1 ประวตั ิเพลงลาวเส่ยี งเทยี น สองชัน้ เพลงลาวเสี่ยงเทียนเดิมเป็นเพลงลูกบท ( เพลงที่เล่นต่อท้ายเพลงแม่บท ) เกิดขึ้น ในระหว่างปลายรัชกาลที่ 4 ถึงต้นรัชกาลที่ 5 ซึ่งไม่ทราบชื่อผู้แต่งขึ้น แล้วนำมาเล่นต่อทา้ ย เพลงใหญ่ เป็นเพลงสำเนียงลาว อัตราจังหวะ ๒ ชั้น มี ๒ ท่อน ต่อมามีผู้แต่งทางร้อง และใช้บทร้องที่ว่า “ ข้าเจ้าสาวโคมเวียนเสี่ยงเทียนถวาย ขอน้อมกายก้มเกล้าเข้ามาหา ” ซึ่งเป็นที่นิยมของผูท้ ่ีได้ยินไดฟ้ ัง ถึงกับนำไปเล่นกันอย่างแพร่หลาย และเรียกชื่อกันตามบท ร้องวา่ “ ลาวเสย่ี งเทยี น ” เพลงนจ้ี งึ มีชอ่ื “ ลาวเสย่ี งเทยี น ” มาต้งั แตน่ นั้ ต่อมาพ.ศ. 2476 ได้นำทำนองเพลงลาวเสี่ยงเทียนของเก่าซึ่งเป็นอัตรา 2 ชั้น มาแต่งขึ้นเป็นอัตรา 3 ชั้น ทั้งทำนองร้องและทำนองดนตรี โดยแต่งทำนองให้มีสำเนียง เป็นลาวตามสำเนียงเดิม รวมทั้งได้แต่งทางเปลี่ยน ต่อมาได้แต่งเพิ่มเป็นเถา โดยแต่ง ทางเปลี่ยนขึ้นทั้ง 3 ชั้นและ 2 ชั้นด้วย เพลงลาวเสี่ยงเทียนเถา ของหลวงประดิษฐไพเราะ ( ศร ศิลปบรรเลง ) เป็นเพลงที่มีทำนองไพเราะน่าฟัง ได้รับความนิยมในวงการดนตรีไทย แพร่หลายมาก นอกจากเพลงลาวเสี่ยงเทียนทางของหลวงประดิษฐไพเราะแล้ว ยังมีเพลง ลาวเส่ยี งเทียนทางของครวู าดด้วยอีกทางหนึง่ เนอื้ ร้องเพลงลาวเสี่ยงเทยี น สองช้ัน ธปู เทยี นทองสองมือถอื ไว้ต้งั ใจวนั ทา ( ซำ้ ) นอ้ มเคารพบชู าพระศาสดาของชาวพุทธ ( ซ้ำ ) พระปญั ญาเลศิ ลน้ ทรงคน้ พบสัจจะธรรม พระการณุ ย์เลิศล้ำ ทรงน้อมนำสูม่ นุษย์ พระองค์เลิศล้วนบริสทุ ธ์ิ สอนชนใหห้ ลดุ พ้นความทกุ ขท์ น ( ซำ้ )
2 โน้ตเพลงลาวเส่ยี งเทียน สองชนั้ ท่อน 1 // - - - - - - - - - ล ล ล - ดํ - ซ - - - ฟ - ม - - - ร - ซ - - - ซ - ซ ซ ซ - ล ล ล - ดํ - ซ - - - ฟ - ม - - - ร - ซ - - - ซ - - - ซฺ ซลซม ซรมซ --ดร มรด- -ดรม -ร-ด - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ - มฺ - - -ม-ร -ดรม --ดร มรด- -ดรม -ร-ด - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ - มฺ - - กลับต้น //
3 ท่อน 2 // ซลซม ซรมซ ---ซ ซ--ซ ซลซม รด-ร ---ร ร--ร - ซฺ - - - ซฺ - - - รฺ - - - รฺ - - ซลซม ซรมซ ---ซ ซ--ซ ซลซม รด-ร ---ร ร--ร - ซฺ - - - ซฺ - - - รฺ - - - รฺ - - -ม-ร -ดรม --ดร มรด- -ดรม -ร-ด - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ - มฺ - - -ม-ร -ดรม --ดร มรด- -ดรม -ร–ด - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ - มฺ - - กลบั ต้น //
4 คำอธบิ ายเพิ่มเติม - ตวั ย่อของลกั ษณะการใชไ้ มด้ ดี และการใช้น้วิ ดีดจะเข้ การใชไ้ ม้ดดี การใช้นว้ิ อ = ออก ป = เปลา่ ข = เขา้ น = นาง ร = รวั ก = กลาง ช = ช้ี ปช = โป้งและชี้ การดดี ทงิ นอย การดีดทิงนอย เป็นกลวิธีการบรรเลงแบบหนึ่งของจะเข้ ที่เอื้อกับขอบเขต หรือช่วงเสียงของเสียงจะเข้ เนื่องจากจะเข้มีช่วงเสียงกว้างมากกว่าเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องสี ได้แก่ ซอด้วงและซออู้ หากนับช่วงเสียงปกติที่ใช้ดำเนินทำนองในเพลง ประเภทเพลงหมู่ ไม่นบั การสชี ่วงเสียงพเิ ศษในการบรรเลงเพลงเดี่ยว จะเข้จึงเปน็ เครอื่ งดนตรี ที่มีเสียงให้เลือกใช้ในการประดิษฐ์เป็นทำนองเพลงหลายช่วงเสียง นอกจากนี้จะเข้ยังมีสาย ๓ สาย การตงั้ สายหรือการเทยี บเสยี งสายเปล่ายังกำหนดใหเ้ สียงสายเอกกับสายสวดเปน็ เสียง ทห่ี ่างกันเป็นคู่ ๘ อกี ดว้ ย เพราะฉะนนั้ การทีเ่ สียงหา่ งกนั เปน็ คู่ ๘ ซึง่ เป็นเสียงเดยี วกัน ใช้นม จะเข้ร่วมกันระหว่างสายเอกกับสายลวด จึงเอื้อต่อการใช้กลวิธีการบรรเลงแบบการบรรเลง เสียงคู่ ๘ ประกอบกันระหว่างสายเอกกับสายลวดที่เรียกกันว่า “ การดีดทิงนอย ” กลวิธี การบรรเลงนี้ปรากฏเฉพาะในการดีดจะเข้เทา่ นั้น วธิ ีการดดี ทิงนอย การดีดทิงนอย มวี ิธีการบรรเลงใหเ้ กิดเสียงทงั้ ๒ เสยี งด้วยการใช้น้วิ หัวแม่มือประกบ กับนิ้วชี้ นิ้วหัวแม่มือประกบกับนิ้วกลาง และนิ้วก้อยประกบกับนิ้วนาง โดยใช้ปลาย นิ้วหัวแม่มือประกบอยู่ใต้ท้องนิ้วชี้ที่ข้อปลายสุด กดสายสวดด้วยเล็บของนิ้วหัวแม่มือ ในลกั ษณะน้วิ ตะแคง แตม่ อื ยงั ควำ่ อย่ใู นลักษณะการดดี ตามปกติ ในลักษณะเชน่ นี้ นิ้วช้ีจะอยู่ ที่นมเดียวกันบนสายเอก แล้วดีดไม้เข้าท่ีสายลวดให้เกดิ เสียง “ ทิง ” ตามด้วยการดีดไมเ้ ขา้ ทีส่ ายเอกใหเ้ กดิ เสียง “ นอย ” รวมเป็น “ ทิงนอย ”
5 โนต้ เพลงลาวเส่ยี งเทยี น สองช้นั ทอ่ น 1 // สายเอก ---- - - - - - ล ล ล - ดํ - ซ - - - ฟ -ม-- -ร-ซ ---ซ สายท้มุ สายลวด ---- ---- -ขอร -ร-ร ---ร -ร-- -ร-ร ---ร ไมด้ ีด ---- ---- -ชชช -ช-น ---น -น-- -น-ช ---ช นิ้ว สายเอก - ซ ซ ซ - ล ล ล - ดํ - ซ - - - ฟ - ม - - - ร - ซ - - - ซ สายทุ้ม สายลวด - - - ซฺ ไมด้ ีด - - - ข - ข อ ข - ข อ ร - ร - ร - - - ร - ร - - - ร - ร - - - ข นว้ิ - - - ปช - ช ช ช - ช ช ช - ช - น - - - น - น - - - น - ช - - - ช สายเอก ซ ล ซ ม ซ ร ม ซ - - ด ร ม ร ด - -ดรม -ร-ด สายทมุ้ - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ สายลวด - มฺ - - ไม้ดดี อ ข อ ข อ ข อ ร - - อ ข อ ข อ ร - - อ ข อ ข อ ร - ข อ ร - ร - ร นิว้ ช ช ก น ช น ก ช - - ป น ก น ป น - - ช น ป ก ป น - ป น ก - น - ป สายเอก - ม - ร - ด ร ม - - ด ร ม ร ด - -ดรม -ร-ด สายทุ้ม - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ สายลวด - มฺ - - ไม้ดดี - ร - ร - อ ข ร - - อ ข อ ข อ ร - - อ ข อ ข อ ร - ข อ ร - ร - ร น้วิ - ก - น - ป น ก - - ป น ก น ป น - - ช น ป ก ป น - ป น ก - น - ป กลับตน้ //
6 ท่อน 2 // สายเอก ซ ล ซ ม ซ ร ม ซ - - - ซ ซ - - ซ ซ ล ซ ม ร ด - ร - - - ร ร - - ร สายทมุ้ สายลวด - ซฺ - - - ซฺ - - - รฺ - - - รฺ - - ไมด้ ดี อ ข อ ข อ ข อ ข - ข - ข อ ข - ข อ ข อ ข อ ร - ร - ข - ข อ ข - ข นิ้ว ช ช ก น ช น ก ช - ปช - ช ช ปช - ช ช ช ก น น ป - น - ปช - ช ช ปช - ช สายเอก ซ ล ซ ม ซ ร ม ซ - - - ซ ซ - - ซ ซ ล ซ ม ร ด - ร - - - ร ร - - ร สายทุ้ม สายลวด - ซฺ - - - ซฺ - - - รฺ - - - รฺ - - ไม้ดดี อ ข อ ข อ ข อ ข - ข - ข อ ข - ข อ ข อ ข อ ร - ร - ข - ข อ ข - ข นิ้ว ช ช ก น ช น ก ช - ปช - ช ช ปช - ช ช ช ก น น ป - น - ปช - ช ช ปช - ช สายเอก - ม - ร - ด ร ม - - ด ร ม ร ด - -ดรม -ร-ด สายทมุ้ - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ สายลวด - มฺ - - ไม้ดดี - ร - ร - อ ข ร - - อ ข อ ข อ ร - - อ ข อ ข อ ร - ข อ ร - ร - ร นว้ิ - ก - น - ป น ก - - ป น ก น ป น - - ช น ป ก ป น - ป น ก - น - ป สายเอก - ม - ร - ด ร ม - - ด ร ม ร ด - -ดรม -ร-ด สายทุ้ม - - - ลฺ - - ด ลฺ ซฺ - ซฺ ลฺ สายลวด - มฺ - - ไมด้ ีด - ร - ร - อ ข ร - - อ ข อ ข อ ร - - อ ข อ ข อ ร - ข อ ร - ร - ร น้ิว - ก - น - ป น ก - - ป น ก น ป น - - ช น ป ก ป น - ป น ก - น - ป กลบั ต้น //
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: