การเล่นกีฬาเปตอง รวบรวมโดย นางสาวพรชิตา ทองสุด โรงเรียนเทศบาล 6 (วดั ตนั ตยาภิรม)
คานา ในเน้ือหาฉบบั น้ีจดั ทาเพอ่ื ตอ้ งการใหผ้ อู้ ่านไดท้ ราบถึงประวตั ิความเป็นมา กติกา วิธีการจบั ลกู เขา้ ลกู ตีลูกผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีจะใหค้ วามรู้และ เป็นประโยชน์ต่างๆแก่ผอู้ ่านทุกๆท่านที่สนใจในการเล่นกีฬาเปตอง ผจู้ ดั ทำ นำงสำวพชติ ำ ทองสดุ
สารบญั หนา้ เรื่อง 1-4 5 ประวตั ิความเป็นมาของกีฬาเปตอง 6 กติกา 7 วธิ ีการจบั ลูกเปตอง 8-11 วิธีการเขา้ ลกู วธิ ีการฝึกตีลูก
1 เปตองเป็นกีฬากลางแจง้ ประเภทหน่ึงซ่ึงมีมาต้งั แต่ดึกดาบรรพ์ ประวตั ิที่แน่นอนน้นั ไมม่ ีการบนั ทึกไว้ แต่มีหลกั ฐานจากการเล่า สืบต่อ ๆ กนั มาวา่ กาเนิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศกรีซ เมื่อประมาณ 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเกบ็ กอ้ นหินที่เป็นทรงกลมจากภูเขา และใตท้ ะเลมาเลน่ กนั ตอ่ มากีฬาเปตองไดแ้ พร่หลายเขา้ มาในทวปี ยโุ รป เม่ืออาณาจกั รโรมนั ครองอานาจและเขา้ ยดึ ครองดินแดน ของชนชาวกรีกไดส้ าเร็จ ชาวโรมนั ไดใ้ ชก้ ีฬาประเภทน้ีเป็นเครื่อง ทดสอบกาลงั ขอ้ มือและกาลงั กายของผชู้ ายในสมยั น้นั เมื่ออาณาจกั รโรมนั เขา้ ยดึ ครองดิน แดนชาวโกลหรือประเทศ ฝรั่งเศสในปัจจุบนั ชาวโรมนั กไ็ ดน้ าเอาการเล่นลกู บูลประเภทน้ี เขา้ ไปเผยแพร่ทางตอนใตข้ องประเทศ ฝร่ังเศส การเลน่ ลูกบูลจึง ไดพ้ ฒั นาข้ึนโดยเปลี่ยนมาใชไ้ มเ้ น้ือแขง็ ถากเป็นรูปทรงกลม แลว้ ใชต้ ะปูตอกรอบ ๆ เพ่ือเพม่ิ น้าหนกั ของลูกใหเ้ หมาะกบั มือ ในยคุ กลาง การเลน่ ลูกบูลน้ีเป็นที่นิยมเลน่ กนั แพร่หลายในประเทศ ฝร่ังเศส ในสมยั พระเจา้ นโปเลียนมหาราชข้ึนครองอานาจ
พระองคไ์ ดท้ รงประกาศใหก้ ารเลน่ ลกู บลู น้ีเป็นกีฬาประจาชาติ ของฝร่ังเศส และเปิ ดโอกาสใหป้ ระชาชนทว่ั ไปไดเ้ ลน่ กนั การเลน่ 2 ลกู บลู น้ีจึงไดม้ ีการพฒั นาข้ึนเรื่อย ๆ ตลอดมา จนมีการต้งั ชื่อ เกมกีฬาประเภทน้ีข้ึนมาเล่นอยา่ งมากมายต่าง ๆ กนั เช่น บูลเบร- รอตรอง, บูลลิโยเน่ส์, บูลเจอร์ เดอร์ลอง และบลู-โปรวงั ซาล เป็น ตน้ ในท่ีสุดกฝ็ ร่ังเศสไดม้ ีการกอ่ ต้งั “สหพนั ธ์ เปตองและโปรวงั ซาล” ข้ึนในปี พ.ศ. 2481 (ค.ศ. 1938) จากน้นั จานวนสมาชิกกเ็ พ่ิมข้ึน เร่ือย ๆ มีบุคคลทุกระดบั ช้นั ทกุ เพศ ทุกวยั เขา้ เป็นสมาชิก ลกู บูลท่ี ใชเ้ ลน่ กม็ ีการคิดคน้ ทาเป็นลกู โลหะผสมเหลก็ กลา้ ขา้ งในกลวง การเล่นจึงมีความสนุกสนานเร้าใจยงิ่ ข้ึนกวา่ เดิม หลงั สงครามโลก คร้ังท่ี 2 การเลน่ กีฬาลกู บูล-โปรวงั ซาลที่ไดด้ ดั แปลงแกไ้ ขใหมน่ ้ี ไดร้ ับความนิยมเล่น มากข้ึน และไดแ้ พร่หลายไปตามหวั เมืองต่าง ๆ อยา่ งรวดเร็วทวั่ ประเทศฝรั่งเศส ตลอดจนถึงดินแดน อาณานิคม ของฝร่ังเศสอีกดว้ ย
3 กีฬาเปตองไดเ้ ร่ิมเขา้ มาในประเทศไทยเม่ือ ปี 2518 โดยการริเริ่ม ของนายจนั ทร์ โพยหาญ นากีฬาเปตองเขา้ มาเผยแพร่ใหค้ นรู้จกั อยา่ งเป็นทางการคนแรก นายจนั ทร์ โพยหาญไดร้ ่วมกบั นายศรีภมู ิ สุขเนตร ซ่ึงเป็นอดีตนกั เรียนเก่าฝรั่งเศส ซ่ึงมีความรู้ความสามารถ ในดา้ นกีฬาเปตองเป็นอยา่ งดี ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สมาคมเปตอง และ โรปวงั ซาล แห่งประเทศไทย ข้ึนเม่ือวนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2519 โดยมีนายศรีภมู ิ สุขเนตร เป็นนายกสมาคมคนแรกเมื่อจดั ต้งั สมาคมเรียบร้อยแลว้ คณะกรรมการไดช้ ่วยกนั รณรงคเ์ ผยแพร่ และสาธิตการเลน่ เปตองมาโดยตลอด แต่ไมไ่ ดร้ ับความสาเร็จ เท่าที่ควร ต่อมาสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชนนีทรงช่วยส่งเสริม และ เผยแพร่ใหอ้ ีกทางหน่ึง โดยทรงรับสงั่ ใหจ้ ดั การแข่งขนั เปตองชิง ชนะเลิศภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือข้ึน ซ่ึงพระองคท์ า่ นและสมเดจ็ พระพน่ี างเอเจา้ ฟ้ากลั ยานิวฒั นาฯ ทรงไดล้ งร่วมทาการแขง่ ขนั ใน คร้ังน้ีดว้ ย และอีกหลาย ๆ รายการจึงใหส้ มญานามกีฬาเปตองวา่ “กีฬาสมเดจ็ ยา่ ” ในปี 2527 สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ รับสมาคมเปตองและโปรวงั ซาล
4 แห่งแระเทศไทย ไวใ้ นพระอปุ ถมั ภ์ และวนั ที่ 22 เมษายน 2530 เปล่ียนช่ือสมาคมเปตองฯ เป็นสหพนั ธเ์ ปตอง แห่งประเทศไทยใน พระอปุ ถมั ภ์ สานกั งานต้งั อยทู่ ี่ 2088 อนิ เดอร์สเตเด้ียม หวั หมาก กรุงเทพฯ ปัจจุบนั กีฬาเปตอง มีการบรรจุเขา้ ในการแขง่ ขนั กีฬา ของส่วนราชการต่าง ๆ รวมท้งั ภาคเอกชนดว้ ย เช่น กีฬาแห่งชาติ กีฬาเขตการศึกษา กีฬากองทพั ไทย กีฬามหาวทิ ยาลยั กีฬาของ กระทรวงต่าง ๆ กีฬารัฐวิสาหกิจ เป็นตน้
5 1. แบ่งผเู้ ล่นออกเป็น 2 ฝ่ ายเท่า ๆ กนั ต้งั แต่ 1-3 คน 2. เร่ิมดว้ ยการเสี่ยงทาย เพือ่ เลือกวา่ ฝ่ ายใดเป็นผเู้ ร่ิมเริ่มก่อน 3. ฝ่ายท่ีชนะการเส่ียงทายจะเป็นฝ่ ายเริ่มเลน่ ก่อน โดยผเู้ ลน่ เลือก จุดเร่ิมตน้ เขียนวงกลมลงบนพ้ืนสนาม มีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางระหวา่ ง 35-50 เซนติเมตร แต่ตอ้ งห่างจากเสน้ เขตสนามหรือส่ิงกีดขวาง ต่าง ๆ ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร 4.เมื่อเขียนวงกลมแลว้ ฝ่ ายท่ีชนะการเส่ียงจะตอ้ งเขา้ ไปยนื อยใู่ น วงกลม แลว้ โยนลกู เป้าใหห้ ่างออกไปจากจุดเร่ิมตน้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 6- 10 เมตร ถา้ โยนไมไ่ ดร้ ะยะท่ีกาหนดผโู้ ยนจะตอ้ งโยนใหม่ หาก ครบ 3 คร้ังแลว้ ยงั ไม่ไดต้ ามกติกาตอ้ งเปล่ียนใหฝ้ ่ ายตรงขา้ มเป็นผู้ โยนลูกเป้าแทน และมีสิทธิโยนได้ 3 คร้ังเหมือนกนั 5.เมื่อโยนลูกเป้าไดถ้ ูกตอ้ งแลว้ ฝ่ายที่ชนะการเสี่ยงจะเป็นฝ่ายโยน ลูกเปตองใหไ้ ปอยใู่ กลล้ กู เป้ามากที่สุด ขณะโยนเท่าท้งั สองขา้ ง ตอ้ งอยภู่ ายในวงกลม หา้ มเหยยี บเส้น หา้ มยกเทา้ และตอ้ งคอยให้ ลูกตกถึงพ้ืนกอ่ น จึงจะออกจากวงกลมได้
6 1. หงายมือวางลกู บูลลงไปในอุม้ มือในท่าที่สบาย (รูปท่ี1) หรือควา่ มือจบั ลกู (รูปที่2) 2.ท้งั น้ีจะจบั แบบใดกไ้ ดแ้ ต่ความถนดั ของแตล่ ะบุคคล 3.กอ่ นโยนลูกใหค้ ว่ามือลงดงั รูปท่ี 3,4,5,6 เหตุท่ีตอ้ งคว่ามือเพราะ จะสามารถบงั คบั ลกู ใหไ้ ปตามทิศทางที่เราตอ้ งการไดไ้ มว่ า่ ลูกที่ ปลอ่ ยไปน้นั เป็นลกู เขา้ หรือลูกตี 4.ก่อนโยนใหห้ กั ขอ้ มือลง และมว้ นเขา้ หาขอ้ มือ ในจงั หวะสุดทา้ ย ท่ีจะปลอ่ ยลกู ใหใ้ ชอ้ งุ้ มือส่งลกู ออกไป
7 วธิ ีการเขา้ ลูกมีอยู่ 3 แบบ คอื 1. การโยนลูกระยะใกล้ (ลูกไลน์) การโยนลูกระยะใกล้ (ลูกไลน์) เป็นการโยนลูกใหต้ กต้งั แต่จุดโยนหรือไม่เกิน 3 เมตร จากจุดโยน ใชแ้ รงเหว่ยี งจากแขน ขอ้ มือ และปลายนิ้วส่งลกู ระยะทางท่ีลกู บลู ว่ิงเขา้ หาเป้าจะมีระยะทางไกลทิศทางของลกู บูลอาจมีการ เปลี่ยนแปลงไดง้ ่ายตามลกั ษณะของพ้นื สนามการโยนลกู น้ีเหมาะ สาหรับสนามเรียบเท่าน้นั 2. การโยนลูกระยะกลาง (ฮาฟดร๊อป) การโยนลกู ระยะกลาง (ฮาฟดร๊ อป) เป็นการโยนลูกใหต้ กเกือบก่ึงกลางระหวา่ งจุดเริ่มกบั ลูกเหา้ ตอ้ งโยนลูกใหส้ ูงกวา่ การโยนลกู ระยะใกล้ และทุกลกู ท่ีโยน ออกไปตอ้ งเป็นลกู ท่ีหมุนกลบั หลงั (ลกู สกรู) ขอ้ สาคญั ของการ โยนลกู คือ จุดตก การโยนลูกน้ีเหมาะสาหรับพ้นื สนามท่ีไมเ่ รียบ เป็นหลุม พ้นื สนามแขง็ ขระขระ หรือ จุดตกของการปลอ่ ยลูก ระยะใกลเ้ ป็นหลมุ ไมส่ ามารถหาจดุ ตกได้ การโยนลกู โด่ง (ดร๊อฟ) การโยนลกู โด่งตอ้ งโยนใหส้ ูงกวา่ ลูก ระยะกลาง และตอ้ งใหล้ กู หมุนกลบั หลงั (สกรู) มากกวา่
8 การตีลูกเป็นส่วนสาคญั ของการเล่นเปตองอีกประการหน่ึง เมื่อไม่ สามารถเขา้ ลกู ใหช้ นะคูต่ อ่ สูไ้ ด้ ตอ้ งอาศยั การตีลูกเพอ่ื ใหล้ กู ของคู่ ต่อสู้ออกจากจดุ ที่ต้งั อยู่ ผเู้ ลน่ ท่ีฝึกหดั ใหมม่ กั เผชิญต่อความ ยากลาบากในการตีและบงั คบั ลูก สาเหตุอาจมาจากขอ้ บกพร่อง ดงั น้ี 1. ผเู้ ล่นจบั ลูกไมถ่ กู วธิ ี และขาดสมาธิ 2. ผเู้ ลน่ อาจตีลูกชา้ หรือเร็วเกินไป 3. การประสานงานของแรงตีลูกไมถ่ กู จงั หวะ 4. การวางตวั และวางเทา้ ผิดจากความถนดั ของตนเอง 5. แขนงอ หรือแกวง่ ขณะตีลกู 6. ขาดความเช่ือมนั่ ในตวั เอง 7. ขาดการฝึกซอ้ มหรือเวน้ ระยะการฝึกซอ้ มนานเกินไป 8. ลูกเปตอง (ลูกบูล) มีขนาดและน้าหนกั ไม่สมดูลกนั
9 แต่ถา้ ผฝู้ ึกพบวา่ สาเหตุต่าง ๆ ของการตีเกิดข้ีนเพราะสาเหตุใด หรือหลายสาเหตุ ใหแ้ กไ้ ขดดั แปลงวธิ ีการฝึกทีละข้นั แต่ตอ้ งจบั และวางลาตวั เทา้ ใหถ้ กู ตอ้ ง โดยอาศยั แรงจาก 3 แหลง่ ใหญ่ คือ 1. แรงตีท่ีเกิดจากการเหวีย่ งของแขน 2. แรงตีที่เกิดจากการดีดตวดั ขอ้ มือและนิ้วมือ 3. แรงตีท่ีเกิดจากาลงั ขาท้งั สองขา้ ง โดยการยอ่ เขา่ ช่วยเลก็ นอ้ ย วธิ ีการฝึกตีลกู วิธีที่ 1 การตีลกู เลียด (ตีไลน์) เป็นการตีลกู ลกั ษณะ เกี่ยวกบั การเขา้ ลกู ระยะใกล้ แต่ใชค้ วามแรงมากกวา่ และเหมาะ สาหรับพ้ืนสนามเรียบเท่าน้นั ทิศทางของลูกที่ตีไปหาความ แน่นอนไมไ่ ด้ หากมีลูกของฝ่ ายตรงขา้ มหรือของตนขวางหนา้ ก็ ไม่สามารถตีลูกลกั ษณะน้ีได้ วธิ ีการฝึ ก • หาจุดตกของลกู ซ่ึงควรเป็นที่เรียบท่ีสุด • จุดตกที่ดีไมค่ วรห่างจากลกู ท่ีจะตีเกิน 2 เมตร (ยงิ่ จุดตกห่างลูกท่ีตี มากมีโอกาสเปลี่ยนแปลงไดม้ าก) • ก่อนท่ีจะตีลูกตอ้ งมีสมาธิ และความเชื่อมนั่ ในตนเอง • ฝึกการประสานงานของแรงท่ีใชใ้ นการตี เช่น แขน มือ นิ้วมือ ขอ้ มือ และขาท้งั สองขา้ ง
10 • ฝึกอยา่ งสม่าเสมอและจริงจริง วธิ ีท่ี 2 การตีลกู ถึงตวั (ตีเจาะ) การตีลกู น้ีเหมาะกบั สภาพสนามทุก รูปแบบ และเป็นลูกที่นกั กีฬาเปตองทว่ั ไปใชก้ นั มากท่ีสุด เนื่องจากการฝึกตีลูกน้ีหากตีไดอ้ ยา่ งแม่นยา ลกู ท่ีต่าไปถูกลกู คู่ ต่อสู้ เป็นจงั หวะเดียวกบั ลกู ตกถกู พ้นื พอดี ลกู ท่ีตีมีโอกาสอยู่ แทนท่ีไดด้ ว้ ย การฝึกตีลกู น้ีนกั กีฬาไม่ตอ้ งพะวงวา่ จะมีลกู ขวาง หนา้ ท่าทางในการตีลกู • ยนื ในท่าที่ถนดั ท่ีสุด แต่เทา้ ท้งั สองขา้ งตอ้ งไม่เหยยี บเสน้ และอยู ในวงกลม • ต้งั ลูกตามตอ้ งการเพ่ือฝึกตี • เริ่มฝึกตีจากระยะใกล้ ๆ กอ่ น จาก 3 เมตร 4 เมตร 5 เมตร ต่อไป เรื่อย ๆ จนถึงระยะ 12 เมตร แลว้ จดสถิติไวท้ ุกวนั ๆ เพอ่ื นามา แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง • ฝึกการประสานงานของแรงที่ใชใ้ นการตีลกู ใหส้ ัมพนั ธ์กนั ระหวา่ งการดีดตวดั ขอ้ มือ นิ้วมือ และขาท้งั สองขา้ ง ระบบการ
11 • หายใจกม็ ีส่วนสาคญั เก่ียวกบั กบั การตีลกู มาก ควรจะไดม้ ีการฝึก ใหป้ ระสานงานใหด้ ี ก่อนตีลกู จะตอ้ งมีสมาธิ และความเช่ือมน่ั ในตวั เอง ฝึกอยา่ งสม่าเสมอและจริงจงั
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: