Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Space Technology

Space Technology

Published by kamthon srirat, 2018-08-19 02:56:08

Description: Space Technology

Search

Read the Text Version

ชุดการเรยี นการสอน เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรียนรู้ระบบสุริยะ ชุดที่ 1 สารบัญคานา หน้าสารบญัคู่มือนักเรยี น 1คาชี้แจงการใชช้ ุดการเรียนการสอน 2บตั รคาสั่ง 4แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดท่ี 1 การส่งและการโคจรของดาวเทียมรอบโลก 5บตั รกิจกรรมที่ 1 9บัตรกจิ กรรมท่ี 2 10บตั รความรู้ที่ 1 11บัตรกจิ กรรมท่ี 3 15บตั รกิจกรรมที่ 4 16บัตรกิจกรรมที่ 5 17บตั รกิจกรรมที่ 6 19บัตรกจิ กรรมที่ 7 20บัตรความรทู้ ี่ 2 21บตั รกจิ กรรมท่ี 8 25บตั รกจิ กรรมท่ี 9 26บตั รกจิ กรรมท่ี 10 27บตั รคาถาม 28แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ ท่ี 1 การสง่ และการโคจรของดาวเทียมรอบโลก 29บรรณานุกรม 32ภาคผนวก 34 เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลังเรยี น 35 เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 1 37

ชุดการเรยี นการสอน เรอ่ื งเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรียนร้รู ะบบสุริยะ ชุดท่ี 1 สารบัญ (ต่อ)เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 2 หน้าเฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 3 38เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 4 39เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 5 40เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 6 41เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 7 43เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 8 44เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 9 45เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 10 46เฉลยบตั รคาถาม 47 48

ชดุ การเรียนการสอน เรือ่ งเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรยี นร้รู ะบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 1 คู่มือนักเรยี น ชุดที่ 1 เรอื่ งการสง่ และการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกคาชแี้ จงสาหรบั นักเรียน 1. บทเรียนนี้ใชเ้ วลาเรียน 3 คาบ 2. จุดม่งุ หมายของบทเรยี น ว 7.2 ม.5/1 สืบค้นและอธิบายการสง่ และคานวณความเรว็ ในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก 3. กจิ กรรมทีน่ ักเรียนต้องปฏบิ ัติ ตามลาดบั ดงั น้ี 3.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 3.2 แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยคละความสามารถกัน แต่ละกลุ่มคัดเลือกประธาน กลุ่มและเลขากลมุ่ สว่ นนักเรียนคนอน่ื ๆเปน็ สมาชกิ ของกลุ่ม 3.3 กลุม่ รับเอกสารจากครู ดังนี้ 3.3.1 ชุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เร่ืองการส่งและการโคจรของดาวเทียมรอบ โลก 3.3.2 แบบบนั ทึกคะแนนของกลมุ่ 3.4 บทบาทหนา้ ทขี่ องสมาชกิ ในกลมุ่ 1. ประธานกลมุ่ - เปน็ ผู้นาใหก้ ับสมาชกิ ทกุ คน เน้นการมสี ว่ นรว่ ม ซอื่ สตั ย์ และมุ่งม่นั การทางาน - ประสานงานกับครู รบั -สง่ คืนบัตรเฉลยเพ่อื ตรวจสอบความถูกต้อง 2. เลขากลมุ่ บนั ทกึ ข้อตกลงของกลมุ่ ในการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ 3. สมาชิก ร่วมกันทากิจกรรม ร่วมแสดงความคดิ เห็นอยา่ งเต็มความรคู้ วามสามารถ 3.5 ศึกษาและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่างๆ ตามบัตรคาสง่ั 3.6 ทาแบบทดสอบหลังเรยี น 4. การประเมินผลการเรยี น 4.1 สงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ 4.2 ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 4.3 ตรวจแบบทดสอบก่อน – หลงั เรียน

ชดุ การเรยี นการสอน เร่ืองเทคโนโลยีอวกาศสู่การเรียนรู้ระบบสรุ ิยะ ชุดท่ี 1 2 คาชี้แจงการใชช้ ดุ การเรียนการสอน ชุดที่ 1 เรือ่ งการสง่ และการโคจรของดาวเทยี มรอบโลก การใชช้ ุดการเรียนการสอน ชุดที่ 1 เร่ืองการส่งและการโคจรของดาวเทียมรอบโลกใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ โดยให้นักเรียนปฏิบัติตามขัน้ ตอนด้วยความมุ่งม่นั ตัง้ ใจและซือ่ สตั ย์ ดังนี้ 1. ศึกษาจดุ มุ่งหมายของการเรยี นรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมในชดุ การเรยี นการสอน ตามข้ันตอนการสอนแบบวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ซึง่ มขี นั้ ตอนดงั นี้ 3.1 ขั้นกระตุน้ ความสนใจ 3.2 ขัน้ สารวจคน้ หา 3.3 ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรปุ 3.4 ขน้ั ขยายความรู้ 3.5 ขั้นประเมินผล 4. ทาแบบทดสอบหลังเรยี น 5. หากนักเรยี นมีข้อสงสยั ให้ปรึกษาครูผสู้ อนได้ทันที

ชุดการเรยี นการสอน เรื่องเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรยี นร้รู ะบบสุริยะ ชดุ ท่ี 1 3 ส่วนประกอบของชดุ การเรียนการสอน ชดุ ที่ 1 เรอ่ื งการส่งและการโคจรของดาวเทียมรอบโลกแบ่งเปน็ 2 เร่ืองยอ่ ย ประกอบดว้ ย เรื่องยอ่ ยท่ี 1 แรงโน้มถ่วงของโลกกับการสง่ ดาวเทยี มโคจรรอบโลก เร่ืองยอ่ ยที่ 2 การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก สว่ นประกอบของชดุ การเรียนการสอน มีดังนี้ 1. คมู่ ือนักเรียน 2. คาช้แี จงการใชช้ ดุ การเรยี นการสอน 3. บัตรคาส่ัง 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 5. บัตรกิจกรรม 6. บัตรความรู้ 7. บัตรคาถาม 8. แบบทดสอบหลังเรยี น ถา้ พร้อมแล้ว...เร่ิมเรยี นรู้กันเลยนะคะ

ชดุ การเรียนการสอน เรอ่ื งเทคโนโลยอี วกาศส่กู ารเรียนรู้ระบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 4 บตั รคาสัง่ ชุดท่ี 1 เร่ือง การส่งและการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกคาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบคุ คล ใช้เวลา 10 นาที 2. สมาชิกกล่มุ รว่ มกนั ศึกษาชดุ การเรียนการสอน ตามขั้นตอนวัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ ตามลาดับ 3. สมาชกิ กลุ่มร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ระดมความคิดและลงข้อสรปุ 4. เลขากลุ่มบนั ทึกสรปุ องค์ความรู้ของกลุ่ม 5. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลงานของกลุม่ หน้าชน้ั เรียน ใชเ้ วลากลมุ่ ละไม่นอ้ ยกว่า 5 นาที 6. ประธานกลุ่มรับบัตรเฉลยกิจกรรมจากครูผู้สอน ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องด้วยความซอื่ สัตย์ และบนั ทึกคะแนนของกลมุ่ 7. นกั เรยี นเขียนสรปุ ผลการเรียนร้สู าหรบั ผ้เู รียน 8. นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเป็นรายบุคคล ใช้เวลา 10 นาทีขอ้ ควรจา... เม่ือนักเรยี นศกึ ษาและปฏิบัตกิ ิจกรรมเสรจ็เรยี บร้อยแลว้ เก็บเอกสารทั้งหมดลงในกล่องชดุ การเรยี นการสอน ใหเ้ รียบร้อย กอ่ นส่งคนืครูผ้สู อนนะค่ะ

ชุดการเรียนการสอน เรอื่ งเทคโนโลยอี วกาศสู่การเรียนรรู้ ะบบสุริยะ ชุดที่ 1 5 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดที่ 1 การส่งและการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกช่อื .................................................นามสกุล.......................................ชั้น........เลขที่.........คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท ( X ) ทับตวั อักษรหน้าคาตอบที่ถกู ต้อง1. ข้อใดกลา่ วถูกต้อง ก. แรงโน้มถว่ งของโลกทก่ี ระทาต่อวัตถุ ไมข่ ึน้ กับมวลของวัตถุน้นั ข. วตั ถหุ ลุดออกจากโลก เมื่อแรงโน้มถ่วงของโลกกระทาต่อวัตถุมคี า่ มากขน้ึ ค. วัตถุยง่ิ อยูห่ ่างจากจุดศูนยก์ ลางของโลกมาก แรงโน้มถ่วงท่ีกระทาต่อวัตถุย่ิงลดลง ง. วัตถยุ ง่ิ อยู่ห่างจากจุดศูนยก์ ลางของโลกมาก แรงโน้มถว่ งที่กระทาตอ่ วัตถุยงิ่ มากข้นึ2. จรวดทข่ี ึ้นไปสู่ทอ้ งฟ้าได้ด้วยแรงอะไร ก. แรงดนั ข. แรงกิรยิ า ค. แรงปฏิกริ ยิ า ง. แรงหนศี ูนยก์ ลางโลก3. การโคจรของดาวเทียมเก่ียวขอ้ งกับขอ้ ใดมากท่ีสุด ก. แรงพยงุ ข. แรงต้านอากาศ ค. แรงกริ ยิ า-แรงปฏิกริ ิยา ง. แรงโน้มถ่วงของโลก4. เม่อื ระดับความสงู จากผวิ โลกเพิ่มข้นึ คาบของการโคจรของดาวเทียมรอบโลกจะเป็นอยา่ งไร ก. เพมิ่ ขน้ึ ข. ลดลง ค. เทา่ เดิม ง. มีคา่ เพิม่ ขน้ึ เป็นคร่ึงหนึ่งของระยะทาง

ชุดการเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศสู่การเรียนรู้ระบบสุริยะ ชดุ ที่ 1 6 5. การยิงดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรของโลก เส้นทางใดถกู ต้องที่สุด12 3 ก. เสน้ ทางที่ 1 ข. เสน้ ทางที่ 2 ค. เส้นทางท่ี 3 ง. เสน้ ทางที่ 1 และ 26. ความเร็วที่ทาใหด้ าวเทยี มหลุดจากวงโคจรรอบโลก เรียกวา่ อะไร ก. ความเรว็ หลดุ พน้ ข. ความเร็วตามวิถโี ค้ง ค. ความเร็วตามวิถโี ลก ง. ความเร็วโคจรรอบโลก7. จรวดตอ้ งขับเคลอื่ นด้วยความเร็วเทา่ ใด จงึ จะหลุดจากวงโคจรของโลกท่รี ะดบัตา่ สุด ก. 7.91 กิโลเมตรตอ่ วินาที ข. 10.20 กโิ ลเมตรต่อวินาที ค. 11.20 กิโลเมตรต่อวินาที ง. 12.20 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที

ชดุ การเรยี นการสอน เรอ่ื งเทคโนโลยีอวกาศสู่การเรยี นรู้ระบบสุริยะ ชดุ ที่ 1 7 8. ถ้าจรวดอยหู่ า่ งจากพื้นโลกเพิ่มมากขน้ึ ความเร็วหลดุ พน้ จะมีคา่ เป็นอยา่ งไร ก. เพิม่ ขึ้น ข. ลดลง ค. เทา่ เดมิ ง. มีคา่ เพม่ิ ข้นึ เปน็ ครงึ่ หน่ึงของระยะทาง 9. ถา้ ดาวเทยี มโคจรรอบโลกทีร่ ะดบั ความสูง 35,880 กิโลเมตร ดาวเทียมต้องโคจร ด้วยความเรว็ เทา่ ไร จงึ จะอยู่ในวงโคจรได้ ก. 1.05 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที ข. 2.07 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที ค. 3.07 กิโลเมตรต่อวินาที ง. 4.05 กโิ ลเมตรต่อวินาที 10. การท่ีดาวเทียมสามารถลอยอยใู่ นอวกาศได้เน่ืองจากเหตผุ ลตามขอ้ ใด ก. ดาวเทยี มเคล่อื นทีด่ ว้ ยความเรว็ สูงมาก ข. ดาวเทยี มเคลอ่ื นที่ในทศิ ทางเดยี วกบั การหมุนตัวของโลก ค. ดาวเทยี มเคลอ่ื นที่ในทิศทางตรงขา้ มกบั ท่ีโลกหมุนรอบตัวเอง ง. ดาวเทียมมีความเร็วคงทีท่ เ่ี หมาะสมกบั ระดับความสงู จากผิวโลก ถ้าพร้อมแลว้ ไปเรยี นรู้ กนั เลยนะคะ...

ชดุ การเรยี นการสอน เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศสูก่ ารเรยี นรรู้ ะบบสุริยะ ชดุ ท่ี 1 8 เร่อื งที่ 1 แรงโน้มถ่วงกบั การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก

ชุดการเรียนการสอน เรอื่ งเทคโนโลยอี วกาศสู่การเรียนรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชดุ ที่ 1 9บตั รกจิ กรรมที่ 1 ขน้ั กระตนุ้ ความสนใจคาช้แี จง ให้นกั เรยี นสังเกตภาพท่กี าหนดให้ แลว้ ตอบคาถามในประเดน็ ตอ่ ไปน้ีภาพท่ี 1 แสดงกระทรวงไอซที ีร่วมกับประเทศจนี ยงิ ดาวเทยี ม SMMS ข้ึนสู่วงโคจรสาเร็จทีม่ า : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (2551, ออนไลน์) 1. เพราะเหตใุ ดดาวเทยี มจงึ ขึ้นไปโคจรรอบโลกได้ .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 2. แรงโนม้ ถ่วงของโลกมคี วามสาคญั ตอ่ การดารงชวี ิตของมนุษย์อยา่ งไร .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 3. นกั เรียนคิดว่าแรงโน้มถว่ งของโลกมีความเกี่ยวข้องกับการสง่ ดาวเทยี มไปโคจรรอบโลกหรือไม่ อยา่ งไร .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................

ชดุ การเรียนการสอน เร่ืองเทคโนโลยอี วกาศส่กู ารเรยี นรรู้ ะบบสุริยะ ชุดท่ี 1 10 บตั รกิจกรรมที่ 2 ขัน้ สารวจคน้ หาการเคลือ่ นทขี่ องจรวดคาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเคลือ่ นท่ขี องจรวด ดงั นี้ 1. ให้นกั เรียนเป่าลูกโป่งใหพ้ องแล้วใชม้ ือจบั ไว้ 2. ปลอ่ ยลกู โปง่ สงั เกตทศิ ทางของลมท่อี อกจากลกู โปง่ และทศิ ทางการเคลือ่ นท่ีของลกู โป่ง 3. วาดภาพทิศทางของลมที่ออกจากลูกโป่งและทิศทางการเคล่ือนท่ีของลูกโป่งลงใน แบบบันทกึ กิจกรรมแบบบันทึกกจิ กรรมคาถามท้ายกิจกรรม 1.ลกู โปง่ มีทิศทางการเคลอื่ นทเ่ี ป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………… 2. ลูกโปง่ กบั จรวดมที ศิ ทางการเคล่ือนทเ่ี หมือนกนั หรือแตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… 3. จรวดเคลื่อนทไ่ี ปขา้ งหน้าได้ด้วยแรงอะไร ……………………………………………………………………………………… 4.การเคลื่อนที่ของจรวดเปน็ ไปตามกฎการเคลื่อนทีข่ ้อทเ่ี ท่าใดของนวิ ตัน ………………………………………………………………………………………

ชุดการเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรียนรรู้ ะบบสุริยะ ชุดท่ี 1 11 บัตรความรู้ที่ 1 แรงโน้มถว่ งกับการโคจรของดาวเทยี มรอบโลก ดาวเทียมเป็นสิ่งประดิษฐ์ท่ีมนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ในการสารวจอวกาศและขอ้ มลู ต่าง ๆ เกีย่ วกบั โลก โดยดาวเทยี มจะถกู ส่งข้ึนสวู่ งโคจรรอบโลก ภาพท่ี 2 แสดงวงโคจรของดาวเทยี มโคจรรอบโลก ท่มี า : วงโคจรของดาวเทยี ม (2551, ออนไลน์) ยุคอวกาศเรมิ่ ข้ึนเมื่อวันท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 โดยรสั เซยี เปน็ ชาตแิ รกท่ียิงดาวเทยี มขึน้ ไปโคจรรอบโลกอยเู่ หนือพน้ื โลก 200–300 กิโลเมตรสาเร็จ มชี ื่อว่า “สปุตนิก1”( Sputnik 1 ) และอีก 3 เดือนต่อมาดาวเทยี มสปตุ นกิ 1 จึงตกลงมาเสียดสีกับช้ันบรรยากาศและเกดิ การลุกไหม้

ชุดการเรียนการสอน เร่อื งเทคโนโลยอี วกาศส่กู ารเรยี นรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 12 ภาพท่ี 3 ดาวเทียมสปตุ นกิ 1 ท่ีมา : พเยาว์ ยนิ ดีสขุ และคณะ (2553, หน้า112) การโคจรของดาวเทียมรอบโลกอยู่ภายใต้แรงโน้มถว่ งของโลก เป็นไปตามกฎของเซอร์ ไอแซค นิวตนั (Sir Isaac Newton) กล่าววา่ วัตถทุ กุ ชนดิ ในเอกภพย่อมมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกันซง่ึ จะมีแรงดงึ ดูดมากหรือนอ้ ยขึ้นอย่กู ับ 1. ขนาดของมวลของวัตถุ คือ วตั ถุท่ีมีมวลมากจะมีแรงดึงดูดมากกวา่ วัตถุท่ีมมี วลนอ้ ย 2. ระยะหา่ งระหว่างวัตถุ คอื ถ้าวตั ถนุ น้ั อยหู่ า่ งกันมากแรงดงึ ดดู ระหวา่ งวตั ถจุ ะนอ้ ยลงดาวเทียมโคจรรอบโลกได้อย่างไร ดาวเทียมและโลกต่างมีแรงดึงดูดซ่ึงกันและกัน ในการส่งยานอวกาศและดาวเทียมจากพื้นโลกขึ้นสู่อวกาศต้องอาศัยแรงขับดันและความเร็วสูงมากเพื่อหนีให้หลุดพ้นจากแรงดงึ ดูดของโลก จึงตอ้ งอาศยั จรวดเป็นตัวส่งดาวเทียมและยานอวกาศ จรวด มลี กั ษณะเป็น 3 ทอ่ น ซึ่งแต่ละท่อนมีพลังงานขับเคล่ือนบรรจุอยู่ และเมื่อใช้พลงั งานหมดแล้วกจ็ ะถกู สลัดทิง้ ไปเพ่ือลดนา้ หนักของจรวดสว่ นทเ่ี หลอื - จรวดท่อนแรกจะถูกสลดั ออกเมอื่ ขึ้นไปสูง 70 กิโลเมตรเหนือพน้ื โลก - จรวดท่อนท่ีสองถูกจุดและขับดันจรวดท่อนที่เหลือให้ขึ้นสูงไปอีก ในชั้นน้ีจรวดจะแล่นเป็นแนวโค้งด้วยความเร็ว 25,000 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ท่ีระดับความสูง 190กโิ ลเมตรเหนอื พื้นโลก จรวดท่อนทสี่ องจงึ ดับและหลดุ ออกไป

ชุดการเรยี นการสอน เรื่องเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรียนรูร้ ะบบสุริยะ ชุดท่ี 1 13 - จรวดท่อนที่สามจะถูกจุดและนาพาดาวเทียมให้สูงขึ้นต่อไปด้วยความเร็ว 28,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งถึงระดับความสูงท่ีต้องการจึงปล่อยดาวเทียมสู่วงโคจรรอบ โลก ส่วนจรวดทอ่ นที่สามจะหลุดออกและตกลงสพู่ ืน้ โลก ภาพท่ี 4 จรวดแซทเทิรน์ วีกาลงั ทะยานขน้ึ จากฐานปล่อย เพอื่ นา นักบนิ อวกาศอะพอลโล 11 ไปลงยงั ดวงจันทร์ ทม่ี า : องค์การบริหารการบนิ และอวกาศแหง่ ชาติ (ม.ป.ป., ออนไลน์) ร้หู รือไม.่ .. ในพ.ศ. 2446 ไชออล คอฟสกี ชาวรัสเซียเป็น คนแรกท่ีเสนอให้ใช้เชื้อเพลิงเหลวกับเครื่องยนต์ของ จรวด และการใช้เชื้อเพลิงควรแยกเช้ือเพลิงและสารท่ี ชว่ ยในการเผาไหมอ้ อกจากกนั นบั เป็นผู้เสนอหลักการ สาคัญในการสร้างจรวดเพื่อนายานอวกาศออกนอก โลกภาพที่ 5 ไชออลคอฟสกี (Tsiolkovski) (พ.ศ. 2400-2478)ที่มา : สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2551, หนา้ 120)

ชดุ การเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยีอวกาศสู่การเรียนรู้ระบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 14 ความเรว็ ของจรวดนาสง่ ดาวเทียมและยานอวกาศต้องมากกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาทีดาวเทยี มและยานอวกาศจึงจะสามารถข้ึนไปโคจรรอบโลกในระดับบริเวณผิวโลก และถ้าให้ความเร็วของดาวเทียมมากกว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ดาวเทียมจะหลุดออกจากวงโคจรของโลก เรยี กว่า ความเรว็ หลดุ พ้น ( escape velocity)ตาราง 1 ความเร็วหลุดพ้นจากแรงดงึ ดูดของโลกที่ความสูงจากผิวโลกระดบั ตา่ งๆระดบั ความสงู จากผิวโลก ความเรว็ หลดุ พน้ จากแรงดงึ ดดู โลก ( กิโลเมตร ) ( กโิ ลเมตรต่อวินาที ) 0 11.2 161 11.0 322 10.9 644 10.6 1,609 10.0 8,045 7.4 35,880 7.3จากตาราง 1 ในการส่งยานอวกาศไปสารวจอวกาศน้ัน จรวดที่ใช้ส่งขึ้นไปที่ระดับผิวโลกตอ้ งมีความเร็วอยา่ งน้อยเทา่ กบั ความเรว็ หลุดพน้ 11.2 กิโลเมตรตอ่ วนิ าที และความเร็วหลุดพ้นจะนอ้ ยลงเร่ือย ๆ เม่ือย่งิ สูงจากผวิ โลก เกร็ดความรู้... ในปี พ.ศ.2469 รอเบิร์ต กอดดาร์ด( Robert Goddard ) ชาวอเมริกัน เป็นผู้ท่ีประสบความสาเร็จในการสร้าง จรวดเชือ้ เพลิงเหลว โดยใช้ออกซิเจนเหลวเป็นสารท่ีช่วย ในการเผาไหม้และไฮโดรเจนเหลวเป็นเช้ือเพลิง ได้รับ การยกย่องเปน็ บดิ าแหง่ จรวดยุคใหม่ภาพที่ 6 รอเบิร์ต กอดดาร์ดท่มี า : สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553ข, หน้า163)

ชุดการเรียนการสอน เร่ืองเทคโนโลยอี วกาศสูก่ ารเรียนรรู้ ะบบสุริยะ ชุดท่ี 1 15บัตรกิจกรรมที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุปคาชีแ้ จง จงอธบิ ายและสรปุ ผลของแรงโนม้ ถว่ งตอ่ การสง่ ดาวเทยี มขนึ้ ไปโคจรรอบโลก1. พาหนะใดเป็นตวั นาส่งดาวเทยี มและยานอวกาศข้ึนไปสวู่ งโคจร ตอบ............................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………2. พาหนะนาส่งดาวเทียมและยานอวกาศ ต้องชนะอปุ สรรคใดจึงจะสง่ ดาวเทียมและยานอวกาศข้นึ ส่วู งโคจรได้ ตอบ............................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………3. นกั เรียนคิดวา่ แรงโนม้ ถ่วงมีประโยชน์ต่อการโคจรของดาวเทียมรอบโลกอย่างไร ตอบ............................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………4. จงสรุป อิทธิพลของแรงโนม้ ถ่วงตอ่ การสง่ ดาวเทียมและยานอวกาศข้นึ ไปสวู่ งโคจร ตอบ............................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดการเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรียนรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชดุ ท่ี 1 16 บัตรกิจกรรมท่ี 4 ขัน้ ขยายความเข้าใจคาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเก่ยี วกบั วงโคจรของดาวเทยี มรอบโลกแลว้ตอบประเดน็ คาถามตอ่ ไปนี้วงโคจรของดาวเทียมรอบโลก สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2554, หน้า87) ได้กล่าวว่าการแบง่ ประเภทของวงโคจรของดาวเทียมสามารถแบ่งตามตามระดับความสูงของวงโคจรได้3 แบบ คอื 1. วงโคจรระดบั ต่า ( Low Earth Orbit ; LEO) ดาวเทียมจะอยู่สูงจากผิวโลกต่ากว่า2,000 กิโลเมตร ไม่มีการกาหนดความสูงที่แน่นอน ดาวเทียมท่ีอยู่ในวงโคจรน้ีจะใช้ประโยชนใ์ นดา้ นอุตุนยิ มวิทยา ดา้ นการสือ่ สาร 2. วงโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit ; MEO) ดาวเทียมท่ีอยู่ในวงโคจรน้ีจะอยรู่ ะหวา่ ง LEO กบั GEO ใช้ประโยชน์ในดา้ นการสื่อสาร ระบบนาร่อง (GPS) ดาวเทียมที่มีวงโคจรระดับกลางส่วนมากเป็นดาวเทียมนาร่อง เช่น เครือข่ายของดาวเทยี ม GPS ประกอบดว้ ยดาวเทียมจานวน 24 ดวง ทางานร่วมกนั 1.3 วงโคจรค้างฟ้า (Geostationary Orbit ; GEO) ดาวเทียมท่ีอยู่ในวงโคจรน้ีจะอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,800 กโิ ลเมตร และโคจรรอบโลกใช้เวลาเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองคอื 24 ชัว่ โมง จงึ เหมอื นไม่เคลอื่ นท่ี เนื่องจากตาแหน่งดาวเทียมสัมพันธ์กับตาแหน่งบนพื้นโลกในบริเวณเดมิ เสมอ ดาวเทยี มท่อี ยใู่ นวงโคจรน้ีใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสารอตุ ุนยิ มวิทยาจากการศกึ ษาเพ่มิ เติมเกย่ี วกับวงโคจรของดาวเทียม นักเรียนคิดว่าวงโคจรของดาวเทียมรอบโลกในกรอบด้านบนใช้หลักเกณฑ์ใดในการแบ่ง และดาวเทียมท่ีอยู่ในวงโคจรแต่ละแบบเปน็ ดาวเทยี มประเภทใดบ้าง จงอธบิ าย ...................…………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………..

ชดุ การเรยี นการสอน เรื่องเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรยี นรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชุดท่ี 1 17บัตรกิจกรรมท่ี 5 ข้นั ประเมินผล คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ เรอ่ื งแรงโนม้ ถ่วงของโลกกับการโคจรของ ดาวเทียมรอบโลก 1. สรุปสาระสาคญั ที่ไดจ้ ากการเรียนรู้ ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. คุณธรรม/จริยธรรมท่ีนกั เรยี นได้เรยี นรู้ .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. หลังจากเรียนเรอ่ื งนี้แล้ว ทาเคร่อื งหมายหน้าสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นที่เกดิ กับนักเรยี น  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการส่ือสาร  ความสามารถในการแกป้ ญั หา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี4. นักเรียนมคี วามรสู้ กึ อย่างไรหลังจากเรียนเรอ่ื งนแี้ ลว้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ชดุ การเรียนการสอน เร่ืองเทคโนโลยีอวกาศสู่การเรยี นรู้ระบบสรุ ิยะ ชดุ ท่ี 1 เร่ืองที่ 2 การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก

ชดุ การเรียนการสอน เรอ่ื งเทคโนโลยอี วกาศส่กู ารเรยี นรู้ระบบสรุ ิยะ ชุดท่ี 1 19บตั รกิจกรรมท่ี 6 ข้นั กระตุ้นความสนใจคาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นสังเกตภาพที่กาหนด ให้แลว้ ตอบคาถามในประเดน็ ต่อไปน้ีภาพท่ี 7 การออกแรงเตะลูกบอล ภาพท่ี8 ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวทิ ยาค้างฟ้าทมี่ า : ปรญิ ญา สุขะวิศษิ ฐ์ (2555, ภาพวาด) ที่มา : พเยาว์ ยินดีสุขและคณะ (2553, หน้า116)ประเด็นคาถาม 1. เพราะเหตใุ ด เม่ือออกแรงเตะลกู บอล ลูกบอลจงึ ตกลงท่พี ้ืน .......................................................................................................................................... 2. เพราะเหตุใดเม่ือออกแรงเตะลกู บอลดว้ ยแรงขนาดต่างกนั ลกู บอลจะตกทต่ี าแหนง่ต่างกนั .......................................................................................................................................... 3. นักเรียนคิดว่า ถ้าขนาดของความเร็วในการส่งดาวเทียมขึ้นไปสู่วงโคจรต่างกันดาวเทียมจะขนึ้ สูว่ งโคจรไดเ้ หมอื นกนั หรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 4. นักเรียนคิดว่าความเร็วในการส่งดาวเทียมข้ึนไปสู่วงโคจรมีความสัมพันธ์กับระยะหา่ งระหวา่ งวงโคจรของดาวเทยี มกบั โลกหรอื ไม่ อย่างไร .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................

ชุดการเรียนการสอน เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรยี นรู้ระบบสรุ ิยะ ชดุ ที่ 1 20บตั รกิจกรรมที่ 7 ขั้นสารวจค้นหาคาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นสืบค้นหาความรู้ เร่ืองการโคจรของดาวเทียมรอบโลกจากบัตรความรู้ระดมความคิดและลงความเหน็ ของกลมุ่ สรปุ สาระสาคัญลงในกรอบดา้ นลา่ งนี้ ผลงานกลุ่ม

ชุดการเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรียนรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชดุ ที่ 1 21 บตั รความรูท้ ่ี 2 เรอ่ื ง การโคจรของดาวเทยี มรอบโลก การโคจรของดาวเทียมรอบโลกมลี กั ษณะการโคจรทสี่ าคัญ 2 แบบ 1. โคจรในแนวระนาบเส้นศูนย์สูตร ส่วนใหญ่เป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทยี มสื่อสาร 2. โคจรในแนวเหนือใต้ ซ่ึงสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ โดยโคจรผ่านแนวศูนย์สูตร ณเวลาท้องถน่ิ เดียวกนั สว่ นใหญ่เปน็ ดาวเทียมสารวจทรพั ยากรธรณี ในการส่งดาวเทียมให้ข้ึนจากพื้นโลก จะต้องใช้ความเร็วเพ่ือสู้กับแรงโน้มถ่วงของโลกซ่ึงต้องใชพ้ ลังงานจลนท์ เี่ ปลยี่ นไปเป็นงานทใี่ ห้ดาวเทยี มเคล่ือนท่ี ดังนี้ mv2 = ได้มาจาก W = Frซ่งึ คานวณหาความเร็วหลุดพน้ ได้จากสมการ = = ve =เม่ือ ve คือ ความเร็วหลดุ พ้น ME คือ มวลของโลกเทา่ กับ 5.98x1024 kg R คือ รัศมีของโลกเทา่ กับ 6,380 km m คือ มวลของจรวด G คอื ค่าคงตัวความโนม้ ถ่วง เท่ากบั 6.67x10-11 Nm2.kg-2 r คือ รัศมีของโลกรวมกับความสงู จากผิวโลกหมายเหตุ ค่าคงที่ 2GME = 7.98x105 km3 s-2

ชุดการเรียนการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศสู่การเรียนรู้ระบบสุริยะ ชดุ ท่ี 1 22ตัวอย่าง ท่ีผิวโลกดาวเทียมจะหลุดออกจากวงโคจรของโลกได้ จะต้องมีความเร็วหลุดพ้นเทา่ ใด วิธที า วิเคราะหโ์ จทย์ ทีผ่ ิวโลก มี r = 6,380 , 2G ME = 7.98x105 km3 s-2ต้องการทราบวา่ ความเร็วหลดุ พ้น ve = ? km/s จากสูตร ve = แทนค่า = = 11.2 km/sดังนัน้ ท่ีผวิ โลก ดาวเทียมจะมีความเร็วหลุดพ้น เท่ากับ 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที ตอบตาราง 2 ความเรว็ ที่ใช้เพอ่ื จะข้ึนไปในวงโคจรของโลกที่ระดับความสงู จากผิวโลกระดบั ความสูงจากผวิ โลก ความเร็วจากผิวโลกที่จะขึน้ ถึงวงโคจร (กโิ ลเมตร) (กโิ ลเมตร/วินาที) 0 7.91 161 8.00 322 8.10 644 8.26 1,609 8.66 8,045 9.85 35,880 10.8 11.2  จากตาราง 2 ความเร็วของจรวดที่ใช้เพ่ือจะข้ึนไปในวงโคจรของโลกที่ระดับผิวโลก ต้องมีความเร็วสูงกว่า 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดของโลก จึงสามารถนาส่งยานอวกาศขึ้นไปสู่อวกาศได้ ถ้าต้องการให้ยานอวกาศหลุดจากวงโคจรของโลก ต้องมีความเร็วที่ผวิ โลกสงู กว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวนิ าที

ชุดการเรยี นการสอน เรอ่ื งเทคโนโลยีอวกาศส่กู ารเรยี นรู้ระบบสุริยะ ชุดที่ 1 23 การโคจรของดาวเทียมรอบโลกเปน็ วงกลม เพราะแรงโน้มถ่วงของโลกดงึ ดาวเทยี มด้วยความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง เท่ากับแรงสู่ศูนย์กลางของดาวเทียมที่กาลังเคลื่อนท่ี สามารถคานวณหาความเร็วในวงโคจรของดาวเทยี มไดจ้ ากความสมั พนั ธ์ต่อไปน้ี จากสมการ v = นกั เรียนควรรู้…เม่ือ แรงสศู่ นู ยก์ ลาง คือแรงทมี่ ีทศิ เขา้ ส่จู ดุ v คือ ความเร็วในการโคจรของดาวเทยี ม ศูนย์กลาง ME คือ มวลของโลกเทา่ กับ 5.98x1024 kg r คือ ระยะทางจากศนู ยก์ ลางโลกถงึ ดาวเทยี ม ดงั สมการ G คือ ค่าคงตัวความโน้มถ่วงเท่ากับ6.67x10-11Nm2.kg-2 เม่อื Fc แทน แรงสศู่ ูนย์กลาง m แทน มวลของวตั ถุ v แทน ความเร็วของวัตถุ r แทน รศั มีของการเคลือ่ นท่ีหมายเหตุ GME = 3.99x1014 Nm2 kg-1 หรือ GME = 3.99x105 km3 s-2ตัวอย่าง ถา้ ต้องการส่งดาวเทียมให้โคจรรอบโลกที่ระดับความสงู 644 กโิ ลเมตร ดาวเทียมตอ้ งโคจรด้วยความเร็วเทา่ ไร จึงจะอยใู่ นวงโคจรได้วธิ ีทา วเิ คราะหโ์ จทย์ ท่ีผิวโลก มี r = 6,380+644= 7,024 km , G = 6.67x10-11 Nm2 kg-2,ME = 5.98x1024 kg ซงึ่ GME = 3.99x105 km3 s-2 ตอ้ งการทราบว่าดาวเทียมโคจรดว้ ยความเร็วv= ? km/s จากสูตร v = แทนค่า = = 7.53 km/sดังนน้ั ดาวเทียมจะต้องโคจรรอบโลกด้วยความเร็ว เทา่ กับ 7.53 กิโลเมตรต่อวินาที ตอบ

ชุดการเรียนการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศส่กู ารเรียนร้รู ะบบสุริยะ ชดุ ท่ี 1 24ตาราง 3 คาบของการโคจรและความเรว็ ในวงโคจรที่เป็นวงกลมทรี่ ะดับความสงู จากผิวโลกระดับความสงู จากผิวโลก ความเร็วในวงโคจร คาบของการโคจร (กโิ ลเมตร) (กโิ ลเมตร/วินาที) 1 ชั่วโมง 24.3 วินาที 1 ชัว่ โมง 27.7 วินาที 0 7.91 1 ชัว่ โมง 30.8 วนิ าที 161 7.80 1 ชว่ั โมง 37.5 วนิ าที 322 7.70 1 ชั่วโมง 57.7 วินาที 644 7.53 4 ชั่วโมง 46.6 วนิ าที 1,609 7.06 8,045 5.86 24 ชวั่ โมง 35,880 3.07จากตาราง 3 ดาวเทียมทอี่ ยู่ในวงโคจรใกล้ผิวโลก จะได้รับแรงดึงดูดมากกว่าดาวเทียมที่อยู่สูงขึ้นไป ดังนั้นดาวเทียมที่มีวงโคจรอยู่ใกล้ระดับผิวโลกจะใช้ความเร็วในการเคล่ือนที่มากกว่าดาวเทียมท่ีวงโคจรไกลจากระดับผิวโลก และคาบของการโคจรของดาวเทียมท่ีอยู่ใกล้ระดับผิวโลกจะมีค่าน้อยกว่าคาบของการโคจรของดาวเทียมที่อยู่ไกลจากระดับผิวโลกออกไปภาพท่ี 9 วงโคจรของดาวเทยี มรอบโลกที่มา : สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553ก, หนา้ 167)

ชดุ การเรยี นการสอน เรือ่ งเทคโนโลยอี วกาศสูก่ ารเรียนรูร้ ะบบสุริยะ ชุดที่ 1 25บัตรกิจกรรมที่ 8 ข้ันอธิบายและลงข้อสรุปคาช้แี จง ให้อธบิ ายและสรปุ การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในประเดน็ ต่อไปน้ี1. การสง่ ดาวเทียมจากระดบั ผวิ โลก ต้องใชค้ วามเร็วเทา่ ใด จึงจะสามารถขนึ้ ส่วู งโคจรที่ระดับต่าสุดได้ ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..................2. จงอธบิ ายและสรปุ ความสัมพนั ธ์ของความเร็วในการสง่ ดาวเทียมจากระดับผิวโลกสู่วงโคจรกับระดับความสูงจากผิวโลก ตอบ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………...3. จงอธิบายและสรุปความสัมพันธ์ของความเร็วในวงโคจรของดาวเทียมกับระดับความสูงจากผวิ โลก ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...4. จงอธบิ ายและสรปุ ความสัมพนั ธ์ของความเร็วในวงโคจรของดาวเทยี ม ระดับความสงูจากผวิ โลก และคาบของการโคจรของดาวเทยี ม ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …...5. จงอธิบายและสรุปความสมั พันธร์ ะหวา่ งความเรว็ หลดุ พน้ จากโลกกับระดบั ความสูงจากผิวโลก ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …...

ชุดการเรียนการสอน เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศสกู่ ารเรยี นรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 26บตั รกิจกรรมท่ี 9 ขน้ั ขยายความเข้าใจคาชี้แจง ให้นักเรยี นแสดงวิธีการคิดอย่างละเอียด นักวิทยาศาสตร์ A ต้องการส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรรอบโลก ที่ระดับความสูงจากผิวโลก 3,622 กิโลเมตร ความเร็วในวง โคจรของดาวเทียมจะมีค่าเท่ากับกีก่ ิโลเมตรต่อวินาทีสง่ิ ทโ่ี จทยบ์ อก คอื ..............................................................................สิ่งที่ตอ้ งการหา คือ.............................................................................สตู รคานวณทีเ่ ลอื กใช้ คอื ...................................................................วิธีการคดิ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ชดุ การเรยี นการสอน เร่ืองเทคโนโลยีอวกาศส่กู ารเรียนรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชดุ ที่ 1 27บัตรกจิ กรรมท่ี 10 ข้ันประเมนิ ผลคาช้แี จง ให้นักเรยี นบันทกึ ผลการเรยี นรจู้ ากเร่ืองการโคจรของดาวเทียมรอบโลก1. สรปุ สาระสาคญั ทีไ่ ดจ้ ากการเรียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. คุณธรรม/จริยธรรมที่นักเรยี นไดเ้ รียนรู้................................................................................................................................................................................................................................................................................................................3. หลังจากเรียนเร่ืองน้ีแล้ว ทาเครอื่ งหมายหน้าสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนท่เี กิดกบั นักเรยี น  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการส่ือสาร  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี4. นกั เรียนมีความรสู้ กึ อย่างไรหลงั จากเรียนเร่อื งนีแ้ ล้ว........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ชดุ การเรยี นการสอน เร่ืองเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรยี นรรู้ ะบบสุริยะ ชุดที่ 1 28บตั รคาถาม ข้ันประเมนิ ผลชุดที่ 1 การสง่ และการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกคาช้ีแจง ให้เตมิ คาหรอื ข้อความในชอ่ งว่างให้ ถูกต้อง สมบรู ณ์1. การสง่ ดาวเทียมและยานอวกาศข้ึนไปสู่วงโคจร ต้องอาศยั พาหนะใดเป็นตวั นาส่งออกไปให้พน้ แรงโนม้ ถ่วงของโลกตอบ.........................................................................................................................................2. นกั เรยี นคิดว่า แรงโนม้ ถ่วงมีประโยชน์ตอ่ การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกอยา่ งไรตอบ.........................................................................................................................................3. ท่ีระดับความสูง 161 กโิ ลเมตรจากผิวโลก ความเรว็ หลุดพน้ มคี า่ เท่าใดตอบ..................................................................................................................................4. จรวดจะเอาชนะแรงโนม้ ถ่วงของโลกได้ต้องทาอยา่ งไร จงอธิบายตอบ..................................................................................................................................5. เพราะเหตใุ ด จรวดท่ีอยใู่ นวงโคจรใกล้กบั ผวิ โลกจงึ ต้องใชค้ วามเรว็ สูงกว่าเมอ่ื อย่ไู กลผิวโลกตอบ..................................................................................................................................6. จรวด A ขับดนั ด้วยความเรว็ 7.91 กิโลเมตรตอ่ วินาที จรวด B ขับดนั ดว้ ยความเรว็ 6.91กิโลเมตรต่อวนิ าที จรวดลาใดทข่ี น้ึ สู่วงโคจรได้ เพราะเหตใุ ดตอบ..................................................................................................................................7. หลกั การทางานของจรวดสัมพนั ธ์กับกฎการเคลื่อนที่ข้อท่ีเทา่ ใดของนวิ ตันตอบ...................................................................................................................................8. จงสรปุ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความเร็วหลดุ พน้ จากโลกกบั ความสงู จากผิวโลกตอบ...................................................................................................................................สมาชิกกลมุ่ เรา เก่งสุดยอดตอบได้ทุกขอ้ เลย...

ชุดการเรยี นการสอน เร่อื งเทคโนโลยีอวกาศสูก่ ารเรยี นรรู้ ะบบสรุ ิยะ ชุดท่ี 1 29 แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ ที่ 1 การสง่ และการโคจรของดาวเทยี มรอบโลกช่ือ.................................................นามสกุล.......................................ชัน้ ..............เลขท่ี.........คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นทาเครื่องหมายกากบาท ( X ) ทับตัวอักษรหนา้ คาตอบทีถ่ ูกต้อง1. ความเร็วที่ทาให้ดาวเทียมหลดุ จากวงโคจรรอบโลก เรียกวา่ อะไร ก. ความเร็วหลุดพน้ ข. ความเร็วตามวถิ ีโค้ง ค. ความเร็วตามวถิ ีโลก ง. ความเร็วโคจรรอบโลก2. จรวดต้องขับเคลอ่ื นดว้ ยความเรว็ เทา่ ใด จงึ จะหลดุ จากวงโคจรของโลกที่ระดับต่าสดุ ก. 7.91 กโิ ลเมตรต่อวินาที ข. 10.20 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที ค. 11.20 กิโลเมตรต่อวนิ าที ง. 12.20 กโิ ลเมตรต่อวินาที3. ถ้าจรวดอยู่ห่างจากพ้นื โลกเพิ่มมากข้ึน ความเร็วหลุดพน้ จะมีค่าเป็นอยา่ งไร ก. เพมิ่ ข้นึ ข. ลดลง ค. เทา่ เดิม ง. มคี ่าเพ่ิมขึน้ เป็นครึง่ หน่ึงของระยะทาง4. จรวดท่ขี ้ึนไปสู่ทอ้ งฟ้าได้ดว้ ยแรงอะไร ก. แรงดนั ข. แรงกริ ิยา ค. แรงปฏกิ ิรยิ า ง. แรงหนีศูนย์กลางโลก

ชดุ การเรยี นการสอน เรื่องเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรียนรู้ระบบสรุ ิยะ ชุดที่ 1 305. การโคจรของดาวเทียมเกี่ยวข้องกับขอ้ ใดมากที่สุด ก. แรงพยุง ข. แรงต้านอากาศ ค. แรงกริ ิยา – แรงปฏิกิริยา ง. แรงโน้มถว่ งของโลก6. ถ้าดาวเทยี มโคจรรอบโลกท่รี ะดบั ความสูง 35,880 กิโลเมตร ดาวเทียมต้องโคจรดว้ ยความเร็วเท่าไร จึงจะอยใู่ นวงโคจรได้ ก. 1.05 กโิ ลเมตรตอ่ วินาที ข. 2.07 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที ค. 3.07 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที ง. 4.05 กโิ ลเมตรต่อวินาที7. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ก. แรงโน้มถว่ งของโลกท่ีกระทาตอ่ วัตถุ ไม่ขึ้นกับมวลของวตั ถุนัน้ ข. วตั ถหุ ลดุ ออกจากโลก เมอ่ื แรงโน้มถว่ งของโลกกระทาตอ่ วัตถุมีค่ามากขน้ึ ค. วัตถยุ ง่ิ อยู่หา่ งจากจุดศูนยก์ ลางของโลกมาก แรงโน้มถ่วงทีก่ ระทาต่อวัตถุย่ิงลดลง ง. วัตถยุ ิ่งอยหู่ ่างจากจุดศูนย์กลางของโลกมาก แรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถยุ ง่ิ มากขน้ึ8. การทดี่ าวเทียมสามารถลอยอยู่ในอวกาศได้เนื่องจากเหตุผลตามขอ้ ใด ก. ดาวเทยี มเคล่ือนทีด่ ว้ ยความเรว็ สูงมาก ข. ดาวเทยี มเคล่อื นทใ่ี นทิศทางเดียวกับการหมุนตัวของโลก ค. ดาวเทยี มเคลื่อนทีใ่ นทิศทางตรงข้ามกับทโ่ี ลกหมุนรอบตวั เอง ง. ดาวเทยี มมีความเรว็ คงทท่ี ี่เหมาะสมกบั ระดบั ความสงู จากผวิ โลก

ชุดการเรียนการสอน เร่อื งเทคโนโลยอี วกาศสกู่ ารเรยี นร้รู ะบบสุริยะ ชดุ ท่ี 1 319. เม่ือระดับความสูงจากผิวโลกเพ่ิมขึ้น คาบของการโคจรของดาวเทียมรอบโลกเป็นอยา่ งไร ก. เพิ่มขนึ้ ข. ลดลง ค. เท่าเดมิ ง. มคี า่ เพมิ่ ข้นึ เป็นคร่งึ หนึ่งของระยะทาง10. การยงิ ดาวเทยี มขึ้นสู่วงโคจรของโลก เส้นทางใดถูกตอ้ งที่สุด 12 3 ก. เสน้ ทางที่ 1 ข. เส้นทางที่ 2 ค. เส้นทางท่ี 3 ง. เส้นทางที่ 1 และ 2 ตอบได้ทุกขอ้ หรือเปล่าคะ่ ... ลองตรวจคาตอบดูซิค่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook