Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างของระบบเครือข่าย

โครงสร้างของระบบเครือข่าย

Published by Panomporn Bank, 2021-11-15 14:33:05

Description: 123

Search

Read the Text Version

โครงสร้างของระบบเครือข่าย และประเภทของระบบเครอื ข่าย นายพนมพร เลขะผล ชน้ั ปวส. 2 เลขท่ี 5 แผนกเทคโนโลยสี ารสนเทศ

โครงสร้างของระบบเครือข่าย 1. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบบสั (bus topology) โครง สร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบบสั จะประกอบดว้ ย สายส่งขอ้ มูลหลกั ที่ใช้ ส่งขอ้ มลู ภายในเครือขา่ ย เครื่องคอมพวิ เตอร์แตล่ ะเครื่อง จะเช่ือมต่อเขา้ กบั สายขอ้ มลู ผา่ นจุดเชื่อมตอ่ เมอ่ื มีการส่งขอ้ มลู ระหว่างเครื่อง คอมพวิ เตอร์หลายเคร่ืองพร้อมกนั จะ มีสัญญาณขอ้ มูลส่งไปบนสายเคเบล้ิ และมกี ารแบ่งเวลาการใชส้ ายเคเบลิ้ แตล่ ะเคร่ือง ขอ้ ดีของการเช่ือมต่อแบบบสั คอื ใชส้ ื่อนาขอ้ มูลนอ้ ย ช่วยใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ ่าย และถา้ เครื่อง คอมพวิ เตอร์เครื่องใดเคร่ืองหน่ึงเสียก็จะไมส่ ่งผลตอ่ การทางาน ของ ระบบโดยรวม ขอ้ เสีย คือ การตรวจจุดทีม่ ีปัญหา กระทาไดค้ อ่ นขา้ งยาก และถา้ มจี านวนเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ ในเครือข่ายมากเกินไป จะมกี ารส่งขอ้ มลู ชนกนั มากจนเป็นปัญหา

2. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (ring topology) โครง สร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบวงแหวน มีการเชื่อมต่อระหวา่ งเครื่อง คอมพวิ เตอร์โดยทีแ่ ตล่ ะ การเชื่อมต่อจะมลี กั ษณะเป็นวงกลม การส่งขอ้ มูลภายใน เครือข่ายน้ีกจ็ ะเป็นวงกลมดว้ ยเช่นกนั ทิศทางการส่งขอ้ มูล จะเป็นทิศทางเดียวกนั เสมอ จากเครื่องหน่ึงจนถึงปลายทางในกรณีที่มีเคร่ือง คอมพวิ เตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหน่ึง ขดั ขอ้ ง การส่งขอ้ มูลภายในเครือขา่ ยชนิดน้ีจะไมส่ ามารถทางานตอ่ ไปได้ ขอ้ ดี ของโครงสร้าง เครือขา่ ยแบบวงแหวนคอื ใชส้ ายเคเบลิ้ นอ้ ย และถา้ ตดั เครื่อง คอมพวิ เตอร์ทเี่ สียออกจากระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายน้ี และ จะไม่มกี ารชนกนั ของขอ้ มลู ทแี่ ตล่ ะเครื่องส่ง

3. โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว (star topology) โครง สร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว ภายในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์จะตอ้ งมีจุก ศนู ยก์ ลางในการควบคุมการเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์ หรือ ฮบั (hub) การส่ือสารระหว่าง เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ต่างๆ จะส่ือสารผา่ นฮบั ก่อนทจี่ ะส่งขอ้ มลู ไปสู่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เครื่องอ่นื ๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมี ขอ้ ดี คือ ถา้ ตอ้ งการเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอร์เครื่องใหม่ ก็สามารถทาไดง้ า่ ย และไม่ กระทบต่อเครื่องคอมพวิ เตอร์อ่ืนๆในระบบ ขอ้ เสีย คือ ค่าใชจ้ า่ ยในการใชส้ ายเคเบิ้ลจะ คอ่ นขา้ งสูง และเม่ือฮบั ไมท่ างาน การ ส่ือสารของคอมพวิ เตอร์ท้งั ระบบก็จะหยดุ ตามไปดว้ ย

4. โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช (mesh topology) โครง สร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แต่ ละเคร่ืองจะมชี ่องสญั ญาณจานวนมาก เพื่อทจี่ ะเชื่อมต่อกบั เครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่ือง อน่ื ๆทกุ เครื่อง ขอ้ ดี คอื โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์น้ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง จะส่ง ขอ้ มลู ไดอ้ สิ ระไม่ตอ้ งรอการส่งขอ้ มลู ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์เครื่องอน่ื ๆ ทาให้การ ส่งขอ้ มลู มคี วามรวดเร็ว ขอ้ เสีย คือค่าใชจ้ า่ ย สายเคเบ้ิลก็สูงดว้ ยเช่นกนั

5. โครงสร้างเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบบผสม (hybrid topology) เป็น โครงสร้างเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ท่ผี สมผสานความสามารถของโครงสร้าง เครือข่าย คอมพวิ เตอร์หลาย ๆ แบบรวมกนั ประกอบดว้ ยเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ยอ่ ยๆ หลายเครือขา่ ยทม่ี ีโครงสร้างแตกต่างกนั มาเชื่อมตอ่ กนั ตามความเหมาะสม ทาให้เกิด เครือข่ายทีม่ ีประสิทธิภาพสูงในการส่ือสารขอ้ มูล ขอ้ ดี คอื ทาให้เกิดเครือขา่ ยทม่ี ีประสิทธิภาพสูงในการสื่อสารขอ้ มูล

ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 4 ประเภทดงั น้ี 1. PAN (Personal Area Network) คือ “ระบบการติดตอ่ สื่อสารไร้สายส่วนบุคคล” คือเทคโนโลยีการเขา้ ถึงไร้สายในพ้ืนที่เฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกิน 1 เมตร และมีอตั ราการรับส่งขอ้ มลู ความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซ่ึงเทคโนโลยีท่ีใช้กนั แพร หลาย กเ็ ช่น• Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตาม มาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4เทคโนโลยีเหล่าน้ีใช้ สาหรับการตดิ ต่อสื่อสารระหว่างคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ต่อพว่ ง(peripherals) ใหส้ ามารถ รับส่งขอ้ มูลถึงกนั ได้ และยงั ใช้สาหรับการรับส่งสัญญาณวิดีโอที่มีความละเอียดภาพสูง (high-definition video signal) ไดด้ ว้ ยPersonal

2. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือขา่ ยระดบั ทอ้ งถ่ิน เป็ นระบบเครือข่ายท่ีใช้งานอยู่ในบริเวณท่ีไม่กวา้ งนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคาร เดียวกนั หรืออาคารที่อยใู่ กลก้ นั เช่น ภายในมหาวิทยาลยั อาคารสานักงาน คลงั สินคา้ หรือ โรงงาน เป็นตน้ การส่งขอ้ มูลสามารถทาไดด้ ว้ ยความเร็วสูง และมีขอ้ ผิดพลาดน้อย ระบบ เครือขา่ ยระดบั ทอ้ งถิ่นจึงถกู ออกแบบมาให้ช่วยลดตน้ ทุนและเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางาน และใชง้ านอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ร่วมกนั

3. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั เมอื ง เป็ นระบบเครือข่ายท่ีมีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครือข่ายที่ใช้ ภายในเมืองหรือจงั หวดั เท่าน้นั การเช่ือมโยงจะตอ้ งอาศยั ระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครือข่ายท่ีใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่าน้ันเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการส่ือสารไม่ สูง เน่ืองจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กบั เครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเช่ือมโยงระหว่างประเทศดว้ ยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวทิ ยุ สายเคเบลิ

4. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั ประเทศ หรือเครือขา่ ยบริเวณกวา้ ง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดต้งั ใชง้ านอยใู่ นบริเวณกวา้ ง เช่น ระบบเครือข่ายที่ติดต้งั ใช้ งานทวั่ โลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ท่ีอยูห่ ่างไกลกนั เขา้ ดว้ ยกนั อาจจะต้องเป็ นการติดต่อสื่อสารกนั ในระดบั ประเทศ ขา้ มทวีปหรือทวั่ โลกก็ได้ ในการ เชื่อมการติดต่อน้ัน จะต้องมีการต่อเข้ากับระบบสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือ การส่ือสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็ นการส่งขอ้ มูลผ่านสายโทรศพั ทใ์ นการ ติดต่อส่ือสารกนั โดยปกติมีอตั ราการส่งขอ้ มูลท่ีต่าและมีโอกาสเกิดขอ้ ผิดพลาด การส่ง ขอ้ มูลอาจใชอ้ ุปกรณใ์ นการสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook