ระบบตอ่ มไรท้ อ่(Endocrine system) อ.จติ รา สุขเจริญ
หวั ขอ้ สอน• ศพั ทเ์ ฉพาะที่ใชใ้ นการศึกษาเรื่องระบบต่อมไร้ท่อ• โครงสร้างและหนา้ ท่ีของของอวยั วะต่างๆ ในระบบต่อมไร้ท่อ• - ต่อมไร้ท่อในสมอง ไฮโพธาลามสั ต่อมใตส้ มอง ต่อมไพเนียล• - ต่อมไทรอยด์ ต่อมไทมสั ต่อมพาราไทรอยด์• - ต่อมหมวกไต ต่อมเพศ ตบั อ่อน• หนา้ ท่ีของฮอร์โมนแต่ละชนิด
ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) • หมายถงึ ต่อมท่ที าหน้าท่สี ร้างสารเคมที ่เี รียกว่า ฮอร์โมนแล้วถกู ลาเลียงไปออกฤทธ์ิอย่างจาเพาะท่ี อวัยวะเป้าหมาย (target organ) โดยอาศยั ระบบ หมุนเวียนโลหติ • อวยั วะในร่างกายท่มี ีหน้าท่สี ร้างฮอร์โมน เช่น ...
Endocrine Organsศีรษะ คอ ลาตวัเชิงกราน
Endocrine system CELLS +(สมดุล) Nervous systemhypothalamus Neuroendocrine systemNervous system nerve fiber อวยั วะเป้าหมาย ŠtopEndocrine system หลอดเลือด อวยั วะเป้าหมาย (ชา้ และนาน)
ไฮโปธาลามสั(Hypothalamus) ตอ่ มใตส้ มอง(Pituitary gland)
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างไฮโปธาลามสั กบั ตอ่ มใตส้ มอง• Hypothalamus รูปร่างคลา้ ย “กรวย” ลกั ษณะแบน เป็นส่วนพ้ืน และผนงั ของ third ventricle• ฐานของไฮโปธาลามสั มีกา้ นยนื่ (stalk) โดยทีป่ ลายของกา้ นยนื่ คือ ตอ่ มใตส้ มอง• ไฮโปธาลามสั หลงั ่ releasing hormone เขา้ สูต่ อ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ทาง เสน้ เลอื ดดา hypothalamo-pituitary portal system ที่อยใู่ น pituitary stalk• ไฮโปธาลามสั และตอ่ มใตส้ มองส่วนหลงั มีการเชื่อมตอ่ กนั โดยระบบ ประสาท
• ความสัมพนั ธ์ระหว่างไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้า - ไฮโปธาลามสั หลงั่ releasing hormone มาควบคุมการทางานของ ต่อมใตส้ มองส่วนหนา้• ความสัมพนั ธ์ระหว่างไฮโปธาลามสั และต่อมใต้สมองส่วนหลงั - ต่อมใตส้ มองส่วนหลงั ทาหนา้ ที่เกบ็ ฮอร์โมน 2 ชนิดท่ีถูกสร้าง จากไฮโปธาลามสั คือ ADH (Antidiuretic hormone) และ oxytocin
เซลล์เป้าหมายของฮอร์โมนท่หี ลง่ั จากต่อมใต้สมอง
Follicle stimulating hormone (FSH)• เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตนี• ออกฤทธ์ิทร่ี ังไข่ (ovaries) ของเพศเมีย หรือ อณั ฑะ (testes) ของเพศผู้• ในเพศเมีย FSH จะทาํ หน้าทกี่ ระตุ้นการเจริญเตบิ โตของถุงไข่ (ovarian follicle)• ในสัตว์เพศผู้ FSH จะมผี ลกระตุ้นให้ seminiferous tubule สร้างเซลล์อสุจิ
Lutenizing hormone (LH)• เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน• LH จะมผี ลทาํ ให้ graafian follicles เกดิ การตกไข่• LH มผี ลต่อการพฒั นาของ corpus luteum• ในเพศชาย ทาํ หน้าทใ่ี นการกระตุ้น leydig cell ในการสังเคราะห์ ฮอร์โมน testosterone
Thyroid stimulating hormone (TSH)• เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน• กระตุ้นการหลง่ั ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และกระตุ้นการ เจริญเติบโตของต่อมไทรอยด์
Adrenocorticotropic hormone (ACTH)• เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน• กระตุ้นต่อมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex) ให้ ผลติ และหลงั่ ฮอร์โมน aldosterone และ cortisol
Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophin (STH)• เป็ นโปรตีนฮอร์โมน• เกยี่ วกบั การสร้างความเจริญเติบโตของร่างกาย โดยเฉพาะการ เจริญเตบิ โตของกระดูกหรือกล้ามเนื้อ• GH จะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนทสี่ ร้างจากสมองส่วนไฮโพทาลามัส คือ Growth hormone inhibiting hormone (GHIH) และ Somatostatin จาก delta cell ของตบั อ่อน
Prolactin• เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน• มีหน้าที่เกยี่ วข้องกบั การสร้างนํา้ นมและการเจริญเติบโตของเซลล์ เต้านมโดยทํางานร่วมกบั GH อกี ท้งั ยงั มีผลต่อพฤติกรรมของความ เป็ นแม่• มผี ลทาํ ให้คอร์ปัสลูเตยี มบนรังไข่คงสภาพอยู่ไม่ฝ่ อตวั
ฮอร์โมนที่หลงั่ จากต่อมใต้สมองส่วนหลงั (posterior pituitary)• Oxytocin• Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin
Oxytocin• เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน• อวยั วะเป้าหมาย คือ กล้ามเนื้อเรียบของผนังมดลูก• หน้าทีค่ ือ จะมผี ลโดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบ - กระตุ้นการหลง่ั นํา้ นม - กระตุ้นการคลอด
Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin• เป็ นโปรตีนฮอร์โมน• อวยั วะเป้าหมาย คือ หลอดไตฝอยส่วนปลาย (distal tubule) และ หลอดไตรวม (collecting duct)• หน้าทค่ี ือรักษาระดบั นํา้ ภายในร่างกายเอาไว้• กระตุ้นการบีบตวั ของเส้นเลือดแดงทาํ ให้ความดนั โลหิตสูงขน้• การควบคุมการหลง่ั ฮอร์โมน ADH จะเกดิ ขน้ เมื่อร่างกายเกดิ สภาวะขาดนํา้ (dehydration)
Pineal gland• ต่อมไพเนียล อยู่บริเวณ ก่งึ กลางของ สมองส่วน cerebrum
•สร้างฮอร์โมนสูงสุดในช่วงอายุ 1-5 ปี • ในสตั วเ์ ล้ ียงลกู ดว้ ยนมตอ่ มและลดลงเม่ือเข้าสู่ puberty (75% lower) ไพเนียลเป็ น neuroendocrine gland โดยประสาททีม่ า เล้ ียงมีท้งั parasympathetic และ sympathetic • ฮอรโ์ มนท่ีสรา้ งจากตอ่ ม ไพเนียล คือ Melatonin
Melatonin• ทาหน้าท่เี ก่ยี วกบั การควบคุมการเจริญเตบิ โตของอวัยวะสืบพันธ์ุ• ระงบั การหล่ังของฮอร์โมนกลุ่ม gonadotropin ให้น้อยลง• หากขาดฮอร์โมน melatonin จะทาให้เป็ นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ แต่ ถ้าสร้างมากเกนิ ไปจะทาให้เป็ นหนุ่มเป็ นสาวช้ากว่าปกติ• นอกจากนีย้ งั ทาหน้าท่เี ป็ นนาฬิกาชีวติ (clock of life) ควบคุมการ หลับการต่นื อกี ด้วย
Thymus (ต่อมไทมัส)• ตำแหนง่ : mediastinum, superior to heart• ตอ่ มไทมสั มีลกั ษณะเป็นพู 2 พู อยบู่ ริเวณทรวงอกรอบหลอดเลือดใหญ่ของหวั ใจ (บริเวณขวั้ หวั ใจ)• ตอ่ มนีจ้ ะเจริญตงั้ แตอ่ ย่ใู นครรภ์มำรดำและเมื่อมีอำยมุ ำกขนึ ้ จะมีขนำดเลก็ ลง และฝ่อไปเร่ือย ๆ• ฮอรโมนไทโมซนิ มีหน้ำท่ีกระต้นให้เนือ้ เยื่อตอ่ มไทมสั สร้ำงลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที (T-lymphocyte) หรือเซลล์ที (T-cell)
Thyroid Gland • ต่อมไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด และมีแขนงของ หลอดเลือดมาเล้ียงมาก • อยทู่ างดา้ นหนา้ ของหลอดลม • มี 2 พู
• Thyroid follicles – follicular cells secretes 2 hormones, T3 (triiodothyronine) และT4 ไธรอกซิน (thyroxin) หรือ tetraiodothyronine• C (calcitonin or parafollicular) cells – สร้าง calcitonin – ลดระดบั blood Ca+2 – promotes Ca+2 deposition and bone formation especially in children
ไธรอกซิน (thyroxin)• เป็ นฮอร์โมนทส่ี ร้างมาจากกรดอะมโิ นไทโรซีนกบั ไอโอดีน• ควบคุมกระบวนการเมตาบอลซิ ม – heart rate and contraction strength – respiratory rate• ทาํ งานร่วมกบั GH ในการควบคุมการเจริญเตบิ โตของร่างกายให้เป็ นไป ตามปกติ• ฮอร์โมนไธรอกซินจะช่วยทาํ ให้รู้สกกระฉับกระเฉง • body’s metabolic rate and O2 consumption
Calcitonin (thyrocalcitonin)• เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน• สังเคราะห์จากต่อมไธรอยด์ โดยกลุ่มเซลล์ parafollicular cell (C- cell)• มีหน้าทลี่ ดระดบั แคลเซียมในกระแสเลือด (รวมท้งั ฟอสเฟตด้วย) โดยนําไปเกบ็ ทกี่ ระดูก• การสังเคราะห์ฮอร์โมน calcitonin จะถูกควบคุมโดยระดบั ของ แคลเซียมและฟอสเฟต (PO4-) ในกระแสเลือด และฮอร์โมนจาก ต่อมพาราไธรอยด์
Parathyroid glands (ต่อมพาราไทรอยด์)– small, pea-shaped glands, located in the neck near the thyroid– usually 4 - number can vary– regulate the level of calcium in the body– produce parathyroidhormone - level • เป็นโปรตีนฮอร์โมน มีหน้ำท่ีเพมิ่ ระดบั Ca2+ และ ฟอสเฟตในกระแสเลือดof calcium in blood • กำรควบคมุ กำรหลง่ั ฮอร์โมนเป็นแบบ negative feedback โดยเมื่อระดบั Ca2+ ในเลอื ดสงู ขนึ ้ จะมี ผลทำให้ตอ่ มพำรำไธรอยด์หลงั่ PTH ลดน้อยลง
Pancreas (ตบั อ่อน)
ฮอร์โมนจากตบั อ่อน• เป็ นฮอร์โมนประเภทโปรตีนฮอร์โมน ผลติ ท่เี นือ้ เย่อื ส่วน islets of langerhans ของตับอ่อน - beta cells ซ่งึ เป็ นเซลล์ท่พี บมากท่สี ุดทาหน้าท่ผี ลิตฮอร์โมน อนิ ซลู ิน(Insulin) - alpha cells ผลติ ฮอร์โมนกลูคากอน (glucagon) - delta cells ผลิตฮอร์โมนโซมาโตสแตตนิ (somatostatin)
Insulin• สร้างจากกลุ่มเบตาเซลล์ (- cell)• ทาหน้าท่ลี ดระดบั กลูโคสในกระแสเลือดท่สี ูงเกนิ กว่าปกติ• โดยนาไปเกบ็ สะสมไว้ในรูปไกลโคเจนท่ตี บั และกล้ามเนือ้• ซ่งึ ถ้าหากกลูโคสมีมากเกนิ ท่จี ะเกบ็ ในรูปไกลโคเจนกจ็ ะนาไป สังเคราะห์เป็ นไขมันและเกบ็ ท่เี นือ้ เย่อื ไขมัน (adipose tissue) และยบั ยัง้ การสลายตวั ของไกลโคเจน
Glucagon• เป็ นโปรตีนฮอร์โมน สร้างจากแอลฟาเซลล์ (-cell)• -cell เป็ นเซลล์ท่มี ีขนาดใหญ่และมีจานวนน้อยกว่าเบตาเซลล์• ทาหน้าท่เี พ่มิ ระดบั ของนา้ ตาลในเลือด• กระตุ้นการสลายตวั ของไกลโคเจนท่ตี ับและกล้ามเนือ้ หรือกระตุ้น ให้เกดิ ขบวนการสร้างกลูโคสจากสารอ่ืน (gluconeogenesis) ท่ี เซลล์ตับ
Somatostatin• เป็ น growth inhibiting hormone• ทาหน้าท่เี ก่ยี วกับการยับยงั้ หล่ังของฮอร์โมน GH จากต่อมใต้ สมองส่วนหน้า• อีกทงั้ ยบั ยงั้ การหล่ังฮอร์โมนอนิ ซูลินและกลูคากอน• ดงั นัน้ หากเกดิ ความผดิ ปกตกิ บั delta cells จะทาให้เกดิ hyperglycemia อาการคล้ายโรคเบาหวาน
ฮอร์โมนท่ผี ลติ จากต่อมหมวกไต (adrenal glands)• ต่อมหมวกไตแบ่งบอกเป็ น 2 ส่วน – ต่อมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex) – ต่อมหมวกไตช้ันใน (adrenal medulla)
ต่อมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex)• ถกู ควบคุมโดย ACTH แบ่งเป็ น 3 ชัน้ คือ1. zona glomerulosa สังเคราะห์ฮอร์โมนกลุ่ม mineralocorticoid คือ – อลั โดสเตอโรน (aldosterone) เป็ นสเตอรอยด์ฮอร์โมนทาหน้าท่ี ควบคุมการดดู กลับของ Na+ ท่หี ลอดไต – การหล่ังฮอร์โมน aldosterone เกดิ จากสภาวะท่เี ลือดมคี วามดัน ต่าเน่ืองจากการขาดนา้ หรือการมี Na+ ลดลงในเลอื ด
2. zona fasciculata สังเคราะห์ฮอร์โมนกลุ่มกลูโคอร์ตคิ อยด์ คือ – คอร์ตซิ อล (cortisol) มีหน้าท่ลี ดการใช้กลูโคสภายในเซลล์ – กระต้นุ การสลายไขมัน และเพ่มิ การสลายตัวของโปรตีนในเซลล์ เพ่ือ ทาให้ร่างกายเตรียมพร้อมต่อการปรับตวั เม่ือเกิดสภาวะเครียด – นอกจากนีย้ งั มีผลทางการรักษาสมดุลเกลือแร่ด้วย3. zona reticularis สร้างพวกฮอร์โมนเพศ – ส่วนใหญ่เป็ นฮอร์โมนเพศชาย (Testosterone) ฮอร์โมนเพศหญงิ มีน้อย มาก (Estrogen) – แต่ฮอร์โมนท่สี ร้างได้น้อยกว่าเม่ือเทยี บกับท่สี ร้างจากรังไข่หรืออัณฑะ
ต่อมหมวกไตช้ันใน (adrenal medulla)• การทางานของต่อมหมวกไตชัน้ ในมคี วามสัมพนั ธ์กบั ระบบ ประสาทอัตโนมัติ (sympathetic)• การหล่ังฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนีจ้ ะอย่ภู ายใต้การ ควบคุมของไฮโพทาลามสั• ต่อมหมวกไตชัน้ ในสร้างฮอร์โมนกลุ่มท่เี รียกว่า cathecholamine คอื Epinephrine (adrenaline) ~ 80 % และ Norepinephrine (noradrenaline)
อะดรีนาลนิ (Adrenalin hormone)• หรือ อพิ เิ นฟริน (Epinephrine hormone)• มีหน้าท่กี ระตุ้นให้ไกลโคเจนในตบั สลายตัวเป็ นกลูโคส ทาให้ ระดบั กลูโคสในเลือดเพ่มิ สูงขนึ้• กระตุ้นหวั ใจให้เต้นเร็วขึน้ ความดนั เลือดสูงขนึ้ ทาให้เมทา บอลิซมึ เพ่มิ ขนึ้ มาก ซ่งึ เป็ นฮอร์โมนท่หี ล่ังออกมาเม่ือ ร่างกายอย่ใู นสภาวะฉุกเฉิน
นอร์อะดรีนาลนิ (Noradrenalin hormone)• หรือนอร์เอพเิ นฟรินฮอร์โมน (Norepinephrin hormone)• ทาให้ความดนั เลือดสูงขนึ้• ทาให้หลอดเลือดท่ไี ปเลีย้ งอวัยวะต่างๆ บบี ตวั
ฮอร์โมนท่หี ลงั่ จากต่อมเพศ (Gonad)• แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มคือ ฮอร์โมนจากอวยั วะเพศชาย (Testes)และฮอร์โมนจากอวยั วะเพศหญงิ (ovary)
อณั ฑะ (Testes)
Histology of TestisSeminiferous tubules produce sperm.
ฮอร์โมนจากอวยั วะเพศชาย (Testes)• อัณฑะมีกลุ่มเซลล์ท่ที าหน้าท่ใี นการสร้างฮอร์โมนคือ interstitial cell ซ่งึ อย่รู ะหว่างหลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule)• โดยเม่ือถกู กระตุ้นโดย LH จะสร้างฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgen) ท่สี าคัญท่สี ุดคอื เทสโทสเตอโรน (Testosterone)• Testosterone จะหล่ังออกมามากในช่วงการพัฒนาของตวั อ่อน และจะลดลงเหลือน้อยมากในช่วงวัยเดก็ แต่จะเพ่มิ ขนึ้ สูงมาก ในช่วงวัยหนุ่มสาว• ทาหน้าท่คี วบคุมการเจริญเตบิ โตของอวัยวะสืบพนั ธ์ุ และควบคุม ลักษณะความเป็ นเพศชาย กระตุ้นการสร้าง sperm
รังไข่ (Ovary)
Estrogens• เป็ นฮอร์โมนประเภทสเตียรอยด์• ซ่งพบว่า ในระหว่างการพฒั นาของ follicles (คร่ึงแรกของ menstrual cycle) เซลล์ทอ่ี ยู่ใน graafian follicles คือ granulose cells และ theca cells ฮอร์โมนทส่ี ร้างคือ estrogens ได้แก่ - estradiol, estriol และ estrone ซ่ง -estradiol มฤี ทธ์ิแรงทส่ี ุดใน กล่มุ• ฮอร์โมน estrogens มผี ลต่อการพฒั นาของเพศเมยี และกระตุ้นการ พฒั นาของต่อมนํา้ นม• estrogens จะสูงมากในช่วงวยั สาว
Progesterone• เป็ นฮอร์โมนประเภทสเตียรอยด์ ผลติ โดย คอร์ปัสลูเทยี ม (corpus luteum) (ครึ่งหลงั ของ menstrual cycle) – กระตุ้นการคดั หลงั่ ของสารทผี่ นังมดลูก (endometrium) เพื่อ เตรียมพร้อมในการฝังตัวของไข่ – กระตุ้นการเจริญของต่อมนํา้ นม – รักษาสภาพการต้งั ท้อง
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: