วิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ครผู ูส้ อน นางสาวธดิ ารตั น์ พาโนมยั วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ัน้นั ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชัน้ นั้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๖ หินในทอ้ งถน่ิ วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั ้นั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ีที่ ี่๖๓
๑. ประเภทของหนิ และการเกดิ หนิ ที่นักเรียนเคยเห็นไมว่ า่ จะเปน็ หินทีน่ ามาใช้ประโยชนใ์ นบ้านเรอื น หรือหินทอ่ี ยูต่ ามสถานทตี่ า่ ง ๆ มีลกั ษณะท่แี ตกตา่ งกัน นักเรียนทราบหรอื ไม่วา่ นักธรณีวทิ ยาจัดจาแนกหนิ เป็นประเภทใดบ้าง ตวั อย่างหินตามสถานท่ีตา่ ง ๆ วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นน้ั ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทีที่ ่ี๖๓
วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชัน้ นั้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
หินอคั นี เกดิ จากการเยน็ ตัวของหินหลอมเหลวท่เี รยี กวา่ แมกมา หรอื หนิ หลอมเหลวร้อนทไ่ี หลออกมานอกโลกทเ่ี รยี กว่า ลาวา เมอื่ แมกมาเคลอื่ นท่ีมาตามรอยแตกของเปลือกโลก จะเย็นตวั ลง และกลายเป็นหินแขง็ วิทยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั ้นั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
หนิ อคั นที ่เี กดิ จากการเยน็ ตัวลงภายในโลกทาให้เกดิ ผลึกแรท่ มี่ ขี นาดใหญ่ เช่น หินแกรนิต มองเหน็ ผลึกของแร่ แรค่ วอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์ แร่ไมกา วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นนั้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ีท่ี ี่๖๓
หนิ อัคนีท่เี กิดจากการปะทุของภูเขาไฟทาให้ แมกมาไหลออกมาทางปลอ่ งภูเขาไฟ ลาวาจะเยน็ ตวั ลงอย่างรวดเรว็ ขณะทล่ี าวาเยน็ ตัวลง หินอัคนีทเ่ี กดิ ลาวาที่ปะทุ ทาให้ผลกึ แรท่ เ่ี กดิ ขนึ้ มีขนาดเลก็ ถ้ามฟี องแกส๊ หนอี อกมา ในสภาพทอ่ี ณุ หภูมิ เช่น เช่น สง่ิ แวดล้อมต่าจะเย็นตวั ลง ทันทีจึงไมม่ ีผลกึ หินบะซอลต์ หนิ พัมมิซ หนิ ออบซเิ ดียน วิทยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
หินอัคนี ลาวาเยน็ ตวั ลงอยา่ งรวดเรว็ เกิดผลึกแรข่ นาดเล็ก แมกมาเยน็ ตัวลงช้า ๆ ลาวา เกิดผลึกแรข่ นาดใหญ่ แมกมา หนิ อัคนีเกิดจากแมกมาหรอื ลาวาเยน็ ตัวลง วทิ ยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชัน้ ้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
หนิ ตะกอน เมือ่ หลายพนั ล้านปมี าแลว้ เปลือกโลกเกิดการสึกกรอ่ นผพุ งั ทา ใหก้ ้อนหินมขี นาดเลก็ ลงเป็นกรวด ทราย และโคลน ซึ่งเรยี กว่า ตะกอน ตะกอนจะถูกนา้ พดั พาไปสะสมทับถมกัน เมอ่ื เวลาผา่ นไป ตะกอนก็จะทบั ถมเปน็ ช้ัน ๆ อดั แนน่ จนกลายเป็นหนิ ซึ่งเรียกวา่ หิน ตะกอน เรามกั จะพบซากของพชื และสัตวท์ ี่กลายเป็นหนิ อยใู่ นหิน ตะกอน เราเรียกซากพืชและสัตว์ทีก่ ลายเปน็ หินวา่ ซากดึกดาบรรพ์ หรอื ฟอสซิล วทิ ยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั น้ั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ี่ ่ี๖๓
ตะกอน การอัดแนน่ เป็นหิน หนิ ตะกอน การยกตัวขึน้ การกร่อน การพดั พา และการทับถม หินตะกอนเกิดจากการอัดแน่นของตะกอนขนาดตา่ ง ๆ วิทยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
ตวั อยา่ งของหินตะกอน หินดนิ ดาน หนิ ทราย หินกรวด เกดิ จากโคลนและ เกิดจากตะกอนทราย เกิดจากตะกอนทรายและกรวด ดินเหนียวอัดกันแน่น ยึดกนั ตามธรรมชาติ ตัวอยา่ งหนิ ตะกอน วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั ั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทีท่ี ่ี๖๓
ตัวอย่างของหินตะกอน หนิ ปนู หินยปิ ซมั หรอื เกลือหนิ เกดิ จากแร่แคลไซต์ เกิดจากแร่ท่ตี กตะกอน จากน้าทะเล ตัวอย่างหินตะกอน วิทยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั น้ั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทีท่ี ่ี๖๓
หินแปร เปน็ หนิ อคั นหี รือหนิ ตะกอนทเี่ ปล่ียนสภาพไปเป็นหินอกี ชนดิ หนึ่ง เมือ่ เวลา ผา่ นไปนานเข้า หนิ อคั นแี ละหินตะกอนทีอ่ ยใู่ ตช้ ัน้ หินใหมท่ ่ที ับถมกนั มากข้ึน เรอ่ื ย ๆ ไดร้ บั ความดันสูง ความดันนท้ี าใหเ้ กดิ ความร้อนสูงดว้ ย นอกจากน้หี นิ อาจไดร้ ับความร้อนและความดนั จากแมกมาท่ีแทรกอยูภ่ ายในเปลอื กโลกหรือ จากลาวา ทาให้หนิ รอ้ นมากแตไ่ ม่หลอมเหลว ความดันและความรอ้ นสูงภายใน โลกนที้ าให้หินอัคนหี รอื หินตะกอนเปลี่ยนสภาพไปกลายเปน็ หินแปร หนิ แปรอาจเกดิ จากหนิ อคั นี หรอื หินตะกอน หรอื หินแปรเอง วทิ ยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ั้นปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ีท่ี ่ี๖๓
ถ้าสังเกตหินแปรอย่างละเอียดจะเห็นลักษณะของผลึกหรือตะกอนถูกอัดเข้า ดว้ ยกนั มเี น้ือแน่น แขง็ ขนึ้ กว่าหินอัคนีหรือหินตะกอนท่เี ปล่ียนสภาพมา ความดัน ความดนั หินแปร ความร้อน หินแปรเกิดจากหนิ อัคนีหรอื หนิ ตะกอนเปล่ยี นสภาพไป เนื่องจากความดนั และความร้อน วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ัน้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ี่ ี่๖๓
ตวั อย่างของหนิ แปร หินไนสแ์ ปรจาก หินชนวนแปรจากหนิ ดินดาน หนิ แกรนิตและหินอื่น ๆ ตัวอย่างหนิ แปร วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ั้นปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ี่ ี่๖๓
ตวั อยา่ งของหินแปร หนิ ควอรต์ ไซต์แปรจากหินทราย หนิ ออ่ นแปรจากหินปูน ตวั อย่างหินแปร วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั นั้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ่ี ่ี๖๓
๒. วัฏจกั รของหนิ วัฏจกั รเป็นการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขึ้น หมุนเวียนไป ในลักษณะท่ีเกิดข้ึนแล้วเกิดขึ้นอีก วัฏจักรของหนิ แสดง ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไปมาของหินทั้ง ๓ ประเภท ตามกระบวนการเกิดหิน ซ่ึงเกิดหมุนเวียนกันอย่าง ต่อเน่ือง วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ันัน้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ่ี ่ี๖๓
แผนภาพ วัฏจกั รของหนิ วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั ้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
วัฏจักรของหินเป็นการเปลี่ยนแปลง ไปมาของหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ซ่ึงเกดิ ข้ึนตอ่ เนื่องกันตลอดเวลา วิทยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั ้ันปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ่ี ่ี๖๓
๓. ประโยชน์ของหนิ และแร่ หนิ แตล่ ะชนดิ มคี วามแตกต่างกนั ไปทงั้ รปู รา่ ง สี ลวดลาย เนอ้ื หิน รวมท้ังความแข็ง แร่แต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตวั แตกตา่ งกัน ส่งผลให้ หินทปี่ ระกอบดว้ ยแร่ทแ่ี ตกต่างกนั มสี มบตั ิที่แตกตา่ งกันดว้ ย สมบตั ิ สาคัญของหินทเ่ี กดิ จากแรท่ ี่เป็นส่วนประกอบนี้ ไดแ้ ก่ สี ความแขง็ ความมันวาว สมบัติสาคญั ของหินนี้ทาใหห้ นิ ถกู นาไปใช้ประโยชน์ตา่ ง ๆ กนั วทิ ยาศาสตรแ์วิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชัน้ ัน้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ี่ ่ี๖๓
ทัง้ น้หี ากต้องการพิจารณาวา่ หินแต่ละชนิดมสี ่วนประกอบเปน็ แร่ ชนดิ เดยี วหรอื หลายชนิด อาจทาการทดลองงา่ ย ๆ โดยการนาหนิ มา ทบุ ให้แตก หากทุบแล้วเน้อื หนิ ท่ีแตกออกมีลักษณะเหมอื นกนั หมด แสดงว่าหนิ ชนิดนนั้ ประกอบด้วยแรเ่ พยี งชนดิ เดียว แตถ่ า้ ทบุ แล้วเนอ้ื หินทแ่ี ตกออกมีหลายลักษณะต่างกนั เชน่ สี ความมันวาว แสดงว่าหิน ชนดิ น้นั ประกอบด้วยแร่หลายชนิด วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นนั้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
หนิ ที่ประกอบด้วยแร่ชนดิ เดยี ว หินท่ปี ระกอบด้วยแรห่ ลายชนิด วทิ ยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ันัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ่ี ี่๖๓
หินในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็น หินตะกอนเราใช้ประโยชน์จากหินทา วั ต ถุ แ ล ะ สิ่ ง ข อ ง ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น มากมาย มีท้ังที่ทามาจากหินโดยตรง และทามาจากแร่ทอี่ ยูใ่ นหนิ วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ น้ั ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ่ี ่ี๖๓
ตวั อย่างการใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ การใช้ประโยชน์ของหิน โดยทั่วไปใช้ในการก่อสร้างสิ่งต่าง ๆ เช่น อาคาร บ้านเรือน ถนน ใช้ทาหินแกะสลักของตกแต่งประดับสวน อาคาร สถานท่ีต่าง ๆ และใช้ ทาส่งิ ของเคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ เชน่ ครก หินลบั มดี โตะ๊ เคร่ืองประดบั เครอ่ื งสุขภัณฑ์ วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นั้นปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ี่ ่ี๖๓
ตวั อย่างการใชป้ ระโยชน์ของหนิ และแร่ ตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ วทิ ยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ันั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
หินแต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน การใช้ ประโยชน์ของหินแต่ละประเภทจึงมีความแตกต่างกันด้วย โ ด ย อ า จ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง หิ น แ ต่ ล ะ ช นิ ด ดงั ตาราง วิทยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นน้ั ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทีที่ ี่๖๓
ตาราง การใชป้ ระโยชน์ของหินแตล่ ะประเภท วิทยาศาสตร์แวิทละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ันัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ่ี ่ี๖๓
ตาราง การใชป้ ระโยชนข์ องหนิ แตล่ ะประเภท (ต่อ) วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ่ี๖๓
ตาราง การใชป้ ระโยชนข์ องหนิ แตล่ ะประเภท (ต่อ) วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ัน้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ่ี๖๓
หินมีส่วนประกอบเป็นแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกันในเนื้อหินก็ได้ แร่บางชนิดในเนื้อหินสามารถแยกออกมาจากเน้ือหินได้ และนามาใช้ประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ เช่น แรอ่ ะลมู ิเนยี ม ใช้ในการผลิตเครอ่ื งใช้ รถยนต์ แรต่ ะกัว่ ใชใ้ นการผลิตภาชนะบรรจุอาหารสาเรจ็ รปู ช้ินส่วนคอมพวิ เตอร์ แรท่ องแดง ใชท้ าสายไฟฟา้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั ัน้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทีท่ี ่ี๖๓
วัตถุส่ิงของในชีวิตประจาวันทาจากหิน และแร่ ลักษณะหินและสมบัติของหินท่ีแตกต่างกัน นามาใช้ให้เหมาะกับงานทั้งในด้านการก่อสร้าง ด้านอตุ สาหกรรม และด้านอ่นื ๆ วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชั้นนั้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทีที่ ี่๖๓
ส่ิงของท่ีทาด้วยหินหรือทามาจากแร่ท่ีอยู่ ในหินในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด เกณฑ์ที่ใช้ใน การจัดจาแนกส่ิงของที่ทามาจากหินหรือทามา จากแร่ที่อยู่ในหิน ได้แก่ การใช้ประโยชน์ ชนิด ของหินหรอื แรท่ ี่นามาใชป้ ระโยชน์ วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั ั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
๔. ซากดึกดาบรรพ์ หากนักเรยี นรับฟังขา่ วสารหรอื เดินทางไปท่องเท่ียวในพนื้ ท่ภี าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย เช่น เกาะในจังหวดั สตูล ภเู ขาในจังหวัดลพบุรหี รือ ขอนแกน่ เราอาจพบเหน็ ซากของสิ่งมชี ีวติ ที่ตดิ อยูใ่ นหินหรอื แทรกตัวอยกู่ ับ หินเชน่ โครงกระดูกไดโนเสาร์ เปลือกหอยโบราณ นกั ธรณีวิทยาและนกั ชีววิทยาใหค้ วามสาคญั กบั ซากสิ่งมชี วี ติ เหล่าน้ี และเรยี กซากส่ิงมชี วี ิต เหล่าน้ีวา่ ซากดึกดาบรรพ์ วิทยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ั้นปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทีท่ี ่ี๖๓
ซากดึกดาบรรพไ์ ดโนเสาร์ ซากดกึ ดาบรรพ์สัตวท์ ะเล วิทยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั นั้ ปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ี่๖๓
ซากดึกดาบรรพ์ คือ ร่องรอยหรือ ซากของส่ิงมีชีวิต ท่ีเคยอาศัยอยู่ บริเวณนั้น เม่ือตายแล้ว ทับถมใน ชน้ั หนิ ตะกอน วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชน้ั ้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ีที่ ี่๖๓
ซากดึกดาบรรพเ์ กดิ จากซากส่ิงมีชวี ติ ในอดตี ถกู ทบั ถมดว้ ยตะกอนและเกิดการกลายเปน็ หนิ หรอื เกดิ จาก การประทับรอยของสิ่งมีชีวิตในอดตี เชน่ รอยตนี จนเกิดเป็น โครงสรา้ งของซากหรือร่องรอยของสิ่งมีชวี ิตทีป่ รากฏอย่ใู นหิน ในประเทศไทยพบซากดกึ ดาบรรพม์ ากมาย ทั้งพืชชนิดต่าง ๆ ปะการงั หอย ปลา เตา่ ไดโนเสาร์ และรอยตีนสัตว์ วิทยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ชนั้ ้ันปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปที ที ี่ ่ี๖๓
ซากดึกดาบรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐานหน่ึงท่ีบ่งบอกถึง ชนิดและลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอดีต และช่วยอธิบาย สภาพแวดล้อมของพ้ืนท่ีในอดีตขณะเกิดสิ่งมีชีวิตน้ัน เช่น หาก พบซากดึกดาบรรพ์ของปะการงั แสดงว่าสภาพแวดล้อมบริเวณ นัน้ อาจเคยเปน็ ทะเลมาก่อน วทิ ยาศาสตรแ์วทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้ันนั้ ปปรระะถถมมศศึกกึ ษษาาปปีทที ี่ ่ี๖๓
นักธรณีวิทยา นักชีววิทยา และนัก โบราณคดี ศึกษาซากดึกดาบรรพ์ เพ่ือ ใ ช้ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ใ น ก า ร อ ธิ บ า ย สิ่ ง ที่ เกิดขึ้นในอดีต เช่น สภาพธรรมชาติ ลักษณะสิ่งมีชีวิตในบริเวณที่พบซากดึก ดาบรรพ์ วทิ ยาศาสตร์แวทิละยเาทศคาโสนตโลรย์ ชี ช้นั ั้นปปรระะถถมมศศึกึกษษาาปปีทที ่ี ่ี๖๓
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: