ผักสวนครู ผกั หวาน โดย....สำนักงำน กศน.จงั หวดั พงั งำ
ผักหวาน ชื่อสมนุ ไพร ผักหวานบ้าน ชือ่ อื่นๆ ผักหวานใตใ้ บ (สตูล) มะยมปา่ (ประจวบคีรีขันธ์) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ก้านตง ใตใ้ บใหญ่ จ๊าผกั หวาน ช่อื พอ้ ง ผกั หลน (เหนอื ) ชอ่ื วงศ์ Sauropus androgynus (L.) Merr. Sauropus albicans Bl. Euphorbiaceae
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้พุ่มขนาดกลาง สูงประมาณ 2-3 เมตร ลาตน้ แขง็ ลาต้นกลมหรอื คอ่ นข้างเปน็ เหลีย่ ม ตง้ั ตรง เปลือกต้นขรุขระ สีน้าตาล ก่ิงอ่อนสีเขียวเข้มผิวเรียบ แตกกิ่งก้านระนาบกับพื้นหรือเกือบปรกดิน กิ่งเรียวงอเล็กน้อยตามข้อ ใบเดี่ยวเรียงสลับ ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน รูปไข่แกมขอบขนาน รูปขอบขนาน หรือรูปคล้าย ขนมเปียกปนู ยาว 4-8 เซนตเิ มตร กว้าง 2-5 เซนติเมตร โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ สีเขยี วเขม้ มีแถบสขี าวบริเวณกลางใบ ผวิ ใบเกลยี้ งทงั้ สองด้าน มหี ูใบ มใี บประดับรูปสามเหล่ียม ปลายแหลม ดอกเดีย่ ว แยกเพศ ออกบรเิ วณซอกใบ เรยี งตามก้านใบ โดยมีใบปรก อยู่ด้านบน ดอกขนาดเล็ก มี 2 ชนิด ตอนบนของกิ่งก้านจะเป็นดอก เพศเมีย ส่วนตอนล่างจะเป็นดอกเพศผู้ มีดอกเพศเมีย 1-3 ดอก ดอกเพศผจู้ านวนมาก ดอกเพศผ้มู กี ลีบเล้ยี ง 6 กลีบ กลบี ดอก 6 กลีบ รูปจานกลมแบน สีน้าตาลแดง ขนาด 0.5-1 เซนติเมตร เกสรเพศผู้มี 3 อัน ก้านเกสรเช่ือมติดกัน ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศเมียมีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีกลีบ เลย้ี ง 6 กลีบ รูปไข่กลับ เหล่อื มซ้อนกนั คล้ายเรียงสองชน้ั ช้ันละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงสีแดงเข้มหรือสีเหลืองจุดประสีแดงเข้ม ผลแห้ง แตกได้ ทรงกลมแป้น สีเขียวอ่อน ฉ่าน้า ขนาดประมาณ 1.5 เซนติเมตร เม่ือแก่เต็มที่มีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเลี้ยงสีแดงติด คงทน ภายในผลแบ่งเป็น 6 พู แต่ละพูมี 1เมล็ด เมล็ดเป็นรูปครึ่ง วงกลม เปลอื กเมลด็ สีนา้ ตาลเข้ม หนา และแขง็
ประเภทของผักหวาน ผกั หวานมี 2 ประเภท ดังน้ี 1. ผักหวานบ้าน (EUPHORBIACEAE:Sauropus abicans) ลกั ษณะเปน็ ไมพ้ ุ่มตน้ เล็ก ตน้ สงู ประมาณ 2-4 ฟตุ ใบคลา้ ยใบ มะยม แต่มนี วลขาว บนหนา้ ใบ ดอกเล็กเป็น ชอ่ สแี ดง ขาว ผล ขนาดเล็ก มสี ีเขยี วออ่ น จานรองผลมสี แี ดงเขม้ ติดห้อยยอ้ ย ตามกิง่ ใต้ผกั หวานบ้านเป็นพืชท่ปี ลกู งา่ ยนิยมใช้ต้นอ่อนมาปลกู ในสวน ตามพ้นื ท่ีลุม่ ต่า ริมรัว้ บ้านหรือทีใ่ กลแ้ หล่งน้า
2. ผักหวานป่า (OPILLACEAE :Melientha suavis) เป็นผักพ้นื บ้านของไทยทีข่ ึ้นเองตามปา่ ราบ มที กุ ภาคในประเทศ ไทย ลักษณะเป็นไม้ยืนตน้ ขนาดยอ่ มถงึ ขนาดกลางใบใหญ่ยาวคล้ายใบ มะตูมผวิ ขาวนวล ผลกลม ขนาดเล็ก สีแดง ใบอ่อน ใช้รบั ประทานได้ เชน่ ใบผักหวานบ้าน แต่รสหวานดี และมีราคาแพงกว่าผักหวานบา้ น การ บริโภคผกั หวานปา่ ควรปรงุ ให้สุกเสยี กอ่ น เนอื่ งจากการบรโิ ภคสดๆ ใน ปรมิ าณมากอาจทาใหเ้ กดิ การเบือ่ เมา เปน็ ไข้ และอาเจยี นได้ การเกบ็ ใบผกั หวานปา่ ไปรับประทาน ต้องระมดั ระวังเปน็ พิเศษ เพราะมตี ้นไม้ อีกชนิดหนึ่งเรยี กวา่ \"ตน้ เสน\" เป็นไม้ที่มลี ักษณะคลา้ ยคลึง กนั กับตน้ ผักหวานมาก ลาต้นออกมสี หี มน่ ๆ และใบหนากวา่ กนั เล็กน้อย ใบต้นเสนถ้ารับประทานเขา้ ไปจะทาให้คลืน่ ไสอ้ าเจียน คอแหง้ อ่อนเพลีย หมดสติ ถ้ากาลังนอ้ ย อาจตายได้
การปลกู ผักหวาน การขยายพันธุ์ ทาได้ 2 วธิ ี คือ 1. การเพาะเมล็ด การเพาะเมล็ด ทาได้โดยการเก็บผลแก่จดั ซึง่ จะมีเมล็ดสีดา นาผลมาแกะเปลอื ก และแยกเมลด็ ออกแล้วนาเมล็ดผึ่งไว้ในท่รี ่ม 3-5 วัน จนเมลด็ แห้ง กอ่ นนาเมล็ดมาห่อรวมกันดว้ ยผา้ และเก็บไว้ในที่รม่ นาน 1-2 เดอื น เพ่อื ใหเ้ มล็ดพักตัว เมล็ดทีเ่ กบ็ ไวต้ ามระยะเวลา ใหน้ าเมล็ดมาเพาะในถุงเพาะชาที่ กรอกวสั ดเุ พาะเตรยี มไวห้ รอื นาเมล็ดลงเพาะในแปลงเพาะโดยตรง สาหรับแปลงเพาะทาได้ด้วยการวางอิฐเป็นส่เี หลย่ี ม สูงประมาณ 15-20 เซนตเิ มตร ขนาดกวา้ งประมาณ 1 เมตร ยาวตาม ความเหมาะสม ก่อนนาวสั ดเุ พาะท่ีใชด้ ินผสมกบั แกลบดาหรือวสั ดุ อนิ ทรยี ์อ่นื เทใส่แปลงเพาะ กอ่ นนาเมล็ดหยอดเปน็ แถวๆ ระยะห่าง เมล็ด และแถวประมาณ 3-5 เซนติเมตร กอ่ นรดนา้ ใหช้ ุม่ ดูแลจน เมลด็ งอก กอ่ นย้ายใสถ่ ุงเพาะชาดแู ลตอ่ สาหรับการเพาะในถงุ เพาะชา ให้หยอดเมลด็ ใส่ถุงละ 1 เมลด็ กอ่ นรดนา้ ให้ชมุ่ และดูแลจนตน้ กล้าสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร จงึ นาปลูกลงแปลงตอ่
2. การปักชากิ่ง กง่ิ ชา ให้เลือกกิ่งทมี่ อี ายุพอเหมาะ ลากิ่งมีสเี ขยี วอมสีนา้ ตาลหรอื สี เขยี วเข้มซง่ึ เปน็ ก่งิ ท่มี ีอายตุ งั้ แต่ 1 ปี ขน้ึ ไป ตดั ใหม้ ขี นาดยาว 20 เซนติเมตร หรอื ประมาณเทา่ แทง่ ดนิ สอ โดยวสั ดทุ ี่ใช้ปักชา คอื ขี้เถา้ แกลบทีก่ รอกใสถ่ ุงดาไว้เรยี บร้อยแลว้ หรือดินผสม โดยรดนา้ ให้ช่มุ กอ่ นปักชาหรืออาจให้หลังจากการปกั ชากไ็ ด้ ในการปกั ชาตอ้ งชาใน ทร่ี ่ม โดยเสยี บลึกประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวกงิ่ ลงไปในแนวต้ัง หลังปักชาอายุ 1 – 2 เดือน กส็ ามารถนาไปปลกู ลงแปลงได้
การเตรยี มแปลง และหลุมปลูก หากปลกู แปลงใหญ่เพอื่ จาหน่ายจะต้องเตรยี มแปลงด้วยการไถกลบ ดินกอ่ น 1-2 รอบ เพ่ือกาจัดวัชพชื และหมกั กลบวชั พชื ใหเ้ ปน็ ป๋ยุ การเตรียมหลุมปลกู ให้ขุดหลุมกว้าง และลกึ ประมาณ 30 เซนตเิ มตร ระยะหา่ งระหว่างหลุม 1-1.5 เมตร และแถว 1.5-2 เมตร แล้วตาก หลมุ ทง้ิ ไว้ 3-5 วัน จากนัน้ รองพื้นดว้ ยปยุ๋ คอก ประมาณ 5-10 กา มอื /หลมุ หรือรองเพิม่ ดว้ ยปยุ๋ สตู ร 15-15-15 ประมาณ ครึง่ กามอื - 1 กามือ/หลมุ พร้อมคลุกผสมหน้าดนิ ใหเ้ ข้ากัน
วิธีปลกู ผกั หวานบ้าน การปลกู ผกั หวานบา้ น ควรปลกู ในชว่ งตน้ ฤดฝู นจนถึงกลางฤดฝู น โดยใชต้ ้นพันธจุ์ ากก่งิ ปกั ชาหรือกลา้ เพาะเมล็ดที่แตกใบแล้ว 5-7 ใบ หรือมคี วามสูงของตน้ กล้า ประมาณ 20-30 เซนติเมตร นาปลกู ลงหลมุ ท่เี ตรียมไว้ การใส่ป๋ยุ สาหรับปุ๋ยเคมีให้ใส่เดือนละครั้ง ส่วนปุ๋ยคอกให้ใส่ 3 เดือน/คร้ัง โดยปุ๋ยเคมีจะใช้สูตร 15 – 15 -15 เป็นหลัก สลับกับสูตร 13 – 21 – 21 เช่น 2 เดือน แรก ใส่สูตร 15 – 15 – 15 ไป เดือน ต่อไปให้ใส่สูตร 13 – 21 -21 และพอเดือนถัดไปให้กลับมาใช้ สูตร 15 – 15 -15 อีกคร้ัง โดยใช้การโรยรอบโคนต้นหรือแบบ หว่านข้าวให้ท่ัว ท้ังน้ี ควรเพิ่มปุ๋ยคอกร่วมด้วย เพราะจะทาให้ยอด ผกั หวานมีรสหวาน และกรอบมากขน้ึ รวมถึงลดกล่นิ เหมน็ เขยี ว
การใหน้ ้า หลงั การปลกู ซงึ่ จะปลูกในตน้ ฤดฝู นจนถึงกลางฤดูฝน ช่วง นีตน้ พันธ์จุ ะไดร้ ับน้าจากฝน อยา่ งสมา่้ เสมอ และ เพียงพอตอ่ การเตบิ โตไป จนถงึ ฤดแู ลง้ ได้ เม่ือถงึ ฤดู แลง้ ควรให้น้าเพ่ิม สัปดาห์ ละ 1 ครัง โดยเฉพาะในชว่ ง การเกบ็ ยอดอ่อน การตัดแตง่ กง่ิ การตดั แต่งกง่ิ หรอื การทา้ สาว เป็นการตัดแต่งตน้ และกง่ิ ผกั หวานทเี่ ติบโตยาวหรอื สงู เกนิ ไป ท้าให้การเก็บยอดไมส่ ะดวก โดยนิยมตดั แตง่ กิ่งเมอื่ ต้นผักหวานเติบโตได้ ประมาณ 1 ปี และจะตัดแต่งกงิ่ ในทกุ ๆปี การตดั แตง่ กง่ิ นนั ให้ตดั สูงเหลอื ตน้ ประมาณหัวเข่าหรอื ถึงเอว กง่ิ ทต่ี ัดทิง ให้คดั เลือกนา้ ไปปกั ช้า ขยายพนั ธ์ตุ ่อ เพื่อจ้าหน่ายหรือปลูกขยายเพิ่ม ทงั นี หลังการตัด แต่งกง่ิ แล้วใหร้ ดนา้ ตามปกตภิ ายใน 15 วันผักหวานจะใหผ้ ลผลิต ทีแ่ ตกออกมาอีกครงั
การเก็บเกย่ี ว..... ผักหวาน สามารถเก็บยอดอ่อนหรือใบอ่อนได้ หลังปลูกแล้ว ประมาณ 2 เดือน และเก็บยอดใหม่ในรอบ ถัดไปได้อีกประมาณ 20-30 วัน หลังจากครังแรก ทังนี สามารถเก็บยอดได้ตลอดทังปี และเก็บได้จนถึงอายุของล้า ต้น 10-20 ปี ขึนอยู่กับต้นพันธุ์จากการเพาะเมล็ด ซ่ึงมีอายุ นานกวา่ ต้นพนั ธ์จุ ากการปักช้ากง่ิ รวมถงึ การดแู ล และบา้ รงุ ตน้ การเกบ็ ยอดออ่ น ให้เก็บในชว่ งเช้าจนถงึ ก่อน 10 โมงเชา้ หากเลยมากกวา่ นัน แดดจะร้อน ใบ และยอดออ่ นจะ เริม่ อ่อนตัว ยอดไม่สด และเกบ็ ไวไ้ ดไ้ ม่นาน การเก็บ ควรตัดเก็บยอดอ่อนที่ความยาวประมาณ 10 – 12 นวิ ทงั นี ไมค่ วรจะทิงไวใ้ ห้ยอดอ่อนกลายเป็นใบแก่ หรือเก็บช้าเกินไป เพราะผักหวานบ้านจะแตกยอดในรุ่นต่อไป ช้าตามมา และควรจะเก็บยอดอ่อนให้หมดเป็นรุ่นๆในแต่ละ แปลง เพ่อื ใหท้ ันการตัดแตง่ และเก็บยอดครังต่อไป เมื่อเก็บ ยอดใบออ่ นของผักหวานบา้ น แลว้ ควรเก็บไว้ในที่ร่ม มีอากาศ ถ่ายเทดี พร้อมกับพรมน้าใหช้ ่มุ อย่าให้โดนแสงแดด เพราะจะ เหย่ี ว และใบจะรว่ งไดง้ า่ ย
โรคในผักหวาน..... โรครากเนา่ โคนเนา่ ในผักหวาน สาเหตหุ ลกั ๆ มาจากเชือ้ รา ฟยั ท็อปธอร่า (Phytophthora) ซ่งึ เมื่อความชืน้ ท้ังในอากาศและ พื้นดินก็ทาใหก้ ารเจริญเตบิ โตของเชื้อราเจริญเติบโตอยา่ งรวดเรว็ และถา้ ความชนื้ ในดนิ มีมากจนเกนิ ไป จนสง่ ผลให้รากพชื อาจจะขาด ออกซเิ จนได้ และการระบายถ่ายเทนา้ ไม่ดีพอทาให้สภาพลาต้นของ พืชโดยรวมออ่ นแอ เช้อื โรคฉวยโอกาสกเ็ ขา้ ทาลายได้งา่ ย
วิธีการแก้ไขควรดูแลมิให้มีนา้ ทว่ั ขังบรเิ วณ โคนตน้ ถ้าดินแนน่ แขง็ การระบายถ่ายเทน้าไม่ดคี วรใช้ สารละลายดินดาน ALS 29 ทาการราดรด ใชเ้ ศษไม้ ใบ หญา้ หรอื ฟางข้าวคลกุ โคนต้นหรือแปลงผกั เพือ่ ลด แรงกระแทกของเมด็ ฝนท่ตี กลงมาอยา่ งแรงปะทะกับเมด็ ดินกระเดน็ ไปกระทบกบั พชื ผักทาใหเ้ กิดบาดแผล ฟก ช้า และจะนามาซ่ึงการเขา้ ทาลายของเช้อื ราฉวยโอกาส ท้ังหลายได้ในอนาคต ส่วนในเรือ่ งของการปราบเช้อื รา หรอื เชือ้ โรคทางดนิ กต็ ้องยกใหจ้ ุลินทรยี ์ “ไตรโคเดอร์ มา่ ” เพราะตัวน้ีถอื วา่ เปน็ ตัวทีป่ ราบเช้อื รา ฟยั ท็อปธอรา่ ได้ดที ีส่ ุดในเวลา วธิ กี ารใช้ ให้ใช้ ไตรโคเดอรม์ า่ 1 กโิ ลกรมั คลุกผสมกบั ปยุ๋ หมักป๋ยุ คอก 50 กโิ ลกรมั พรมน้าพอช้นื หมักทิง้ ไว้ 3 คืน แล้วนามาหวา่ นรอบ ทรงพุม่ หรือบนแปลงผกั หวานบ้านจะชว่ ยป้องกันและ กาจัดโรครากเนา่ โคนเน่าได้
โรคใบหดในผกั หวานบา้ น โรคใบหด เปน็ โรคท่ีพบระบาดในทุกพ้ืนทบ่ี างแห่งสว่ นมากจะเป็น แถบภาคเหนือ แต่ก็พบได้ในหลายๆทขี่ องประเทศไทย ควรระมดั ระวังไม่ให้ทา ความเสียหาย พบวา่ ระบาดไดม้ ากในช่วงฤดูหนาว ฤดูแลง้ แตใ่ นฤดูฝนแลว้ จะพบโรคน้นี ้อยมาก สาเหตุของโรคใบหด เกดิ จากเช้ือไวรัสท่ีมีชอ่ื ว่า Tobacco Leaf Curl Virus(TLCV) และมีแมลงหวข่ี าว เป็นพาหะนาเชอื้ โรคเขา้ ส่ตู ้น ผกั หวานบา้ นไดน้ ั่นเอง โดยเชอ้ื ไวรัสชนิดนสี้ ามารถ ทวจี านวนในตัวของ แมลงหวี่ขาว เม่อื แมลงไปดดู กินนา้ เลย้ี งต้นผกั หวานบ้าน เช้ือไวรัสก็จะถูก ปล่อยออกมา กรณที ต่ี ้นผกั หวานบ้านค่อนข้างอ่อนแอ ก็จะเสียหายมากอาการ จะแตกตา่ งกนั ไปตามพนั ธแ์ุ ละสภาพดินฟ้าอากาศ โรคใบหดอาจเกดิ ข้นึ ได้ทกุ ระยะของการเจรญิ เตบิ โต ตงั้ แตต่ น้ กลา้ ในแปลงเพาะ จนกระทั่งตน้ ผักหวานบา้ น ท่ีปลูกในไร่ ในระยะกล้ามกั พบเมอ่ื อายุ 2 - 3 สปั ดาห์ ซึ่งจะทาใหเ้ สยี หายมาก เพราะกล้าจะแคระ แกรน็ ไมส่ ามารถเจรญิ เติบโตต่อไปได้ ถ้าเป็นกับต้นทโ่ี ตแล้วอาการจะ ปรากฏเฉพาะ ใบอ่อนเทา่ นนั้ ความเสียหายจึงไม่มากนกั ตามปกติ โรคน้ีจะแสดงอาการ ประมาณ 12 - 36 วนั หลงั จากทไี่ ดร้ ับเช้อื แตจ่ ะข้ึนอย่กู บั พนั ธุ์ และ สภาพแวดล้อมเป็นเกณฑ์ การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โดยแมลงหวขี่ าวพบว่า มีทั้งชนดิ Bemisia tabaci หรอื B.gossypiperda ทีส่ ามารถถา่ ยทอด โรคได้ โดยทีแ่ มลงหวข่ี าวเหลา่ นี้ มกั ได้รบั เชื้อจากต้นสาบเสือ ซง่ึ เปน็ วัชพืชทีข่ ึ้นอยู่ ท่ัวทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนอื ท่ี ทาให้ยากตอ่ การป้องกนั กาจดั ให้โรคใบหดหมดส้นิ ไปได้ แนวทางการป้องกนั กาจดั โดยทว่ั ไปท่สี ามารถ ควบคมุ ไมใ่ หโ้ รคใบหด กระทาไดด้ ังนี้
1.ทาลายแมลงหวี่ขาวท่ีเปน็ พาหะ 2. ทาลายวชั พชื หรอื พชื อาศยั เร่ิมตง้ั แต่แปลงเพาะกล้า ควรใช้ อน่ื ในบริเวณแปลง สารเคมีพวกคารบ์ าเมท เชน่ ผักหวานบา้ นให้หมดไป ฟรู าดาน หรอื คูราแทร์ ในอตั รา โดยเฉพาะอย่างย่ิง พืชใน 250 กรัม หวา่ นให้ทั่วแปลงเพาะ ตระกูลเดียวกันกับยาสบู ท่อี าจ แลว้ จึงปลูกผกั หวานบ้าน ส่วนใน ปลูกในแปลงข้างเคียง เป็นตน้ ไรใ่ ชร้ องกน้ หลุมในอตั รา 3 กรัม ว่า พริก มะเขอื เทศ มนั ฝร่งั ตอ่ หลมุ ก่อนปลกู ตน้ เนื่องจากการปลูกพืชเหล่าน้ี ผสมผสานกันในพื้นที่เดยี วกนั ผักหวานบา้ น และควรใชส้ ารฆ่า แมลงประเภทดดู ซมึ ท่ีมี หรือใกล้เคียงกัน จะสง่ ผลให้ ประสิทธิภาพสงู โดยฉดี พน่ เปน็ แหล่งสะสม เชื้อไวรัส ทา ให้ยากตอ่ การป้องกนั กาจัดให้ สลบั กันอยา่ งนอ้ ย 2 ชนิด ไดแ้ ก่ ออธนี และอะโซดริน ใน หมดไป อัตรา 30 มิลลลิ ติ รต่อนา้ 20 ลิตร ฉีดพ่นเป็นประจาทุกสัปดาห์ เพอื่ ป้องกนั การดือ้ ยาชนดิ ใด ชนิดหนึ่งของแมลงหวี่ขาว
3. ปลูกผกั หวานบ้านในช่วงที่มีการ 4. ดแู ลตน้ กลา้ ในแปลงเพาะ ระบาดของแมลงหวข่ี าวต่าที่สุด ซ่ึง อาจเลือกปลูกในช่วงท่ีมคี วามชน้ื กล้าผกั หวานบ้านให้ปลอด จากโรค เพอื่ ปอ้ งกันการตดิ สมั พัทธ์ ในอากาศสูง เนอ่ื งจาก เชอื้ ต้ังแตร่ ะยะกล้า หากพบ แมลงหวี่ขาวไม่ชอบความชนื้ เลอื ก ปลูกผักหวานบ้านในพ้นื ที่เดยี วกันที่ ตน้ กลา้ ทเ่ี ป็นโรคควรถอนทิง้ ทนั ที จากแนวทางการปอ้ งกัน เปน็ บรเิ วณกวา้ ง จะสามารถเจือจาง และกาจดั โรคใบหดท้งั หมดท่ี จานวนประชากรของแมลงได้ ได้กล่าวมา ตลอดจนการเลือกชว่ งปลูก ผักหวานบ้าน แตล่ ะแปลงไม่ใหเ้ วน้ ช่วงห่างกันเกินไป หรือใหไ้ ลเ่ ล่ยี กบั พ้ืนท่ปี ลูกผักหวานบา้ นข้างเคยี ง โดยวิธีการต่างๆ เหลา่ นี้ จะช่วยลด ประชากรของแมลงหวขี่ าว ไมใ่ ห้อยู่ ในระดบั ที่จะทาให้เกิดความสูญเสยี ได้
ประโยชนข์ องผกั หวาน จัดเป็นผักพืน้ บา้ นไทยนยิ มนาใบออ่ น และยอดอ่อนมา รับประทานสด และใชป้ ระกอบอาหาร โดยเฉพาะสาหรบั เปน็ ผกั จิม้ น้าพริก และอาหารทม่ี ีรสเผ็ดหรือใชป้ ระกอบอาหารในหลายเมนู อยา่ ง แกง ผกั หวานใส่ไข่มดแดง ฯลฯ เน่อื งจากใบมีความกรอบและมีรสหวาน อรอ่ ยกินงา่ ย ประโยชน์ผกั หวาน 1. ใบอ่อน และยอดออ่ นของ ผักหวานบา้ น นยิ มรบั ประทานสด คู่กับกบั ขา้ วทีม่ ีรสเผ็ด อาทิ น้าพริก หรอื ใส่ทาเปน็ แกง ซุปหนอ่ ไม้ เป็นต้น เนอ่ื งจากใบอ่อน และยอดอ่อนมีความกรอบ ใหร้ สหวาน นอกจากน้ัน ยงั ใชป้ ระกอบอาหารในหลายเมนู อาทิ แกงอ่อม แกงเลยี ง และแกงจืด เป็นต้น แต่หากทาสกุ ความหวานจะลดลง ไมเ่ ทา่ กับการรบั ประทานผกั หวานสด การตม้ ผักหวานจนสกุ อีกท้ัง ยังทาให้ มกี ลนิ่ เหมน็ เขียวเลก็ นอ้ ย
2. ใบออ่ น และยอดอ่อนผักหวาน นามาลา้ งนาให้สะอาด นาไปตากแดดให้แห้ง 7-10 วัน สามารถใช้ชงเป็นชาด่มื ได้ ในประเทศฟิลปิ ปินส์ และอินโดนีเซยี เช่อื ว่าใบ และยอด ผกั หวานบา้ น สามารถช่วยกระตนุ้ การเพ่มิ และการหล่งั นา้ นม ได้ จงึ นยิ มใชเ้ ลย้ี งสตั ว์ โดยเฉพาะโคนม เพ่ือให้มนี ้านม เพิ่มขน้ึ แต่ทั้งน้ี ผักหวานบ้านสามารถใชเ้ ปน็ อาหารสัตว์เลีย้ ง ทัว่ ไปได้ โดยเฉพาะโค กระบอื แพะ และแกะ ซ่งึ หากคณุ กาลงั มองหารัว้ มาล้อมเลย้ี งสตั ว์สามารถส่งั ซือ้ รว้ั ลอ้ มสตั วข์ อง คุณไดท้ ี่ ร้ัวเกษตร ร้วั แข็งแรง สามารถล้อมสตั ว์เล็ก อย่าง ไก่ เปด็ กระต่าย สุนัข และสตั ว์ใหญ่ อยา่ ง ววั โคนม ล้อม ด้วยร้ัวตาข่ายเหล็กอยา่ งดี
ผักสวนครู ผักหวาน ขอขอบคณุ ข้อมูลจาก http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=77 https://sites.google.com/site/theeradetpuk007/kar-pluk-phak- https://puechkaset.com/ http://pakwanpan.circlecamp.com/index.php?page=Attendance http://www.foodnetworksolution.com/ https://ruakaset.com/
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: