียกอ่าน หรือนาํ มาพมิ พ์ ฐานขอ้ มูลน้ีจงึ มีลกั ษณะเหมอื นเป็ นหอ้ งสมุดขนาดใหญ่อยภู่ ายในเครือขา่ ยที่ สามารถคน้ หาขอ้ มูลใดๆ ก็ได้ ฐานขอ้ มลู ในลกั ษณะน้ีเรียกวา่ เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (world wide wed : www) ซ่ึงเป็นฐานขอ้ มูลที่เช่ือมโยงกนั ทวั่ โลก รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 25 5) การอ่านจากกล่มุ ข่าว (USENET) ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มขา่ วเป็ นกลุ่มๆ แยกตาม ความสนใจ แต่ละกลุ่มขา่ วอนุญาตใหผ้ ใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตส่งขอ้ ความไปได้ และหากผใู้ ดตอ้ งการ เขียนโตต้ อบกส็ ามารถเขยี นได้ กลุ่มขา่ วน้ีจึงแพร่หลายและกระจายขา่ วไดร้ วดเร็ว 6) การสนทนาบนเครือข่าย (chat) เมื่อเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตเชื่อมต่อถึงกนั ไดท้ วั่ โลกผใู้ ช้ จงึ สามารถใชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตเป็ นตวั กลางในการติดตอ่ สนทนากนั ได้ ในยคุ แรกใชว้ ธิ ีการ สนทนากนั ดว้ ยตวั หนงั สือ เพอื่ โตต้ อบกนั แบบทีนทีทนั ใดบนจอภาพ ตอมามีผพู้ ฒั นาใหใ้ ชเ้ สียง ไดจ้ นถึงปัจจบุ นั ถา้ ระบบสื่อสารขอ้ มูลมีความเร็วพอ ก็สามารถสนทนาโดยทเ่ี ห็นหนา้ กนั และ กนั ใชส้ าํ หรับสนทนาบนเครือขา่ ย msn 7.6 โปรแกรม 7) การบริการสถานีวิทยแุ ละโทรทศั น์บน เครือข่าย เป็ นการ ประยกุ ตเ์ พอ่ื ใหเ้ ห็นวา่ เป็ นสิ่งทเี่ กิดข้ึนได้ ปัจจบุ นั มีผตู้ ้งั สถานี วทิ ยบุ นเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตหลายร้อย สถานี ผใู้ ชส้ ามารถเลือกสถานีทต่ี อ้ งการ และไดย้ นิ เสียงเหมือนการฟังวทิ ยุ ขณะเดียวกนั ก็มีการส่งกระจายภาพวดี ี ทศั น์บนเครือขา่ ยดว้ ย แตป่ ัญหายงั อยทู่ ่ี ความเร็วของเครือข่ายท่ยี งั ไม่สามารถ รองรบั การส่งขอ้ มูลจาํ นวนมาก ทาํ ให้ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
ความรูเ้ บ้ืองตน้ เก่ียวกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 26 คุณภาพของภาพวดี ีทศั นย์ งั ไม่ดีเท่าท่ีควร 8) การบริการบนอินเทอร์เน็ต ปัจจุบนั มีการใหบ้ ริการบนอินเตอร์เน็ตเกิดข้ึนมากมายโดย ผใู้ ชส้ ามารถใชบ้ ริการโดยอยทู่ ไี่ หนกไ็ ด้ ซ่ึงไม่ตอ้ งเสียเวลาในการเดินทาง การบริการบน อินเทอร์เน็ตมีท้งั เผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ ซ้ือข่ายสินคา้ ธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ คอมพวิ เตอร์ช่วย สอน และบริการอื่นๆ ซ่ึงการใหบ้ ริการเหล่าน้ีผใู้ ชส้ ามารถโตต้ อบได้ รายวชิ าพืน้ ฐานคอมพวิ เตอร์เบือ้ งต้นและสารสนเทศ เรียบเรียงโดย อาจารย์นเรศร์ บญุ เลศิ วท.บ.,คม.
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: