สถานการณ์สาคญั ของโลกในคริสต์ศตวรรษท่ี 21
สถานการณ์สาคญั ของโลกในคริสต์ศตวรรษท่ี 21 • เหตุการณ์ 11 กนั ยายน ค.ศ. 2001 และความขดั แยง้ ทางศาสนาและเช้ือชาติ • ภาวะโลกร้อน • วกิ ฤตการณ์พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม • วกิ ฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008
เหตุการณ์ ในวนั ท่ี 11 กนั ยายน ค.ศ. 2001 ผกู้ ่อการร้ายขบวนการอลั เคดา ไดจ้ ้ีเคร่ืองบินโดยสาร ของสหรัฐอเมริกา เขา้ พงุ่ ชนอาคารแฝดเวลิ ดเ์ ทรด เซ็นเตอร์ และอาคารเพนตากอน ท่ีทา การกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ส่งผลใหต้ อ้ งสูญเสียทรัพยส์ ินและพลเมืองไปกวา่ 3,000 คน นบั เป็นการถกู โจมตีบนผนื แผน่ ดินของตนเองคร้ังแรกในประวตั ิศาสตร์ของ สหรัฐอเมริกา เคร่ืองบินพงุ่ เขา้ ชนอาคารเวลิ ดเ์ ทรด เซ็นเตอร์
สาเหตุสาคญั นายอุซามะ บิน ลาเดน • ใน ค.ศ. 1998 นายอุซามะ บิน ลาเดน ผนู้ าขบวนการอลั เคดาลงนามในฟัตวา (fatwa) ซ่ึงเปรียบเสมือนกฎหมายที่ ประกาศวา่ การฆ่าชาวอเมริกนั และ พนั ธมิตรเป็นหนา้ ที่ของชาวมุสลิมทุกคน จนกวา่ กองทพั ของศตั รูจะออกไปจาก ดินแดนศกั ด์ิสิทธ์ิแห่งศาสนาอิสลาม • เป้ าหมายหลกั ของขบวนการอลั เคดา คือ การทาจิฮดั (Jihad) หรือการต่อสูเ้ พอ่ื ศาสนา ต่อตา้ นสหรัฐอเมริกาและประเทศ พนั ธมิตรโดยเฉพาะอิสราเอลและรัฐบาล ของประเทศท่ีไม่เป็นมุสลิมที่แทจ้ ริง
ผลจากเหตุการณ์ • ผคู้ นทวั่ โลกต่างหวาดกลวั และหวน่ั ระแวงกลุ่มก่อการร้าย • สหรัฐอเมริกาเตือนใหท้ ว่ั โลกตื่นตวั และผนึกกาลงั กนั ต่อตา้ นลทั ธิก่อการร้าย ทาใหห้ ลาย ประเทศอยใู่ นภาวะลงั เลวา่ จะร่วมมือกบั สหรัฐอเมริกามากนอ้ ยเพยี งใด • การทาลายลา้ งและการสงั หารผคู้ นดว้ ยวธิ ีการรุนแรงในที่ต่างๆ บนโลกมีมากข้ึน เหตุก่อการร้ายที่โรงแรมทชั มาฮลั ประเทศอินเดีย เหตุการณ์บุกยดึ หา้ งสรรพสินคา้ ในประเทศเคนยา เม่ือ ค.ศ. 2008 เมื่อ ค.ศ. 2013
สถานการณ์ภาวะโลกร้อนในคริสต์ศตวรรษท่ี 21 จากการขยายตวั ทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ก่อใหเ้ กิดเป็นปัญหาโลกร้อน ที่ส่งผลให้ ภมู ิอากาศเปล่ียนแปลง (climate change) นาไปสู่การเกิดภยั ธรรมชาติท่ีรุนแรง ท้งั รัฐบาลและ องคก์ รสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ ทว่ั โลกจึงออกมาเรียกร้องและรณรงคใ์ หล้ ดภาวะโลกร้อนดว้ ยการลด การปล่อยแกส๊ เรือนกระจก การเพิ่มข้ึนของอณุ หภูมิโลก ส่งผลใหจ้ านวนหมีข้วั โลกลดนอ้ ยลง
สาเหตุ เกิดจากการปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่ช้นั บรรยากาศจากการกระทากิจกรรม ต่างๆ ของมนุษยท์ ี่ส่งผลใหเ้ กิดปรากฏการณ์เรือนกระจกที่ทาใหอ้ ุณหภมู ิโลกสูงข้ึน เร่ือยๆ เช่น • การทาการเกษตร • อุตสาหกรรม • การคมนาคมขนส่ง • การตดั ไมท้ าลายป่ า
ผลกระทบ • น้าแขง็ บริเวณข้วั โลกละลาย ส่งผลใหร้ ะดบั น้าทะเลสูงข้ึน เกิดปัญหาชายฝั่งถกู กดั เซาะ • ธารน้าแขง็ เหือดแหง้ ส่งผลใหแ้ ม่น้าสายสาคญั ต่างๆ เร่ิมแหง้ เหือด เกิดปัญหาขาดแคลนน้า ตามมา • เกิดปรากฏการณ์สภาพอากาศแปรปรวนและเกิดภยั ธรรมชาติท่ีรุนแรงบ่อยคร้ังมากข้ึน ความเสียหายจากพายไุ ตฝ้ ่ นุ ไห่เยยี น ท่ีพดั เขา้ ถล่มประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ดว้ ยความเร็วลมกวา่ 300 กิโลเมตรต่อชวั่ โมง เมื่อ ค.ศ. 2013
วกิ ฤตการณ์นา้ มนั สาเหตุ เริ่มตน้ ข้ึนราวตน้ ทศวรรษ 1970 เม่ือกลุ่ม ผสู้ ่งน้ามนั เป็นสินคา้ ส่งออกหรือโอเปก ประกาศข้ึนราคาน้ามนั และลดการผลิต น้ามนั ดิบลง ทาใหป้ ริมาณน้ามนั ดิบสารองใน โลกมีนอ้ ยลง ราคาน้ามนั จึงเพิ่มสูงข้ึนอยา่ ง ต่อเน่ือง ส่งผลใหร้ ะบบเศรษฐกิจโลกปั่นป่ วน แท่นผลิตน้ามนั ในประเทศอิหร่าน
ผลกระทบจากวกิ ฤตการณ์นา้ มนั • ระบบเศรษฐกิจทว่ั โลกเกิดความปั่นป่ วน โดยเฉพาะการผนั ผวนของคา่ เงินดอลลาร์สหรัฐ • กลุ่มประเทศโอเปกถือโอกาสใชน้ ้ามนั เป็นเครื่องมือต่อรองทางการเมือง ทาใหเ้ กิดความ ขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศตามมา เช่น ปัญหาสงครามระหวา่ งอิรัก-อิหร่าน ยง่ิ ทาใหร้ าคาน้ามนั ในตลาดโลกเพิม่ สูงข้ึน เหตุการณ์ลอบวางระเบิดท่อส่งน้ามนั ในประเทศอิรัก เม่ือ ค.ศ. 2013
การรับมือกบั วกิ ฤตการณ์นา้ มนั การใชพ้ ลงั งานลมผลิตกระแสไฟฟ้ า ในประเทศ ออสเตรเลีย • หลายประเทศหันมาแสวงหาและพฒั นา แหล่งพลงั งานทดแทน เพ่ือลดการนาเขา้ หรือการใชน้ ้ามนั ภายในประเทศ • มีการนาแก๊สธรรมชาติมาเป็ นพลังงาน สาหรับยานยนต์ • การใช้พลงั งานน้า พลงั งานลม พลงั งาน แสงอาทิตย์ และพลงั งานนิวเคลียร์มาผลิต กระแสไฟฟ้ า รถยนตใ์ ชแ้ ก๊สธรรมชาติ หรือ NGV ในประเทศไทย
วกิ ฤตการณ์ปัญหาส่ิงแวดล้อม สาเหตุ • การเติบโตของประชากรและเศรษฐกิจโลก • ความตอ้ งการบริโภคทรัพยากรจานวนมาก ผลกระทบ • ทาใหร้ ะบบนิเวศเสียความสมดุล • ทาใหส้ ภาพสงั คมและสภาพเศรษฐกิจ ไดร้ ับผลกระทบในเชิงลบ สภาพปัญหาหมอกควนั ในประเทศจีนจากการปล่อย ควนั พิษของยานยนตแ์ ละโรงงานอุตสาหกรรม
ปรากฏการณ์เอลนีโญ่ อุทกภยั ในประเทศปากีสถาน ภยั แลง้ ในประเทศออสเตรเลีย สาเหตุ • กระแสน้าอุ่นไหลยอ้ นกลบั จากบริเวณศนู ย์ สูตรทางมหาสมุทรแปซิฟิ กตะวนั ตก เนื่องจากลมสินคา้ มีกาลงั อ่อนลง ผลกระทบ • ทาใหบ้ ริเวณท่ีเคยมีฝนตกชุกกลบั แหง้ แลง้ บริเวณท่ีเคยแหง้ แลง้ กลบั มีฝนตกชุก • ทาใหเ้ กิดไฟไหมป้ ่ า อุทกภยั และพายหุ มุน รุนแรง
ข้อตกลงระหว่างประเทศเกย่ี วกบั การจัดการธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม • ความตกลงระหว่างประเทศเกยี่ วกบั การคุ้มครองช้ันบรรยากาศ เช่น พธิ ีสารเกียวโต อนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ค.ศ. 1992 • ความตกลงระหว่างประเทศเกย่ี วกับด้านสารเคมแี ละของเสียอันตราย เช่น อนุสญั ญา สตอกโฮลม์ วา่ ดว้ ยสารมลพษิ ตกคา้ งยาวนาน การประชุมอนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการเปล่ียนแปลงช้นั บรรยากาศ ที่ประเทศกาตาร์เมื่อ ค.ศ. 2012
• ความตกลงระหว่างประเทศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ ระหวา่ งประเทศซ่ึงชนิดพนั ธุ์สตั วแ์ ละพชื ป่ าใกลส้ ูญพนั ธุห์ รืออนุสญั ญาไซเตส พธิ ีสารคาร์ตา เฮนาวา่ ดว้ ยความปลอดภยั ทางชีวภาพ • ความตกลงระหว่างประเทศทีส่ าคญั ด้านเศรษฐกจิ เช่น องคก์ ารการคา้ โลก ความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิ ก การประชุมอนุสัญญาไซเตส คร้ังที่ 16 ที่ประเทศไทย เม่ือ ค.ศ. 2013
วกิ ฤตเศรษฐกจิ ค.ศ. 2008 วกิ ฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008 หรือ วกิ ฤตแฮมเบอร์เกอร์ เกิดข้ึนเมื่อเดือนกนั ยายน ค.ศ. 2008 ในประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งผล กระทบต่อระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา และ การเงินทวั่ โลก สานกั งานใหญ่สถาบนั ทางการเงินเลห์แมน บราเธอร์ รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
สาเหตุ • นโยบายการเงินเสรีในช่วงทศวรรษ 1980 ท่ีสนบั สนุนการลงทุนอยา่ งเสรีและลดบทบาทการ ควบคุมของรัฐใหน้ อ้ ยลง • นโยบายการลดอตั ราดอกเบ้ียต่าของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา เพื่อส่งเสริมการเติบโตทาง เศรษฐกิจ ทาใหธ้ ุรกิจอสงั หาริมทรัพยไ์ ดร้ ับผลกระทบอยา่ งหนกั ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา กรุงวอชิงตนั ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา
ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ โลก • สถาบนั การเงินทวั่ โลกไดร้ ับความเสียหายกวา่ 1.4 ลา้ นลา้ นดอลลาร์สหรัฐ เกิดภาวะถดถอยทาง เศรษฐกิจคร้ังใหญ่ของโลก • สภาพคล่องในระบบการเงินโลกเกิดความตึงตวั อยา่ งรวดเร็วและรุนแรง ทาใหอ้ ตั ราดอกเบ้ีย เงินกสู้ ูง และการขอสินเชื่อเงินกใู้ นประเทศมีตน้ ทุนสูงและทาไดย้ าก • ธุรกิจขนาดกลางและขนาดเลก็ (SMEs) ไดร้ ับผลกระทบอยา่ งหนกั เพราะมีอุปสรรคในการ ลงทุนและการดาเนินธุรกิจ ชาวอเมริกนั พากนั ประกาศขายบา้ นหลงั เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008
ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทย • อุตสาหกรรมเพอ่ื การส่งออกไดร้ ับผลกระทบอยา่ งรุนแรง เพราะความตอ้ งการสินคา้ ของ ต่างประเทศลดนอ้ ยลง ทาใหไ้ ทยส่งออกสินคา้ ไปยงั ตลาดโลกไดน้ อ้ ย การขยายตวั ทาง เศรษฐกิจจึงชะลอตวั ตามไปดว้ ย • การท่องเที่ยวซบเซา เพราะชาวต่างชาติเดินทางเขา้ มาท่องเท่ียวนอ้ ยลง • กาลงั ซ้ือของประชาชนลดลง เพราะการขยายตวั ทางเศรษฐกิจชะลอตวั การลดค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางของประชาชน เป็ นหน่ึงในมาตรการบรรเทาผลกระทบจากวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ของรัฐบาลไทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: