คำยมื ภำษำตำ่ งประเทศในภำษำไทย บำลี-สนั สกฤต
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 22102 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 2 ครูผู้สอน นายพรชัย หวดั คล้าย ตัวชีว้ ดั 1.อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง (ท ๑.๑ ม.๒/๑) 2.จบั ใจความสาคญั สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเร่ืองท่ีอา่ น (ท ๑.๑ ม.๒/๒) 3.เขียนผงั ความคิดเพอื่ แสดงความเขา้ ใจในบทเรียนตา่ งๆ ท่ีอ่าน (ท ๑.๑ ม.๒/๓) 4.อภิปรายแสดงความคิดเห็น และขอ้ โตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เรื่องท่ีอ่าน (ท ๑.๑ ม.๒/๔) 5.วิเคราะห์และจาแนกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ มูลสนบั สนุน และขอ้ คิดเห็นจากบทความท่ีอา่ น (ท ๑.๑ ม.๒/๕) 6.ระบุขอ้ สงั เกตการชวนเชื่อการโนม้ นา้ ว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียน(ท ๑.๑ ม.๒/6) 7.อ่านหนงั สือ บทความ หรือคาประพนั ธ์อยา่ งหลากหลาย และประเมินคุณคา่ หรือแนวคิดที่ไดจ้ ากการอ่าน เพือ่ นาไปใชแ้ กป้ ัญหาใน ชีวิต (ท ๑.๑ม.๒/๗) 8.มีมารยาทในการอา่ น (ท ๑.๑ ม.๒/๘) 9.คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั (ท ๒.๑ ม.๒/๑) 10.เขียนยอ่ ความ (ท ๒.๑ ม.๒/๔) 11.เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ (ท ๒.๑ ม.๒/๕) 12.เขียนจดหมายกิจธุระ (ท ๒.๑ ม.๒/๖) 13.เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ ในเรื่องท่ีอ่านอยา่ งมีเหตุผล(ท ๒.๑ ม.๒/7) 14.มีมารยาทในการเขียน (ท ๒.๑ ม.๒/๘)
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 22102 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 2 ครูผ้สู อน นายพรชัย หวดั คล้าย 15.พดู สรุปใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีฟังและดู (ท ๓.๑ ม.๒/๑) 16.วิเคราะห์ขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น และความน่าเช่ือถือของข่าวสารจากส่ือต่างๆ (ท ๓.๑ ม.๒/๒) 17.วิเคราะห์และวจิ ารณ์เร่ืองท่ีฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ลเพือ่ นาขอ้ คิดมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ (ท ๓.๑ ม.๒/๓) 18.พดู ในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ (ท ๓.๑ ม.๒/๔) 19.พดู รายงานเร่ืองหรือประเดน็ ที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟัง การดู และการสนทนา (ท ๓.๑ ม.๒/๕) 20.มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู (ท ๓.๑ ม.๒/๖) 21.แตง่ บทร้อยกรอง (ท ๔.๑ ม.๒/3) 22.ใชค้ าราชาศพั ท์ (ท ๔.๑ ม.๒/๔) 23.รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย (ท ๔.๑ ม.๒/๕) 24.สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านในระดบั ที่ยากข้ึน (ท ๕.๑ ม.๒/๑) 25.วเิ คราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นท่ีอ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ(ท ๕.๑ ม.๒/๒) 26.อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน (ท ๕.๑ ม.๒/๓) 27.สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ น ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง (ท ๕.๑ ม.๒/๔) 28.ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ (ท ๕.๑ ม.๒/๕)
หน่วยที่ เน้อื หาแบง่ ออกเป็นหนอ่ ยดงั น้ี เรื่อง เรอื่ ง หน่วยที่ 1 รื่นเรงิ เพลงรำวง 6 โคลงสภุ ำษิตพระรำชนพิ นธ์ ร.5 โชคดีทีม่ ีภำษำไทย 2 กำพยห์ อ่ โคลงประพำสธำรทองแดง 7 เยน็ ศริ ะเพรำะพระบริบำล 3 ถกประเด็นทำเป็นรำยงำน 8 กลอนดอกสรอ้ ยรำพึงในปำ่ ช้ำ 4 พูดดมี เี สนห่ ์ 9 เด็กชำยเจ้ำปญั ญำ 5 ออมไว้ใส่ถุงแดง 10
โคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ ๏ ทาดไี ป่ เลอื กเว้น ๑. เพราะความดที วั่ ไป แต่ผูกไมตรีไป ผู้ใด ใดเฮย ทาคณุ อดุ หนุนใน รอบข้าง ไร้ศัตรูปองมล้าง การชอบ ธรรมนา กลบั ซ้องสรรเสริญ ๏ ยินคดมี เี ร่ืองน้อย ๓. เพราะถามฟงั ความก่อนตดั สิน ยังบ่ลงเห็นไป ใหญ่ไฉน กด็ ี ฟังตอบขอบคาไข เดด็ ด้วน ห่อนตดั สินห้วนห้วน คดิ ใคร่ ครวญนา เหตดุ ้วยเบาความ ๔. เพราะคดิ เสียก่อนจึงพูด ๏ พาทีมสี ตริ ้ัง รอคดิ รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง คาพูดพ่างลิขิต เขยี นร่าง เรียงแฮ ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตท้งั ห่างภยั ๏ ใดกจิ ผิดพลาดแล้ว ๗. เพราะขอโทษบรรดาท่ไี ดผ้ ดิ หย่อนทฐิ ิมานะ ไป่ ละ ลมื เลย ขอโทษเพื่อคารวะ อ่อนน้อม ดีกว่าปดอ้อมค้อม วายบาด หมางแฮ คดิ แก้โดยโกง
วัฒนธรรม ผแู้ ต่ง: หมอ่ มหลวงป่ิน มาลากลุ ในโลกนีม้ ีอะไรเป็ นไทยแท้ ของไทยแน่นนั้ หรือคือภาษา ซงึ่ ผลดิ อกออกผลแตต่ ้นมา รวมเรียกวา่ วรรณคดไี ทย อนงึ่ ศิลป์ งามเดน่ เป็ นของชาติ เชน่ ปราสาทปรางค์ทองอนั ผ่องใส อีกดนตรีราร่ายลวดลายไทย อวดโลกได้ไทยแท้อยา่ งแนน่ อน และอยา่ ลมื จิตใจแบบไทยแท้ เชือ่ พอ่ แมฟ่ ังธรรมคาสงั่ สอน กาเนิดธรรมจริยาเป็ นอาภรณ์ ประชากรโลกเหน็ เราเป็ นไทย แล้วยงั มีประเพณีมรี ะเบยี บ ซงึ่ ไมม่ ที ่เี ปรียบในชาติไหน เป็ นของร่วมรวมไทยให้คงไทย น่ีแหละประโยชน์ในประเพณี ได้รู้เชน่ เหน็ ชดั สมบตั ิชาติ เหลือประหลาดล้วนเห็นเป็ นศกั ดศ์ิ รี ล้วนไทยแท้ไทยแนไ่ ทยเรามี ส่งิ เหลา่ นีค้ อื วฒั นธรรม
คำท่มี ำจำกภำษำตำ่ งประเทศ
คำท่มี ำจำกภำษำตำ่ งประเทศ
กำรยมื ภำษำ คำท่มี ำจำกภำษำบำลี คำที่มำจำกภำษำสนั สกฤต คำท่มี ำจำกภำษำจีน คำทมี่ ำจำกภำษำเขมร คำท่มี ำจำกภำษำพมำ่ คำทม่ี ำจำกภำษำอังกฤษ คำที่มำจำกชวำ-มลำยู คำทมี่ ำจำกภำษำฝรัง่ เศส ฯลฯ
หลักสงั เกตคำทม่ี ำจำกภำษำบำลี - ภำษำบำลีมักพบในทำงเน้อื หำพระพุทธศำสนำ ๑. ภำษำบำลีมีสระอยู่ ๘ เสียง คือ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ ๒ . พ ยั ญ ช น ะ มี ๓ ๓ เ สี ย ง แ บ่ ง เ ป็ น พ ยั ญ ช น ะ ว ร ร ค ต ำ ม ฐำนทีเ่ กิด ๓. ภำษำบำลี นิยมใช้ ฬ เช่น อำสำฬหบชู ำ จฬุ ำมณี ๔. คำทม่ี ี ริ ระหว่ำงคำ เช่น กรยิ ำ ปรนิ พิ พำน ภรยิ ำ
หลกั สังเกตคำที่มำจำกภำษำบำลี
หลกั สังเกตคำทม่ี ำจำกภำษำบำลี หลกั ตัวสะกดตัวตำมภำษำบำลี ๑. คำบำลี เม่ือมตี ัวสะกดตอ้ งมีตัวตำม ๒. พยัญชนะทเ่ี ป็นตัวสะกดได้ คือ พยญั ชนะแถวท่ี ๑, ๓, ๕ ๓. พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด พยัญชนะแถวที่ ๑, ๒ ในวรรคเดยี วกนั ตำม เช่น สักกะ ทุกข์ สจั จะ มัจฉำ อติ ถี หตั ถ์ บปุ ผำ เป็นตน้ ๔. พยัญชนะแถวท่ี ๓ สะกด พยัญชนะแถวท่ี ๓, ๔ ในวรรคเดียวกนั เป็นตัวตำม เชน่ พยัคฆ์ พุทธ อคั คี อัชฌำสัย อวชิ ชำ เปน็ ตน้ ๕. พยัญชนะแถวท่ี ๕ สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตำมได้ เชน่ สงั ข์ องค์ สงฆ์ สญั ชำติ สณั ฐำน สนั ดำป สนั ธำน สมั ผัส สมั พันธ์ คมั ภรี ์ อมั พร เปน็ ตน้ ๖. พยัญชนะเศษวรรค เปน็ ตวั สะกดไดบ้ ำงตวั เช่น อยั กำ มลั ลกิ ำ วริ ุฬห์ ชิวหำ เป็นต้น
คำทมี่ ำจำกภำษำบำลี ตวั อยำ่ งคำภำษำบำลี กิตติ กิเลส กิริยำ กีฬำ เขต ขณะ คิมหันต์ จตุบท จิต จุฬำ โจร เจดีย์ จุติ ฉิมพลี ญำติ ดิถี ดำรำ ดุริยะ เดชะ ทัพพี ทิฐิ นำฬิกำ นิพพำน นิลุบล ปฏิทิน ปัญญำ ปัจจัย บุคคล บัลลังก์ บุปผำ โบกขรณี ปฐม ปัญหำ พยัคฆ์ พรหม ภัต ตำ ภิกขุ ภริยำ มัจจุรำช มัจฉำ มัชฌิม มหันต์ เมตตำ มิจฉำ มเหสี มุสำ มัสสุ รัตนำ โลหติ วตั ถุ วชิ ำ วิญญำณ วติ ถำร วิริยะ วิสุทธิ์ วุฒิ สงกำ สังข์ สงฆ์ สูญ สิริ สันติ สัญญำณ เสมหะ สัจจะ สติ โสมนัส อิทธิ อัคคี อัจฉรำ อนิจจำ อัชฌำสยั อำยุ อำสำฬห โอวำท โอรส โอกำส อบุ ล
หลักสังเกตคำท่มี ำจำกภำษำสนั สกฤต ๑. สระในภำษำสันสกฤตมี ๑๔ เสยี ง เพม่ิ จำกภำษำบำลี ๖ เสียงคือ ฤ ฤำ ฦ ฦำ ไอ เอำ เชน่ คำว่ำ คฤหำสน์ ทฤษฎี พฤษภำคม ๒. พยญั ชนะ ในภำษำสนั สกฤต มี ๓๕ เสียง เพมิ่ จำกภำษำบำลี ๒ เสยี งคอื ศษ ๓. คำทม่ี ี รร (รอหนั ) ๔. คำใดที่มีพยญั ชนะเสียงควบกลำ เช่นคำวำ่ ปรัชญำ มัธยสั ถ์ กษตั ริย์
หลักสังเกตคำท่มี ำจำกภำษำสันสกฤต ๕. ภำษำสันสกฤตนิยมใช้ ฑ หรอื ฒ ส่วนภำษำบำลี ใช้ ฬ เชน่ คำว่ำ จุฬำมณี (บำลี) จฑุ ำมณี (สันสกฤต) จฬุ ำมณี (ไทย ใช)้ ๖. คำทปี่ ระสมดว้ ยสระไอ ในภำษำสันสกฤต เม่อื เป็นภำษำไทยจะแผลงเปน็ สระแอ เชน่ คำวำ่ ไวทยฺ = แพทย์ (หมอรกั ษำโรค) ๗. คำไทยท่ลี งท้ำยด้วยเครำะห์ แผลงมำจำกคำวำ่ ครหฺ ในสนั สกฤต
คำทมี่ ำจำกภำษำสันสกฤต ตัวอย่ำงคำภำษำสันสกฤต กลั บก กรรณ กรรม กษัตริย์ กลั ป์ กำรบรู กีรติ โกรธ กรีฑำ เกษม กษัย เกษยี ณ เกษยี ร เกษตร ครรชิต ครรภ์ จักร จักรวำล จันทรำ จฑุ ำ ดสั กร ทรมำน ทรพั ย์ ทฤษฎี ทศิ ทหำร กษณิ ทศั นีย์ ทิพย์ นักษตั ร นมสั กำร นำที นฤคหติ นิตยำ นิทรำ นฤมล เนตร บษุ บำ บรรพต บุษกร บรุ ษุ ประเทศ ประทปี ประพันธ์ ประพฤติ ประเวณี ประมำท ประโยค ประถม ภักษำ ภิกษุ มฤตยู มนุษย์ มนสั มำรุต มติ ร มนตรี ไมตรี มหัศจรรย์ ยกั ษำ ลักษณะ วรรค วรรณะ วัสดุ พรรษำ พยำยำม พฤศจกิ ำยน วิทยุ พสิ ดำร วิเศษ เพศ ศัพท์ ศำสนำ ศำสตรำ ศึกษำ ศิลปะ ศิษย์ ศกุ ร์ ศนู ย์ ศรี เศยี ร สัตย์ สนั โดษ สมปฤดี สตรี สวรรค์ สรรพ สวุ รรณ สถำปนำ สดุดี สกล สกลุ อักษร อำตมำ อัศจรรย์ อธั ยำศัย อำรยะ อวกำศ อำจำรย์ อำทติ ย์ อทุ ยำน
ตำรำงเปรียบเทียบภำษำบำลีและภำษำสนั สกฤต
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: