รายงานผลการจดั กจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน (กลุ่มสนใจ) วชิ าการทาบายศรีปากชาม (จานวน 8 ชว่ั โมง) ระหว่างวันท่ี 8 – 9 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ บา้ นตล่งิ แดง ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี กศน.ตาบลหนองบัว ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งกาญจนบุรี สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดกาญจนบรุ ี
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กิจกรรมส่งเสริมศนู ย์ฝกึ อาชีพ ๒ ชุมชน รายงานการจดั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง กจิ กรรมหลักสูตรพฒั นาอาชีพ (กลุ่มสนใจ) วิชาการทาํ บายศรปี ากชาม วันที่ 8 – 9 พฤษภาคม 2562 ณ ศาลาประชาคม หมูท่ ี่ 8 ตําบลหนองบัว อาํ เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอ เมอื งกาญจนบรุ ี ตาํ บลหนองบวั Muangkanchanaburi District Non-formal and Informal Education Centre
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝกึ อาชพี ๓ ชุมชน คานา การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเพ่ือเพิ่ม ศักยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถประกอบอาชีพ สร้างรายได้ท่ีม่ังค่ังและ มนั่ คง เปน็ บุคคลทีม่ วี ินยั เป่ียมไปด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มจี ิตสํานึกรบั ผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม เน้นการ จดั การศึกษาท่ยี ดึ พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน โดยสถานศึกษาต้องวิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้าน ของแต่ละพ้ืนที่ ได้แก่ ศักยภาพ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพด้านภูมิอากาศ ศักยภาพด้านภูมิประเทศ ศักยภาพ ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และศักยภาพด้านทรพั ยากรมนุษย์ และวิเคราะห์ข้อมูลวิถีการดําเนินชีวิต ความต้องการ และประชาชน ในภูมิภาคต่างๆ ที่เป็นผู้ใช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวจะนํามาสู่กา รกําหนด หลกั สตู รอาชีพทีส่ ถานศกึ ษาจะจดั การเรยี นการสอน การจัดการศึกษาของสํานักงาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงต้องปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการปฏิบัติจริง มีการศึกษาดูงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ใน อาชีพโดยตรง ผู้สอนเป็นวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้ประกอบการในอาชีพน้ัน ๆ ให้ความสําคัญ ตอ่ การประเมินผลการจบหลักสูตรทเ่ี นน้ ทักษะ ความสามารถ และการมผี ลงาน ช้ินงาน ที่ได้มาตรฐานออกสู่ตลาด ได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบด้วย ช่องทางการประกอบ อาชีพ ทักษะของอาชีพ การบริหารจัดการ และโครงการอาชีพพร้อมแหล่งเงินทุน และให้ผู้เรียนท่ีเรียนจบจาก หลักสูตรอาชีพมีความม่ันใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ ได้อย่างแท้จริง จึงขอให้สถานศึกษาที่นํา หลักสตู รที่ไดพ้ ัฒนาแล้วนนั้ นาํ มาคดั เลอื กใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของพน้ื ที่ และนําไปอนุมัติใช้ในการจัดการ เรียนการสอนตอ่ ไป หลักสูตรอาชีพที่พัฒนาข้ึนได้ปรับปรุงจากหลักสูตรอาชีพที่สถานศึกษาในแต่ละจังหวัดพัฒนา เป็นฉบับร่างมาแล้ว สํานักงาน กศน. นํามาพัฒนาเน้ือหาสาระให้ครบวงจรและกําหนดระยะเวลาในการเรียนให้ เหมาะสม โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก สถาบัน กศน.ภาคสํานักงาน กศน.จังหวัด สถานศึกษา วิทยากร ภมู ปิ ัญญา และผู้ที่เก่ียวข้อง มาร่วมพิจารณาและตรวจสอบความถูกต้องจึงทําให้การดําเนินการจัดทําหลักสูตรใน ครง้ั นี้เสร็จส้ินไปด้วยดี สํานกั งาน กศน. ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กจิ กรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชีพ ๔ ชมุ ชน ตอนท่ี ๑ ประวัติความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสําคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคล เป็นการแก้ปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กําหนดยุทธศาสตร์ ท่ีจะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพอ่ื แขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก” และได้กําหนดภารกิจว่า จะพัฒนายกระดับและจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มศักยภาพ และขีด ความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ที่มั่งคั่ง และมั่นคง เพื่อเป็นบุคลากรท่ีมีวินัยเป่ียมไป ด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม โดยคํานึงถึงศักยภาพและบริบท รอบ ๆ ตัวผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และกระบวนการเรียนการสอนให้ทัดเทียมอารยประเทศ ด้วย การบริหารจัดการเทคโนโลยีสมัยใหม่ มุ่งเป้าหมายของการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับ ศักยภาพในการทํางานให้บุคลากรไทยให้แข่งขันได้ในระดับสากลภายใต้ศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเล ที่ตั้งของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของ ทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแตล่ ะพน้ื ที่ นอกจากนน้ั ยังได้กาํ หนดหลักสตู รออกเป็น 5 กล่มุ อาชพี ไดแ้ ก่ 1. กลุ่มหลกั สตู รใหม่ดา้ นเกษตรกรรม 2. กล่มุ หลกั สตู รใหม่ดา้ นอตุ สาหกรรม 3. กลุ่มหลักสูตรใหม่ด้านพาณิชยกรรม 4. กลมุ่ หลกั สูตรใหมด่ า้ นความคิดสร้างสรรค์ 5. กลุม่ หลักสูตรใหม่ด้านอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง สํานักงาน กศน. จึงได้นานโยบายและยุทธศาสตร์ดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพ่ือจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพให้ กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทําอย่างย่ังยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันท้ังในระดับภูมิภาค อาเซียนและระดับสากลโดยจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวจะทําการจัดการศึกษา ของประเทศ และของสํานักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ และจะทาํ ใหก้ ารจดั การศึกษาของประเทศเปน็ การจดั การศึกษาตลอดชีวติ อย่างแทจ้ ริง
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กจิ กรรมสง่ เสริมศูนยฝ์ ึกอาชพี ๕ ชมุ ชน นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๑ นโยบายเร่งด่วน ศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน สู่ “วสิ าหกจิ ชมุ ชน : ชุมชนพง่ึ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๑ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาอาชีพทีส่ อดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด รวมท้ัง สรา้ งเครอื ข่ายการรวมกลมุ่ ในลักษณะวิสาหกจิ ชมุ ชน สรา้ งรายไดใ้ ห้กับชมุ ชน ใหช้ มุ ชนพ่ึงพาตนเองได้ ๒ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า การทําช่องทางเผยแพร่และจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ของวสิ าหกิจชมุ ชนให้เปน็ ระบบครบวงจร กศน.อาํ เภอเมอื งกาญจนบุรี ประสงค์ให้กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ซ่ึงการจัดการศึกษา อาชีพในปัจจุบันมีความสําคัญมากเพราะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีความรู้ ความสามารถและ ทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคลเป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดยุทธศาสตร์ ภายใต้กรอบเวลา ๒ ปี ที่จะพัฒนา ๕ ศกั ยภาพของพื้นท่ีใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ให้สามารถแข่งขันได้ใน ๕ ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา” เท่าทัน เพ่ือแข่งขันได้ และสังคมโดยคํานึงถึงศักยภาพและบริบทรอบๆตัวผู้เรียน พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้และ กระบวนการเรยี นการสอนได้ น้ัน กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทําบายศรี ปากชาม เพ่อื จดั ให้กบั กลุ่มเป้าหมายและประชาชน มีรายได้และมีงานทําอย่างยั่งยืน มีความสามารถในเชิงการ และนําไปใช้ในชีวิตประจาํ วนั ได้ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทําบายศรีปากชาม น้ีใช้ระยะเวลาในการอบรม ท้งั ส้นิ 2 วนั โดยจดั ขึ้นในระหวา่ งวันที่ 8 - 9 พฤษภาคม 25๖2 ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 8 ตําบลหนองบัว อาํ เภอเมอื งกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบรุ ี ขอขอบคุณ ผู้นําชุมชน ประชาชน ท่ีช่วยเหลือสนับสนุน และที่ให้ความอนุเคราะห์ สถานที่และ วสั ดุอปุ กรณ์ต่างๆในการจัดอาชีพครัง้ นี้ด้วย
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๖ ชุมชน ตอนท่ี ๒ เอกสารอ้างองิ /แผนทแ่ี สดงสถานท่ีจัดกิจกรรม การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสําคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้ มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริม ความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่ จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกําหนดภารกิจ ที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ทีม่ ั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้อง กบั ศกั ยภาพดา้ นตา่ งๆ มงุ่ พัฒนาคนไทยให้ไดร้ ับการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี และการมีงานทําอย่างมี คุณภาพ ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง ม่ังคั่ง และมีงานทําอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งใน ระดบั ภูมภิ าคอาเซยี นและระดับสากล ซงึ่ จะเปน็ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรปู แบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาต.ิ สภาพสังคมปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้าน เศรษฐกจิ การเมือง สงั คมและสิ่งแวดล้อมเปน็ อยา่ งมาก ประชากรมนุษยเ์ พ่ิมขน้ึ เรือ่ ยๆ แต่ทรัพยากร ธรรมชาติถูก ใช้ไปอยา่ งรวดเร็ว และไม่เพียงพอกับจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกมุมโลก มนุษย์จึงประสบปัญหาต่างๆ ตามมา มากมาย โดยเฉพาะด้านการดํารงชีพและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพื่อ เป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแล้ว ยังมีสิ่งท่ีถือว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจําวัน จึงจํา เป็น อย่างยิ่งท่ีมนุษย์เราจะต้องสร้างขนึ้ หรือหามาทดแทนโดยวิธกี ารตา่ งๆ เพอื่ การอยู่รอด บายศรีปากชามจัดเป็นแม่แบบหรือต้นแบบของบายศรีชนิดอ่ืนๆ ใช้ใบตองตานีเย็บพับจับจีบ จํานวน (นม, นว้ิ , เกรด็ , กาบ) มลี ูก ๕ ตวั ประกอบเท่ากับตัวแม่หนึ่งตัว แต่ละตัวของ (นม, นิ้ว, เกร็ด, กาบ) จะใช้ ใบตองฉีกเป็นผ้านุ่งรัดประกอบติดกับตัวแม่ทีละช้ันจนครบตามจํานวนที่กําหนด จัดเป็น ๓ ชุด วางประกอบรอบ กรวยใบตองท่ีบรรจุข้าวท่ีต้ังตรงกลางชามแล้วใช้มีดเจียนใบตองเป็นรูปแมงดาวางสับหว่างระหว่างช่องของพุ่ม บายศรีท้ังสามแล้วประดับตกแต่งด้วยดอกไม้นามมงคลต่างๆ มี ดอกรัก ดอกบานไม่รู้โรย ดอกพุด ดอกมะลิ ดอก ดาวเรือง ใช้ไมไ้ ผเ่ หลาใหแ้ หลมเพื่อเสียบไข่ให้ตั้งอยู่บนสุดยอดของปลายกรวยบายศรี จัดวางกล้วยน้ําไท แตงกวา เปน็ เครื่องเคียงประกอบตรงช่องที่เสียบแมงดา บายศรีเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีสืบทอดกันมาช้านานตั้งแต่สมัยโบราณ บายศรีของไทยทําด้วยใบตองเป็น รปู แบบกระทงบรรจุอาหาร โดยมขี ้อสันนิษฐานว่า บายศรีมีมาตั้งแต่ในสมัยอยุธยา เน่ืองจากมีหลักฐานปรากฏอยู่ ในวรรณคดเี รือ่ ง มหาชาติคําหลวง กัณฑ์มหาราช ซ่ึงคงแต่งขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๐๒๕ และต่อมามีการนําบายศรีเข้ามา ผนวกกับพิธีในพระพุทธศาสนา เช่น พิธีทําขวัญนาค ซ่ึงในครั้งนั้นจะมีรูปแบบใดไม่มีหลักฐานแน่ชัด พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอธบิ ายไว้ใน พระราชพิธีสิบสองเดือน ตอนหน่ึงว่า \"...บายศรีตองก็ เป็นกระทงที่สําหรับบรรจุอาหาร แต่เป็นการออกหน้าประชุมคนพร้อมๆ กัน ก็คิดตกแต่งให้งดงามม ากมาย ชะรอยบายศรีแต่เดิมจะใช้โต๊ะกับข้าวโต๊ะหนึ่ง จานเรียงซ้อนๆ กันขึ้นไปจนสูงๆ เหมือนแขกเขาเลี้ยงที่เมืองกลัน ตนั ภายหลังเหน็ ว่าไม่เป็นของที่แน่นหนา และยังไม่สู้ใหญ่โตนักสมปรารถนา จึงเอาพานซ้อนกันขึ้นไปสามชั้น ห้า ชั้น แล้วเอาของตั้งวางบนปากพาน ท่ีเป็นคนวาสนาน้อยไม่มีโต๊ะ ไม่มีพาน ก็เย็บกระทงต้ังซ้อนขึ้นไปสามชั้น ห้า ช้ัน เจ็ดช้ัน ก็เจิมปากให้เป็นกระทงเจิม ให้เป็นการงดงาม...\" มีการบอกเล่าสู่รุ่นหลานสะท้อนให้เห็นลักษณะของ บายศรีท่มี ีความหลากหลาย ใช้ศิลปะในการตกแต่ง การเลือกบรรจุภัณฑ์ รวมท้ังการวางแผนจําหน่ายเพื่อการค้า การ เลอื กทาํ เลทเ่ี หมาะสม ท้ังในการประกอบอาชีพเพ่ือการดาํ รงชวี ติ ระดบั ครอบครวั ชุมชน
เอกสารรายงานผลการปฏิบัตงิ าน กจิ กรรมส่งเสรมิ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพ ๗ ชุมชน สถานท่จี ัดโครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ) วชิ าการทาบายศรีปากชาม ณ ศาลาประชาคม หม่ทู ี่ 8 ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวดั กาญจนบรุ ี สถานทจ่ี ัดโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ) วิชาการทําบายศรปี ากชาม ณ ศาลาประชาคม หม่ทู ี่ 8 ตาํ บล หนองบวั อําเภอเมืองกาญจนบรุ ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพ ๘ ชมุ ชน ตอนที่ ๓ ภาพถ่ายกจิ กรรม/วิธีดาเนินการจัดกิจกรรม 1.วธิ กี ารดาเนนิ งาน 1. จัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิงาน 2. ศกึ ษาวิธีการและขั้นตอนจากครทู ่ีปรกึ ษา ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ จากแหล่งเรียนรู้ 3. เตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ที่ใชใ้ นการทาํ 4. ดาํ เนินการเรยี นการสอนตามข้นั ตอน 5. จดบันทกึ ข้อมูลจากการเริ่มเรียนจนจบหลกั สตู ร 6. รวบรวมข้อมูลจากการจดบนั ทึกไปนาํ เสนอใหค้ รทู ี่ปรึกษาตรวจสอบ 7. พิมพร์ ายงานสรุปผลการเรยี นการสอน/ผลการดาํ เนนิ งาน 2. แผนการปฏบิ ัติงาน วัน/เดอื น/ปี แหล่งการเรียนรู้/วธิ ีการศึกษา ผลการปฏบิ ตั ิงาน ดําเนนิ การปฏบิ ัตติ ามแผน 5 พฤษภาคม 62 วางแผนการปฏบิ ตั งิ าน - ศึกษาวธิ กี ารและข้นั ตอน จากครูที่ 6 พฤษภาคม 62 ศกึ ษาวิธกี ารและขั้นตอนการจดั การ ปรกึ ษาและแหล่งเรยี นรู้ สอน เพอื่ การค้าจาก วิทยากร/แหลง่ เรียนรู้ - จัดหาอุปกรณใ์ นการจดั กจิ กรรม - เปิดการเรยี นการสอน 7 พฤษภาคม 62 เตรียมวัสดุอปุ กรณ์ - จดบนั ทกึ ข้อมลู ต้งั แต่การเรียนการสอน การฝึกปฏบิ ัติ แล้วสรุปข้อมลู 8 พฤษภาคม 62 เปดิ โครงการ - จัดพมิ พ์รายงานสรุปผลการดาํ เนนิ งาน 8 พฤษภาคม 62 จดบันทกึ และรวบรวมข้อมลู นิเทศ ถงึ 9 พฤษภาคม 62 การเรียนการสอน 14 พฤษภาคม 62 พิมพ์รายงานสรุปผลการทดลอง/ผล การดาํ เนนิ งาน
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กจิ กรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชพี ๙ ชมุ ชน ภาพกิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ วชิ าชีพชุมชน (กลุม่ สนใจ) วิชา การทาบายศรีปากชาม ณ ศาลาประชาคม หมทู่ ่ี 8 ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบุรี วันท่ี 8 – 9 พฤษภาคม ๒๕๖2 (วนั พุธ – วนั พฤหัสบดี) ระหวา่ งเวลา ๐๙.๐๐ – ๑2.๐๐ น.
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กจิ กรรมส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๑๐ ชมุ ชน ภาพกจิ กรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ ึกวชิ าชพี ชมุ ชน (กล่มุ สนใจ) วิชา การทาบายศรีปากชาม ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 8 ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี วนั ที่ 8 – 9 พฤษภาคม ๒๕๖2 (วันพธุ – วันพฤหัสบดี) ระหว่างเวลา ๐๙.๐๐ – ๑2.๐๐ น.
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กจิ กรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝกึ อาชีพ ๑๑ ชุมชน ตอนที่ ๔ รายชื่อผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม/การประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม สง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน (กลมุ่ สนใจ) “วิชาการทาบายศรีปากชาม” แบบประเมินและรายงานผลการจบหลกั สูตรวิชาชพี (กลุ่มสนใจ)วิชาการทาบายศรปี ากชาม จานวน 8 ชวั่ โมง วนั ที่ 8 - 9 พฤษภาคม 2562 ณ ศาลาประชาคม หมูท่ ่ี 8 ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื งกาญจนบุรี จงั หวัดกาญจนบุรี
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศนู ย์ฝกึ อาชีพ ๑๒ ชุมชน ทะเบยี นผู้เรียนผจู้ บหลักสตู รการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง วิชาการทาบายศรีปากชาม จานวน 8 ชัว่ โมง ระหว่างวันที่ 8 พฤษภาคม 25๖2 ถึง วันท่ี 9 พฤษภาคม 25๖2 สถานที่จัด ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 8 ตาบลหนองบวั อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบุรี
เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพ ๑๓ ชมุ ชน ตอนท่ี ๕ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม อายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปี 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 อายรุ ะหวา่ ง 26-35 ปี 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.00 อายุระหวา่ ง 36-45 ปี 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 อายุระหวา่ ง 46-59 ปี 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.00 อายุระหวา่ ง 60 ปีขนึ้ ไป 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 มีผู้ผ่านกจิ กรรมส่งเสรมิ ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน วชิ าการทาบายศรปี ากชาม จานวน 10 คน สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ 1. เนอ้ื หาวิชาท่ีจดั ที่เรียนรตู้ รงตามความต้องการของท่านเพยี งใด คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 2. วทิ ยากรมาให้ความรูต้ รงตามเวลา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 3. วิทยากรมาให้ความรคู้ รบตามหลักสูตรทกี่ ําหนด คิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 4. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร คิดเป็นร้อยละ 80.00 5. จาํ นวนสื่อ/อุปกรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรยี นเพยี งพอเพียงใด คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.00 6. ท่านได้รับความรูค้ วามสามารถฝกึ ทักษะไดต้ ามทค่ี าดหวังมากนอ้ ยเพยี งใด คิดเปน็ ร้อยละ 80.00 7. ความรทู้ ักษะที่ได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพยี งใด คดิ เป็นร้อยละ 80.00 8. สถานเรยี นเหมาะสมเพียงได คดิ เป็นร้อยละ 80.00 9. ทา่ นไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้เทา่ เทยี มกันเพียงไร คดิ เป็นร้อยละ 80.00 10. ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด คดิ เป็นร้อยละ 80.00 11. ความรูท้ ไ่ี ด้รบั คุ้มคา่ เวลา และความตั้งใจเพยี งใด คิดเป็นร้อยละ 80.00 12. ท่านพึงพอใจตอ่ หลักสูตรนี้เพียงใด คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.00 ผู้ผา่ นกิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน วิชาการทาบายศรปี ากชาม คดิ เป็นร้อยละ 80.00 อยู่ในระดบั ดี
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน กิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ อาชีพ ๑๔ ชมุ ชน สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ วนั ท่ี 8 – 9 พฤษภาคม 2562 ณ ศาลาประชามคม หมู่ท่ี 8 ตาบลหนองบวั อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวดั กาญจนบรุ ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป เพศ ชาย 3 คน หญงิ 7 คน อายุ อายุ15 - 25 ปี คน อายุ26 - 35 ปี คน อายุ36 - 45 ปี 1 คน อายุ46 - 59 ปี 5 คน อายุ 60 ปี ข้นึ ไป 4 คน ระดบั การศึกษา ประถมศึกษา 1 คน ตาแหน่งทางสังคม ม.ตน้ 1 คน ม.ปลาย 8 คน ปวช ปวส. คน ปริญญาตรี คน อื่นๆ ระบุ....................... คน คน ประชาชนท่ัวไป 10 คน อสม. คน กรรมการหมู่บ้าน คน ผู้นําท้องถ่นิ คน
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพ ๑๕ ชุมชน สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ วันท่ี 8 – 9 พฤษภาคม 2562 ณ ศาลาประชามคม หมู่ท่ี 8 ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบรุ ี จังหวัดกาญจนบรุ ี ตอนที่ 2 ดา้ นความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร สรปุ ระดบั ความพงึ พอใจ ลาดับ รายการ คา่ เฉล่ยี ความหมาย คดิ เปน็ ร้อยละ 1 เน้ือหาวชิ าทีจ่ ดั ทเี่ รยี นรูต้ รงตามความต้องการของทา่ นเพียงใด 4.00 ดี 80.00 2 วิทยากรมาให้ความร้ตู รงตามเวลา 3 วิทยากรมาให้ความรคู้ รบตามหลกั สตู รทีก่ าํ หนด 4.00 ดี 80.00 4 ความสามารถในการถา่ ยทอดความร้ขู องวทิ ยากร 5 จาํ นวนส่อื /อุปกรณก์ ารฝึกประกอบการเรยี นเพยี งพอเพียงใด 4.00 ดี 80.00 6 ทา่ นไดร้ บั ความรคู้ วามสามารถฝกึ ทกั ษะได้ตามทค่ี าดหวังมากนอ้ ยเพียงใด 7 ความรู้ทกั ษะท่ไี ด้ สามารถนําไปใชป้ ระกอบอาชีพได้เพยี งใด 4.00 ดี 80.00 8 สถานเรยี นเหมาะสมเพียงใด 9 ทา่ นไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรเู้ ท่าเทยี มกนั เพยี งไร 4.00 ดี 80.00 10 ระยะเวลาในการเรยี น/กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด 11 ความรู้ทไ่ี ดร้ บั คมุ้ ค่าเวลา และความตัง้ ใจเพยี งใด 4.00 ดี 80.00 12 ทา่ นพงึ พอใจตอ่ หลกั สตู รนเี้ พียงใด 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 4.00 ดี 80.00 จากผลแบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจของผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ ารด้านกระบวนการจดั กิจกรรม และความพึงพอใจในครง้ั น้ีพบว่า - ด้านหลกั สูตร ๑. เน้ือหาวิชาท่ีจัดที่เรียนรู้ตรงตามความต้องการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านหลกั สูตรผูร้ ับบริการมผี ลการประเมนิ ในระดับดี คดิ เปน็ ร้อยละ 80.00 - ด้านวทิ ยากรหรอื ผ้สู อน 2. วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม โครงการ
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั ิงาน กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศูนย์ฝกึ อาชพี ๑๖ ชุมชน 3. วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรท่ีกําหนด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้ารว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านวิทยากรหรอื ผู้สอน ผรู้ ับบรกิ ารมผี ลการประเมินในระดับดี คดิ เปน็ ร้อยละ 80.00 - ด้านการจัดกิจกรรมหรอื การเรยี นรู้ 4. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ * โดยภาพรวมด้านการจัดกิจกรรมหรือการเรียนรู้ผู้รับบริการ มีผลการประเมินในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - สื่อและวัสดอุ ุปกรณ์ ๕. จํานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รว่ มโครงการ * โดยภาพรวมดา้ นส่ือและอปุ กรณผ์ ูร้ ับบริการมผี ลการประเมนิ ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 80.00 - ผลทไ่ี ด้รบั จากการเรยี นรหู้ รือเข้ารว่ มกิจกรรม 6. ท่านได้รับความรู้ความสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ใน ระดับดีคดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ 7. ความรู้ทักษะที่ได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็น รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ * โดยภาพรวมด้านผลท่ีได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี คดิ เป็นร้อยละ 80.00 - สถานทใ่ี หบ้ ริการ 8. สถานเรียนเหมาะสมเพยี งใด มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ดคี ดิ เปน็ ร้อยละ 80 ของผ้เู ข้าร่วมโครงการ * โดยภาพรวมด้านผลท่ีได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไปคิดเป็นรอ้ ยละ 80.00 - ความพงึ พอใจต่อการใหบ้ รกิ าร 9. ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงไร มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ 10. ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
เอกสารรายงานผลการปฏิบตั งิ าน กิจกรรมสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพ ๑๗ ชมุ ชน 11. ความรู้ท่ีได้รับคุ้มค่าเวลา และความตั้งใจเพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการ 12. ท่านพงึ พอใจตอ่ หลกั สูตรนี้เพียงใด มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วม โครงการ * โดยภาพรวมด้านผลที่ได้รับจากการเรียนรู้หรือเข้าร่วมกิจกรรม ผู้รับบริการมีผลการประเมินในระดับดี คิดเปน็ ร้อยละ 80.00 ۞โดยภาพรวมแล้วจากแบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้ รับบริการ การจัดกจิ กรรมงานการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพ วิชาการทาบายศรีปากชาม มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี คิด เป็นร้อยละ 80.00
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กิจกรรมส่งเสรมิ ศูนย์ฝกึ อาชีพ ๑๘ ชุมชน คณะผูจ้ ัดทา ที่ปรกึ ษา นายศักด์ชิ ยั นาคเอย่ี ม ผอ.กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบรุ ี นางสนุ ยี ์ ทันไกร ครูอาสาสมัครฯ กศน.อ.เมอื งฯ นางภทั รานิษฐ์ หนูขาว ครอู าสาสมคั รฯ กศน.อ.เมืองฯ คณะผจู้ ดั ทาํ ผู้รบั ผิดชอบโครงการ คณะทํางาน นายณัฏฐเมศ เสรมิ สุข นางสาวจารณุ ี สําราญวงศ์
เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ อาชพี ๑๙ ชุมชน แบบติดตามผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมประชาชนหลงั จบหลกั สูตร กศน.ตาํ บลหนองบัว กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบรุ ี ฝึกอบรมหลกั สตู ร โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ) วชิ าการทาํ บายศรปี ากชาม จาํ นวน......2........ วัน ระหวา่ งวนั ที่…...8 – 9 พฤษภาคม 2562................................................. ชื่อวทิ ยากร (ถ้าม)ี ..................................นางสาวพิลาศลักษณ์ เทพเทียน........................................................ คาช้ีแจง แบบติดตามผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมประชาชน มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกบั ประโยชน์ท่ผี เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมไดร้ ับหลังจากการฝกึ อบรมจบหลักสูตรแลว้ ชอื่ –นามสกุล การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์ ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม ท่ี ลดรายจา่ ย เพ่มิ รายได้ พฒั นา นาํ ไปประกอบอาชพี อื่น ๆ (ระบ)ุ คณุ ภาพชวี ิต 1 นายธวัชชัย เหมือนชู 2 นางสาวลดั ดา ชจู ติ ร 3 นางสาวมนพ ชาวบ้านสงิ ห์ 4 นางบังอร ธนะคําดี 5 นางสาวอัมพร ยิง่ มี 6 นางวลิ าวรรณ ทองเนยี ม 7 นางจ๋วิ แซล่ ้ิม 8 นายเปย๊ี ก แซล่ ้มิ 9 นางสาวถนอม วงทอง 10 นายนิคม ผลเงาะ ลงชอื่ ..............................................................ครู กศน.ตาํ บล (นายณฏั ฐเมศ เสรมิ สุข)
เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศูนยฝ์ ึกอาชีพ ๒๐ ชุมชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: