การแสดงดนตรีไทยโดย ครอู าวโุ สแหง รตั นโกสนิ ทร เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสวันคลายวันพระราชสมภพ ๒ เมษายน ๒๕๖๖ ณ หอประชุมใหญ ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย วันพฤหัสบดีท่ี ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๔.๐๐ น. Thai Classical Music Concert by the Senior Masters of Rattanakosin in Honour of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn in Celebration of H.T.H.’s Birthday Anniversary on April 2, 2023 Thursday July 27, 2023 at 14:00 Hrs. Main Hall, Thailand Cultural Centre
สาร Message สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมคี ณุ ปู การอยา่ งอเนกอนนั ตต์ อ่ การด�ำ เนนิ งาน ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ พระราชกรณยี กจิ พระราชจรยิ วตั รนานปั การทท่ี รงปฏบิ ตั ลิ ว้ นเพอ่ื อนรุ กั ษ์ สง่ เสรมิ สบื สาน มรดกศลิ ปวฒั นธรรมไทย อีกทั้งทรงเปี่ยมด้วยพระปรีชาสามารถทางด้านศิลปวัฒนธรรมหลายสาขา อาทิ วรรณศิลป์ สังคีตศิลป์ วิจิตรศิลป์ ทัศนศิลป์ อักษรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ดนตรีไทย เป็นที่ประจักษ์ต่อสายตาชาวไทยและต่างชาติ จึงทรงได้รับการน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชสมัญญา “เอกอัครราชูปถัมภกมรดกวฒั นธรรมไทย” และ “วิศษิ ฏศิลปิน” ดว้ ยทรงเปน็ ปราชญท์ างดา้ นวฒั นธรรม ทรงมีคณุ ูปการตอ่ เหลา่ ศลิ ปนิ และ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ทรงดำ�รงพระองคเ์ ป็นแบบอยา่ งในการธ�ำ รงรกั ษามรดกศิลปวัฒนธรรมของชาตติ ลอดมา เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงวริ ยิ ะอุตสาหะ บำ�เพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อยังประโยชน์ต่องานศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพาะทรงเกื้อหนุนอุปถัมภ์ดนตรีไทย และทรงเป็นแบบอย่าง อันดีงามในการอนรุ กั ษ์ สืบสาน เผยแพรด่ นตรไี ทย กระทรวงวฒั นธรรม โดยกรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม จึงไดด้ �ำ เนินโครงการ “การแสดงดนตรีไทย โดยครอู าวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร”์ อย่างตอ่ เนื่องทกุ ปี กระทรวงวัฒนธรรม สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินมาทอดพระเนตรการแสดงดนตรีไทย และทรงดนตรีไทยร่วมกับเหล่าครูอาวุโสในครั้งนี้ พระเมตตา ดังกลา่ วเปน็ ทป่ี ล้มื ปีติ เปน็ ขวญั และกำ�ลังใจอนั ล้าํ คา่ อย่างย่ิงแก่ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสนิ ทร์ และเหลา่ นกั ดนตรไี ทยใหร้ ว่ มใจสบื สานดนตรไี ทย อนั เป็นเอกลักษณข์ องชาตใิ หค้ งอยสู่ ืบไป Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has made great contributions to Thai art and culture. Her numerous royal activities and distinguished role are to preserve, promote, and treasure Thai artistic and cultural heritage. Also, she has a remarkable talent in many fields of art and culture, including literature, music, fine art, visual art, languages, history, and Thai classical music, which has been recognized by Thais and foreigners. Thus, she has been given the title of “the Most Eminent Royal Patron of Thai Cultural Heritage” and “the Most Illustrious Artist” for her cultural intellects, contribution to artists, art and culture, and role model in the consistent preservation of national artistic and cultural heritage. In honor of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn through her dedication for the benefits of national art and culture, and especially for her patronage of Thai classicalmusic and her commitment in its preservation, continuation, and dissemination ; the Ministry of Culture has entrusted the Department of Cultural Promotion to carry out the project “Thai Classical Music Performance by the Senior Masters of Rattanakosin Period” with its consecutive activities. The Ministry of Culture is most grateful to Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn for presiding over the Thai classical music performance and for performing it along with the senior masters. This royal grace is an invaluable encouragement and a great support for both the senior masters and Thai classical musicians to continue to treasure Thai classical music as a national identity. 2 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์
นายอทิ ธพิ ล คุณปล้มื H.E. Mr. Itthiphol Kunplome รฐั มนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม Minister of Culture การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 3
สาร Message กระทรวงวัฒนธรรม สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระกรุณาเสดจ็ พระราชดำ�เนินมาทอดพระเนตรการแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์ ในวนั พฤหสั บดที ี่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเป็น “วศิ ษิ ฏศลิ ปิน” ที่ทรงพระปรชี าสามารถ ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมหลายสาขา ท้งั ด้านวรรณศลิ ป์ สงั คตี ศิลป์ วิจติ รศิลป์ และทศั นศลิ ป์ ฯลฯ ทรงประกอบพระราชกรณยี กิจ เพื่อการอนรุ ักษ์ และพฒั นาศิลปวฒั นธรรมไทย ทรงอุปถมั ภ์สง่ เสรมิ ศลิ ปนิ ทางด้านดนตรีไทยเปน็ ท่ีประจักษ์ตลอดมา นบั เป็นพระมหากรณุ าธคิ ณุ อย่างหาทสี่ ุด มไิ ด้ ดงั นัน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติและน้อมส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี กระทรวงวัฒนธรรม จึงได้มอบหมายให้กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ดำ�เนินโครงการ “การแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวุโส แห่งรัตนโกสินทร์” อย่างต่อเน่ือง เพ่ือเผยแพร่พระราชจริยาวัตรอันงดงาม ที่ทรงพระปรีชาสามารถเป็นเลิศด้านดนตรีไทย และเพ่ืออนุรักษ์ สง่ เสรมิ สืบทอดมรดกทางศลิ ปวฒั นธรรมไทย ให้คงอยู่เป็นเกยี รตภิ ูมิ ศกั ดิศ์ รีและความภาคภูมใิ จของคนไทยสืบไป The Ministry of Culture is deeply appreciated the royal grace of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn to preside over Thai classical music performance by senior masters of Rattanakosin Period on Thursday 27th July 2023 at 14.00 hrs., main hall of Thailand Cultural Centre. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn is “the Most Illustrious Artist”, who excels in many fields of art and culture including literature, music, fine art, visual art, and so on. She has performed royal activities for the purpose of Thai art and culture preservation and development. Also, she has distinctly and constantly patronized and promoted Thai classical music artists. This is regarded as her immeasurable royal grace. Accordingly, in honor and remembrance of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, the Ministry of Culture has assigned the Department of Cultural Promotion to continually carry out the project “Thai Classical Music Performance by the Senior Masters of Rattanakosin Period” to publicize her distinguished behavior for the Thai classical music talent and to preserve, promote, and inherit Thai artistic and cultural heritage for its sustainability as Thais’ prestige, dignity, and pride. 4 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแหง่ รตั นโกสินทร์
นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร Mrs. Yupha Taweewattanakitborvon ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม Permanent Secretary for Culture การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์ 5
สาร Message เน่ืองในโอกาสคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๒ เมษายน ของทุกปี กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จึงกำ�หนดจัด “การแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์” ขึ้น เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในฐานะทรงเปน็ “เอกอคั รราชปู ถมั ภก มรดกวัฒนธรรมไทย” และ “วิศิษฏศิลปิน” ท่ีทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เพ่ืออนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ และต่อยอดงาน ด้านศิลปวัฒนธรรมมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านดนตรีไทย ท่ีทรงเกื้อหนุนอุปถัมภ์ดนตรีไทยและนักดนตรีมาโดยตลอด เป็นท่ีซาบซ้ึง และประจักษช์ ัดในพระมหากรุณาธคิ ุณเป็นอยา่ งยิง่ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นท่ีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรการแสดงและทรงดนตรีไทยร่วมกับครูอาวุโสและวงดนตรีบ้านปลายเนิน ในวัน พฤหัสบดีที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย พระเมตตาดงั กล่าวเปน็ ท่ปี ลม้ื ปิติ เป็นขวญั ก�ำ ลงั ใจอันล้ําคา่ อย่างยง่ิ แก่ครูอาวโุ ส และเหลา่ นักดนตรีไทย ในโอกาสนี้ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ขอขอบคุณทุกฝ่ายท่ีร่วมสนับสนุนและอนุเคราะห์ “การแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวุโส แหง่ รตั นโกสนิ ทร”์ ประสบความส�ำ เรจ็ ดว้ ยดี ทงั้ นดี้ ว้ ยความมงุ่ มนั่ และตงั้ ใจของทกุ ทา่ น ซงึ่ เปน็ สว่ นส�ำ คญั ทจ่ี ะชว่ ยสบื สานดนตรไี ทย ใหส้ บื ทอด ไปยงั อนชุ นรนุ่ หลัง สนองพระราชด�ำ ริในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง สบื ไป กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งสืบไป The date of April ๒nd every year is an auspicious day as it marks Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s birthday anniversary. The Department of Cultural Promotion under Ministry of Culture conducts “Thai Classical Music Performance by the Senior Mastersof Rattanakosin Period” in honour of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn as “the Most Eminent Royal Patron of Thai Cultural Heritage” and “the Most Illustrious Artist” for royal responsibilities and duties to preserve, inherit, disseminate, and cumulate Thai art and culture especially to patronize Thai classical music and the musicians. This is most grateful for the boundless and gracious kindness of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn. The Department of Cultural Promotion deeply appreciates HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn to preside over Thai classical music performance and perform with the senior masters and Ban Plai Noen ensemble on Thursday 27th July 2023 at 14.00 hrs., main hall of Thailand Cultural Centre. This royal grace is an invaluable encouragement and a great support for both the senior masters and Thai classical musicians. On this occasion, the Department of Cultural Promotion would like to express sincere thanks to all parties for their contributions to the success of “Thai Classical Music Performance by the Senior Masters of Rattanakosin Period”. Their effort and commitment is vital for conserving Thai classical music and inheriting to the next generation as well as following path lead by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn. 6 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสนิ ทร์
นายโกวทิ ผกามาศ Mr. Kowit Pakamart อธิบดีกรมส่งเสรมิ วัฒนธรรม Director General of Department of Cultural Promotion การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 7
สารบัญ สาร กำ�หนดการ Contents Me๒ssage Programme of Ceremony ๙ การแสดงดนตรีไทย ๑๕ รายพระนามและรายนาม ผู้บรรเลง โดยครูอาวุโสแห่รัตนโกสินทร์ วงดนตรีไทย THAI CLASSICAL MUSIC PERFORMANCE ๓๒ BY THE SENIOR MASTERS OF ภาพการแสดงดนตรีไทย RATTANAKOSIN โดยครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์ (พุทธศักราข ๒๕๖๕) รายการแสดงที่ ๑ ประวัติครู PERFORMANCE 1 ดนตรีไทย ๓๖ รายการแสดงที่ ๒ ๓๗ PERFORMANCE 2 รายการแสดงที่ ๓ PERFORMANCE 3 รายการแสดงที่ ๔ PERFORMANCE 4 รายการแสดงที่ ๕ PERFORMANCE 5 รายการแสดงที่ ๖ PERFORMANCE 6 รายการแสดงที่ ๗ ขอบคุณ Acknowledgement PERFORMANCE 7 รายการแสดงที่ ๘ PERFORMANCE 8 ๘๐ 8 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสินทร์
ก�ำ หนดการ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจา้ ฟา้ มหาจกั รีสริ ินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภกั ดี สิริกิจการณิ ีพรี ยพัฒน รฐั สมี าคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ ไปทอดพระเนตร การแสดงดนตรีไทย โดยครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๖ และทรงดนตรไี ทย ในวนั พฤหัสบดที ี่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เวลา ๑๔.๐๐ น. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนยว์ ฒั นธรรมแห่งประเทศไทย ถนนรชั ดาภิเษก เขตห้วยขวาง กรงุ เทพมหานคร (เปน็ การส่วนพระองค)์ Programme of Ceremony Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn visits and performs on “Thai Classical Music Performance by the Senior Masters of Rattanakosin” On Thursday 27th July 2023 at 14.00 hrs. At the Main Hall, Thailand Cultural Centre Ratchadaphisek Road, Huai Khwang, Bangkok (Privy Session) การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 9
๑๓.๔๕ น. ● สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ�เนินโดยรถยนต์พระทน่ี ่งั จากวังสระปทุม ไปยงั หอประชมุ ใหญ่ ศนู ย์วัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย ๑๔.๐๐ น. ● รถยนต์พระท่ีน่งั ถงึ หอประชุมใหญ่ ศูนยว์ ฒั นธรรมแห่งประเทศไทย - นายอิทธิพล คุณปล้มื รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม - นางยพุ า ทวีวฒั นะกจิ บวร ปลัดกระทรวงวฒั นธรรม - นายโกวทิ ผกามาศ อธบิ ดกี รมส่งเสริมวัฒนธรรมและผู้บรหิ ารกระทรวงวฒั นธรรม เฝ้า ฯ รบั เสดจ็ ฯ ● เสดจ็ ไปยงั อาคารอเนกประสงค์ ศูนยว์ ัฒนธรรมแหง่ ประเทศไทย ● ประทับพระราชอาสน์ ● ฉายพระฉายาลกั ษณร์ ่วมกับครอู าวุโสแห่งรัตนโกสินทร์ วงดนตรบี า้ นปลายเนิน และผู้บรหิ ารกระทรวงวัฒนธรรม (จำ�นวน ๔ ชุด) ● เสด็จไปยังโถงหนา้ หอประชุมใหญ่ ● ทอดพระเนตรนทิ รรศการครอู าวโุ ส ● เสดจ็ ออกจากโถงหน้าหอประชุมใหญ่ ไปยงั หอ้ งรบั รอง ● เสด็จเข้าห้องรบั รอง ● ประทับพกั พระราชอิริยาบถ ● เสด็จออกจากห้องรับรอง ● เสด็จเขา้ ภายในหอประชุมใหญ่ ● ประทบั พระราชอาสน์ ● อธิบดีกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม เข้าเฝา้ ฯ ทูลเกล้า ฯ ถวายสูจบิ ัตร ● รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม กราบบังคมทลู รายงานการจัดงาน ฯ ● ทอดพระเนตรการแสดง “วงปพี่ าทย์ไม้นวมประกอบการแสดง” ร�ำ ถวายพระพร สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี “วศิ ษิ ฏศิลปนิ ” โดย วงส�ำ นักการสงั คตี กรมศลิ ปากร และ วงศิษย์พระประณตี วรศัพท์ (เขียน วรวาทิน) (เวลาประมาณ ๑๐ นาท)ี ● เสดจ็ ขึน้ บนเวที ● ประทับพระราชอาสน์ (บนเวท)ี
● ทรงดนตรีไทยรว่ มกับวงครูอาวโุ สชาย – หญงิ “วงปีพ่ าทยผ์ สมเคร่ืองสาย เคร่อื งใหญพ่ เิ ศษ” บรรเลงถวายพระพรน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาคณุ สมเด็จพระเจา้ พน่ี างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนอื่ งในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี วันประสูติ เพลงมหาชยั (เวลาประมาณ ๑๐ นาที) ● เสด็จออกจากเวทหี อประชมุ ใหญ่ ไปยังภายในหอประชุมใหญ่ ● ประทับพระราชอาสน์ ● ทอดพระเนตรการแสดง - “วงปพ่ี าทย์ผสมเคร่ืองสาย เคร่อื งใหญพ่ ิเศษ” เพลงมอญรำ�ดาบ ๓ ชั้น โดยวงครูอาวโุ สชาย-หญิง (เวลาประมาณ ๑๐ นาที) - “วงเคร่อื งสายปช่ี วา” เพลงแขกมอญบางชา้ ง เถา โดย วงครูอาวุโสชาย-หญิง (เวลาประมาณ ๑๐ นาที) - “วงมโหรี เคร่ืองค”ู่ เพลงบหุ ลนั ลอยเล่อื น โดย วงครูอาวุโสชาย-หญงิ (เวลาประมาณ ๑๐ นาท)ี - “วงป่ีพาทยผ์ สมเครอ่ื งสาย” เพลงญวนทอดแห โดย วงครอู าวโุ สชาย-หญิง (เวลาประมาณ ๑๐ นาท)ี - “วงปพี่ าทยไ์ มน้ วมเครื่องใหญ”่ เพลงแขกอาหวัง โดย วงลกู ศิษยค์ รอู าวุโส (เวลาประมาณ ๑๐ นาที) ● เสดจ็ ออกจากหอประชมุ ใหญ่ ไปยังห้องรบั รอง ● ประทับพักพระราชอิริยาบถ (ประมาณ ๒๐ นาท)ี ● เสดจ็ ออกจากห้องรับรอง เข้าหอประชมุ ใหญ่ ● เสดจ็ ข้นึ บนเวที ● ประทบั พระราชอาสน์ (บนเวท)ี ● ทรงดนตรีไทย เพลงไทยเฟ่อื งฟู - แสงหนึง่ คอื รุ้งงาม ร่วมกบั วงดนตรบี า้ นปลายเนนิ (เวลาประมาณ ๑๐ นาที) ● จบการแสดง ● รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม อธิบดกี รมส่งเสริมวัฒนธรรม และผูแ้ ทนครดู นตรีไทยอาวุโส เข้าเฝา้ ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายชอ่ ดอกไม้ (จำ�นวน ๔ ช่อ) ● เสดจ็ ลงจากเวที ● เสด็จออกจากหอประชุมใหญ่ ● เสด็จ ฯ ไปประทับรถยนต์พระที่นงั่ ● เสด็จพระราชด�ำ เนินกลับ การแต่งกาย แต่งเครือ่ งแบบปกตกิ ากคี อพับแขนยาว การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์ 11
13.45 hrs. ● HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn leaves Sraprathum Palace, in the royal car for the main hall, Thailand Cultural Centre. 14. 00 hr●s . he royal car arrives at the main hall, Thailand Cultural Centre. - H.E. Mr Itthiphol Kunplome, Minister for Culture - Mrs Yupha Taweewattanakitborvon, Permanent Secretary for Culture - Mr Kowit Pakamart, Director-General of the Department of Cultural Promotion and the executives of the Ministry of Culture to receive HRH. ● HRH proceeds to the multi-purpose hall, Thailand Cultural Centre. ● HRH proceeds to the royal seat. ● HRH joins group photograph session with the senior masters of Rattanakosin, Ban Plai Noen ensemble and the Ministry of Culture’s executives (four groups). ● HRH proceeds to the foyer of the main hall. ● HRH visits the exhibition of the senior masters of Rattanakosin. ● HRH departs from the foyer of the main hall and proceeds to the reception room. ● HRH proceeds to the reception room. ● HRH takes a rest. ● HRH departs from the reception room. ● HRH proceeds to the main hall. ● HRH proceeds to the royal seat. ● Director-General of the Department of Cultural Promotion presents programme of the performance to HRH. ● Minister for Culture reports the objective of the event to HRH. ● HRH watches the performance of “Piphat Mai-Nuam ensemble performs with Royal Blessing Dance” paying tribute to HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn, “The Most Illustrious Artist”, by Office of Performing Arts, Fine Arts Department and Student of Prapraneatworasap ensemble, “Khean Woravatin” (10 minutes). ● HRH proceeds to the stage. ● HRH sits on the royal seat (on the stage). ● HRH performs Thai classical music with the senior masters on “Piphat ensemble with stringed instruments” in memoriam of HRH Princess Galyani Vadhana’s royal grace on the occasion of centenary celebration of HRH Princess Galyani Vadhana on Maha Chai song (10 minutes). 12 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์
● HRH descends the stage and proceeds to the main hall. ● HRH proceeds to the royal seat. ● HRH watches the performance: - “Piphat ensemble with stringed instruments” performs on Mon Rum Dab song 3 chan (medium tempo) by the senior masters ensemble (10 minutes). - “Thai classical string ensemble with Javanese oboe” performs on Khaek Mon Bang Chang Tao song by the senior masters ensemble (10 minutes). - “Thai orchestra ensemble with the two flutes” performs on Bulan Loy Luen song by the senior masters ensemble (10 minutes). - “Piphat Mai-Nuam ensemble” performs on Khaek A Wang song by the band of students of the senior masters (10 minutes). ● HRH departs from the main hall and proceeds to the reception room. ● HRH takes a rest (approximately 20 minutes). ● HRH departs from the reception room and proceeds to the main hall.- HRH proceeds to the stage. ● HRH sits on the royal seat (on the stage). ● HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn performs Thai classical music on Thai Fueangfu song and Saeng Nueng Kue Rung Ngam song with Ban Plai Noen ensemble (10 minutes). ● End of the performance. ● Minister for Culture, Permanent Secretary for Culture, Director-General of Cultural Promotion Department, and the representative of the senior masters present four bouquets of flowers to HRH. ● HRH descends the stage. ● HRH departs from the main hall. ● HRH gets in the royal car. ● Departure of HRH. Dress Code Long-Sleeved Khaki Uniform การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 13
ขอรูปคะ่ 14 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์
การแสดงดนตรีไทยโดย ครอู าวุโสแหง่ รัตนโกสนิ ทร์ Thai Classical Music Performance by the Senior Masters of Rattanakosin เฉลมิ พระเกียรตสิ มเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี in Honour of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 15
1รายการแสดงที่ ๑ Performances 1 “วงปี่พาทย์ไม้นวมประกอบการแสดง” รำ�ถวายพระพร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดย วงสำ�นักการสังคีต กรมศิลปากร และ วงศิษย์พระประณีตวรศัพท์ (เขียน วรวาทิน) “Piphat Mai-Nuam ensemble performs with Royal Blessing Dance” paying tribute to HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn by Office of Performing Arts, Fine Arts Department and Student of Prapraneatworasap ensemble, “Khean Woravatin” บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 16 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสนิ ทร์
บทร้องรำ�ถวายพระพร - ปี่พาทย์ทำ�เพลงกวีศิลป์ควีนดำ�รัส - ร้องเพลงกวีศิลป์ควีนดำ�รัส น้อมดวงมาน สืบสานศิลป์ แผ่นดินสยาม จรรโลงตาม เบื้องบงกช บทศรี พรั่งพร้อมพลี อารักษ์ไว้ ให้เนานาน พระผู้ปิ่น ศิลปศาสตร์ นาฏ-ดนตรี ทรงมานะ นำ�วิศิษฏ์ สถิตสถาน ทรงผสาน วิศิษฏ์ศิลป์ ทุกถิ่นไทย ธ เลิศลํ้า นำ�วิศิษฏ์ ศิลปะ ธ ยอดยิ่ง วิศิษฏ์บุญ คุณโอฬาร รับ ร้องเพลงฝรั่งควง ปวงศิลปิน ทูนใจกาย ถวายพระพร เทิดสุนทร บวรทวี สิรีสมัย ขอพระองค์ ทรงเกษม เปรมพระทัย ราษฎร์น้อยใหญ่ ร่วมปัดป้อง ผองสิ่งทราม รับ ร้องเพลงบรเทศแปลง ทรงพล (พะละ) อนามัย ไร้โรคา พระชนมา ร้อยฉนำ� ลํ้าโลกสาม ทรงเป็นปิ่น ศิลปิน ทุกเขตคาม ซ้องพระนาม บาทบงสุ์ ทรงพระเจริญ - ปี่พาทย์ทำ�เพลงรัวดึกดำ�บรรพ์ - ครูสมรัตน์ ทองแท้ ประพันธ์บท ครูไชยยะ ทางมีศรี บรรจุเพลง ผศ.ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ ตรวจ แก้ไข การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสินทร์ 17
2รายการแสดงที่ ๒ Performances 2 “วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย เครื่องใหญ่พิเศษ” บรรเลงถวายพระพรน้อมรำ�ลึกถึง พระมหากรุณาคุณ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี วันประสูติ โดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และวงครูอาวุโสชาย-หญิง เพลงมหาชัย “Piphat ensemble with stringed instruments” performs on Maha Chai song, which blessing play in memoriam of HRH Princess Galyani Vadhana’s royal grace on the occasion of Centenary Celebration of HRH Princess Galyani Vadhana by HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn and the senior masters. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 18 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์
บทพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ครบรอบ ๑๐๐ ปีวันประสูติ เพลงมหาชัย ร้อยปีกรมหลวงนราธิวาส พระพี่นางพระจอมราชยิ่งนาถา ทรงบำ�เพ็ญกรณียกิจนานา ยังประโยชน์แก่ประชาชาวชาติไทย ด้วยทรงเป็นผู้เลิศวิชาการ งานเขียนอ่านศิลป์-ศาสตร์ล้วนทรงได้ นำ�ความรู้พัฒนาก้าวหน้าไกล เด็กผู้ใหญ่ล้วนรับผลพระปรีชา ดร.สิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ บรรจุเพลง การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสินทร์ 19
3รายการแสดงที่ ๓ Performances 3 “วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย เครื่องใหญ่พิเศษ” เพลงมอญรำ�ดาบ ๓ ชั้น โดย วงครูอาวุโสชาย-หญิง “Piphat ensemble with stringed instruments” ensemble performs on Mon Rum Dab song 3 chan (medium tempo) by the senior masters ensemble. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 20 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสินทร์
เพลงมอญรําดาบ เพลงมอญรำ�ดาบ เป็นเพลงไทยสำ�เนียงมอญของเก่า นิยมนำ�มาใช้ในการขับร้องและบรรเลง ของการแสดงโขน และละคร ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ครูมนตรี ตราโมท ได้นำ�เพลงมอญรำ�ดาบ ๒ ชั้น มาแต่งขยายขึ้นเป็น ๓ ชั้น พร้อมทั้งปรับแต่งทำ�นอง ๒ ชั้น ขึ้นใหม่ ให้มีสำ�เนียงเป็นเพลงมอญ มากกว่าเดิม และย่อลงเป็นอัตราชั้นเดียว ครบเป็นเพลงเถา เพลงมอญรําดาบ เจ้าเอยเจ้าสมิงพระราม ฟังรับสั่งมีความหม่นไหม้ ไม่ยอมอยู่อายหน้าเสนาใน จะหนีไปหงสาเหมือนว่ากัน การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 21
4 รายการแสดงที่ ๔ Performances 4 “วงเครื่องสายปี่ชวา” เพลงแขกมอญบางช้าง เถา โดย วงครูอาวุโสชาย-หญิง “Thai classical string ensemble with Javanese oboe” performs on Khaek Mon Bang Chang Tao song by the senior masters ensemble. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 22 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์
เพลงแขกมอญบางช้าง เถา สามชั้น พระจันทร จรแจ่ม กระจ่างดวง ส่องพวง รุกขชาติ ช่อไสว นางแย้ม แย้มรับ อยู่ริมไพร ซ่อนชู้ ชูใจ ให้เชยชู เล็บนาง กางกลีบ แหลมแฉล้ม ยี่สุ่นแซม แกมแก้ว กาหลงอยู่ สองชั้น ช้องนาง สยาย ให้เชยชู ชมพู่ เหมือนจะชัก ให้เชยชม มะลิวัลย์ เหมือนเมื่อวัน เจ้าจากพี่ จำ�ปี ปีหนึ่ง จึงคืนสม สุกรม เหมือนพี่ตรอม บอมระบม อบเชย เหมือนพี่ชม ให้เชยชิด (บทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ เรื่องอิเหนา) ชั้นเดียว ทานตะวัน วันลา มาถึงแล้ว ดอกแก้ว แก้วพี่ ยอดดวงจิตร หวนคิด ถึงเจ้า เยาวมิตร หอมสลิด ติดใจ ไม่รู้คลาย -ครูสมชาย ทับพร ประพันธ์- การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสินทร์ 23
5 รายการแสดงที่ ๕ Performances 5 “วงมโหรี เครื่องคู่” เพลงบุหลันลอยเลื่อน โดย วงครูอาวุโสชาย-หญิง “Thai orchestra ensemble with the two flutes” performs on Bulan Loy Luen song by the senior masters ensemble. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 24 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสินทร์
เพลงบุหลันลอยเลื่อน กิดาหยันหมอบกรานอยู่งานพัด พระบรรทมโสมนัสอยู่ในที่ บุหลันเลื่อนลอยฟ้าไม่ราคี รัศมีส่องสว่างดังกลางวัน พระนิ่งนึกตรึกไตรไปมา ที่จะแต่งคูหาสะตาหมัน ป่านฉะนี้พระองค์ทรงธรรม์ จะนับวันเคร่าคอยทุกเวลา การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 25
6 รายการแสดงที่ ๖ Performances 6 “วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย” เพลงญวนทอดแห โดย วงครูอาวุโสชาย-หญิง “Piphat ensemble with stringed instruments” performs on Yuan Tod Hae song by the senior masters ensemble. . บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 26 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแหง่ รัตนโกสนิ ทร์
เพลงภาษา ชุดญวนทอดแห เทิมเทิมเหย่อว เจ๊กเปา ตะละจี่แม่เยิว เจ๊กเปา เจ๊กเปา กงหยี่ ตะละจี่จี๊จัม ตะละจี่จี๊จัม (หนูมากงไถ่ แหกดอย กงจ่า หนูเอย) จีฟาง ฮ้อฟาง ฝันเมือง เทืองยาง จงดุ๋ย จงดุ๋ย กงจา หนูมา เอวบาง เฮ้วฟาง กะย่อ....ย่อฟาง เฮ้วฟาง กะย่อ...ฟาง จี่เอ๋ยจี่ ใครฟังเพลงนี้ ให้โชคดีมีสตางค์ จี่เอ๋ยจี่ ขอเสียงปรบมือซักที เดี๋ยวผมจะจี่ให้ดังดัง โอ้พวกเรา เฒ่าชะแรแก่ชรา ร่วมร้องบรรเลงเพลงภาษาสนุกสนาน ภาษาญวนของเก่าแต่โบราณ ขอทุกท่านสุขสมอารมณ์เทอญ จี่ทองทองเทือง จีจั๊บเดืองอา อั๊กแดอั๊กดุ่ย ทองเทือง จับเดื้องอา กงดุ๋ย กงจา ทองเทือง จับเดื้องอา ครูสมชาย ทับพร เรียบเรียง การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรัตนโกสนิ ทร์ 27
7 รายการแสดงที่ ๗ Performances 7 “วงปี่พาทย์ไม้นวมเครื่องใหญ่” เพลงแขกอาหวัง โดย วงลูกศิษย์ครูอาวุโส “Piphat Mai-Nuam ensemble” performs on Khaek A Wang song by the band of students of the senior masters. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 28 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์
เพลงแขกอาหวัง ถึงกุฎีที่นางพำ�นักอยู่ เห็นบานแกลแลประตูหับมั่น พระเที่ยวดูไปรอบขอบคัน ที่นั่นสะอ้านสำ�ราญรมย์ เพลงแขกยิงนก เยโฮ ไมสะลา ฮ้าฮา . . . ยะอิดสะมิเล . . . เฮ้ . . . ไมเล . . . เฮ้ . . . เค . . . ยะลัน ยะลัน ยะลัน เปอะระวัน เต็มตะระ เบอะระกี้ เกอะปะรัง อะกันมะนัง อะตัสสะม่วนยะ ปรานี ปรานี ปรานี กะโลมะตี ตีดาอะบะ เบอะระกี้ เกอะปะรัง อะกันมะนัง อะตัสสะม่วนยะ ปูกูน ปูกูน ปูกูน บุซุเบอะตูน มินะซะ เบอะระกี้ เกอะปะรัง อะกันมะนัง อะตัสสะม่วนยะ มะนัง มะนัง มะนัง บูไล ปะรัง มะนังซัดยะ เบอะระกี้ เกอะปะรัง อะกันมะนัง อะตัสสะม่วนยะ ตุ่มมะระอัด สะระกัด สะระนา ยะตุ๊มปารา ฮุดไซนาเฮ เห่เฮ เห่เฮ เฮเฮเฮ ยะตุ๊มปารา ฮุดไซนาเฮ ฮายีฮา ยีมายีนู ซาฮุดซา ฮุดซาฮุดเซ้น ละรุมบา ฮาฮ้าฮาบันจะเร .......... เฮ ตานูตา นูตา นูตา จะตุ่มมัสสะรา ฮุดไซนาเฮ สะยันตุม มะละกากิยา อาดัดมะละกา กิยา มิกันตัง ยะโฮ ยะโฮ สุระเก ซูเลฮุนนา สุรเก ซูเลฮุนนา ยะมันยะนิกา ยะนิกานะ มินนา สะมินนา อุบปะรา อุปปา อุบปะรา อุปปา มิลานะ เมาลานะ รศ.สหวัฒน์ ปลม้ื ปรีชา เรียบเรียง การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์ 29
8 รายการแสดงที่ ๘ Performances 8 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงดนตรีไทยร่วมกับวงดนตรีบ้านปลายเนิน เพลงไทยเฟื่องฟู - แสงหนึ่งคือรุ้งงาม HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn perform on Thai Fueangfu Song and Saeng Nueng Kue Rung Ngam song with Ban Plai Noen ensemble. บันทึกภาพการแสดงฯ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๕ 30 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแห่งรัตนโกสินทร์
บทพระราชนิพนธ์ใน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ครบรอบ ๑๐๐ ปีวันประสูติ ไทยเฟื่องฟู ทรงอุปถัมภ์ศิลปวัฒนธรรม เสด็จนำ�บริพารสู่เขาเขิน ที่โบราณประวัติศาสตร์ทรงดำ�เนิน ผู้เห็นกว้างเป็นผู้เจริญที่ได้ดู การดนตรีการแสดงทรงส่งเสริม เพลงคลาสสิกริเริ่มเรียนเป็นหมู่ โขนละครเพลงไทยทรงฟื้นฟู ได้เชิดชูจิตใจให้อิ่มเอม แสงหนึ่งคือรุ้งงาม แสงหนึ่งนั้นหรือคือรุ้งงาม เป็นพลังนำ�ความสุขเกษม แสงงามส่องสิ่งดีให้ปรีดิ์เปรม แสงสะท้อนสิ่งรี้เร้นในใจเรา สิ่งงดงามมีมาถึงร้อยปี แสงมีสีไม่มีที่เทียมเท่า แสงแห่งความดีแต่ก่อนเก่า ยังอยู่เนาใจรำ�ลึกนึกพระคุณ ดร.สิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ บรรจุเพลง การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์ 31
รายพระนามและรายนามผู้บรรเลงวงดนตรีไทย การแสดงดนตรีไทยโดยครูอาวุโสแห่งรัตนโกสินทร์ รายการแสดงที่ ๑ รำ�ถวายพระพร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี “องค์วิศิษฏ์ศิลปิน” โดยครนู าฏศิลปอ์ าวโุ ส พร้อมบรรเลงดนตรีไทยประกอบ โดยวงส�ำ นกั การสังคตี กรมศิลปากร และ วงศิษย์พระประณตี วรศัพท์ (เขยี น วรวาทนิ ) ขลุ่ย/ปี่ ครูสุรศักดิ์ กิ่งไทร ผู้ฝึกซ้อมและควบคุมการบรรเลง ซออู้ ครูมนตรี ชัยศิริ ระนาดเอก ครูทวีศักดิ์ อัครวงศ์ ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ครูปัทมา คุณหิรัญกนก ระนาดทุ้ม ครูสุรสิทธิ์ เขาสถิตย์ ฆ้องวงใหญ่ ครูกิติศักดิ์ เขาสถิตย์ ครูณัฐกฤตา ปลื้มปรีชา ครูธัญทิพ คงลายทอง ฆ้องวงเล็ก ครูศักดิพจน์ วุฒิหทัยโชติ ระนาดเอกเหล็ก ครูสุทธิศักดิ์ มีศิริ ผู้แสดงรำ�ถวายพระพร ระนาดทุ้มเหล็ก ครูศราวุธ นิสกุล ตะโพน/กลองแขก ครูสุภร อิ่มวงศ์ ครูศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ครูปรัชญา ชัยเทศ กลองทัด/กลองแขก ครูทศพล เพียรดี ฉิ่ง ครูสิทธิเดช พัทธเสมา ครูไพฑูรย์ เข้มแข็ง ครูสุเมธ พิสัยพันธ์ ฉาบ ครูจิรัฏฐ์ แป้นทอง กรับ ครูณัฐนนท์ ยาคำ� ครูธีรเดช กลิ่นจันทร์ ครูไอศูรย์ ทิพย์ประชาบาล โหม่ง ครูอดิศร คุณประทุม นักร้อง ครูธนรัฐ อยู่สุขเจริญ ครูสมเจตน์ ภู่นา ครูพัชรพล เหล่าดี นักร้อง ครูพนิดา บุญเส็ง นักร้อง ครูกิตติคุณ อยู่เจริญ ครูฤทธิเทพ เถาว์หิรัญ ครูพงษ์ศักดิ์ บุญล้น นักร้อง ครูเกียรติศักดิ์ ร่มสันเทียะ นักร้อง ครูภมรรัตน์ โพธ์ิสัตย์ ครูวันทนีย์ ม่วงบุญ ครูธีวรา รัตนศึกษา นักร้อง ครูวันเพ็ญ จิตตรง นักร้อง ครูสุภาภรณ์ ลาสอาด ครูพัชรา บัวทอง ครูมณีรัตน์ มุ่งดี ครูตวงฤดี ถาพรพาสี ครูเอกนันท์ พันธุรักษ์ ครูธนันดา มณีฉาย ครูพรทิพย์ ทองคำ� ครูวรรณพินี สุขสม ครูศรีสุคนธ์ บัวเอี่ยม ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ครูสมรัตน์ ทองแท้ ครูปกรณ์ เหล็กเข็ม ครูอัมไพวรรณ เดชะชาติ ครูสกุณี แซ่เฮ้ง ครูรัฐศาสตร์ จั่นเจริญ ครูนพพร โหมดเทศ ครูสุชาดา ศรีสุระ ครูศราวุธ อารมณ์ชื่น ครูสุพรทิพย์ ศุภรกุล ครูสุทธิ สุทธิรักษ์ ครูอัญชลิกา หนอสิงหา ครูภาสินี ปั้นศิริ ครูมาริ ธีระวรกุล ครูนลินนิภา ดีทุม ครูชริตา ธนัทกุลภักดี ครูพัชรินทร์ ทับสี 32 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวุโสแหง่ รัตนโกสนิ ทร์
รายการแสดงที่ ๒ การบรรเลงดนตรีไทย และขับร้อง ถวายพระพรน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาคุณฯ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี วันประสูติ วงปี่พาทย์ผสมเคร่ืองสาย เครื่องใหญ่พิเศษ โดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และวงครูอาวุโส ชาย-หญงิ เพลงมหาชัย ซอด้วง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า นักร้อง ครูทัศนีย์ ขุนทอง กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ นักร้อง ครูวัฒนา โกศินานนท์ สยามบรมราชกุมารี นักร้อง ครูอุษา แสงไพโรจน์ ขลุ่ย ครูไสยาสน์ แย้มสุวรรณ นักร้อง ครูเลี่ยมลักษณ์ สังจุ้ย ขลุ่ย/ปี่ ครูสุวัฒน์ อรรถกฤษณ์ นักร้อง ครูศิริ วิชเวช ปี่ ครูปี๊บ คงลายทอง นักร้อง ครูนฤพนธ์ ดุริยพันธุ์ ระนาดเอก ครูสิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ นักร้อง ครูสมชาย ทับพร ระนาดเอก ครูสงบ ทองเทศ นํักร้อง ครูสมาน แก้วละเอียด ระนาดเอก ครูกิตติ เกตรา นักร้อง ครูดิเรก กล้าหาญ ระนาดเอก ครูไชยยะ ทางมีศรี ระนาดทุ้ม ครูสมพงษ์ ภู่สร ระนาดทุ้ม ครูสวิต ทับทิมศรี ระนาดทุ้ม ครูสมชัย ชำ�พาลี ระนาดทุ้ม ครูสุเชาว์ หริมพานิช ฆ้องวงใหญ่ ครูสุรินทร์ สงค์ทอง ฆ้องวงใหญ่ ครูลำ�ยอง โสวัตร ฆ้องวงเล็ก ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน ฆ้องวงเล็ก ครูไกรฤทธิ์ กันเรือง ระนาดเอกเหล็ก ครูถมยา ทับสี ระนาดทุ้มเหล็ก ครูชลอ ใจชื้น ตะโพน/กลองแขก ครูยงยุทธ ปลื้มปรีชา กลองทัด/กลองแขก ครูอนันต์ ดุริยพันธุ์ เครื่องหนัง ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ซอสามสาย ครูเชวงศักดิ์ โพธิ์สมบัติ ซอด้วง ครูโกวิทย์ ขันธศิริ ซอด้วง ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด ซออู้ ครูอรวรรณ บรรจงศิลป ซออู้ ครูจีรพล เพชรสม จะเข้ ครูอาทร ธนวัฒน์ จะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ฉิ่ง ครูพัฒนี พร้อมสมบัติ ฉาบ ครูดนตรี ตราโมท การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รตั นโกสินทร์ 33
รายการแสดงที่ ๓ รายการแสดงที่ ๔ การบรรเลงดนตรีไทย เพลง มอญรำ�ดาบ ๓ ชั้น การบรรเลงดนตรีไทย เพลงแขกมอญบางช้าง เถา วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสายเครื่องใหญ่พิเศษ วงเครื่องสายปี่ชวา โดยครูดนตรีอาวุโสชายและหญิง โดยครูดนตรีอาวุโสชายและหญิง ปี่ชวา ครูสุวัฒน์ อรรถกฤษณ์ ขลุ่ย ครูไสยาสน์ แย้มสุวรรณ ขลุ่ยหลิบ ครูปี๊บ คงลายทอง ขลุ่ย ครูสุวัฒน์ อรรถกฤษณ์ จะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ขลุ่ย ครูปี๊บ คงลายทอง จะเข้ ครูอาทร ธนวัฒน์ ระนาดเอก ครูสิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ ซอด้วง ครูเชวงศักดิ์ โพธิ์สมบัติ ระนาดเอก ครูสงบ ทองเทศ ซอด้วง ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด ระนาดเอก ครูกิตติ เกตรา ซออู้ ครูจีรพล เพชรสม ระนาดเอก ครูไชยยะ ทางมีศรี กลองแขก ครูอนันต์ ดุริยพันธุ์ ระนาดทุ้ม ครูสมพงษ์ ภู่สร กลองแขก ครูยงยุทธ ปลื้มปรีชา ระนาดทุ้ม ครูสวิต ทับทิมศรี ฉิ่ง ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน ระนาดทุ้ม ครูสมชัย ชำ�พาลี ฉาบ ครูไกรฤทธิ์ กันเรือง ระนาดทุ้ม ครูสุเชาว์ หริมพานิช กรับ ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ฆ้องวงใหญ่ ครูสุรินทร์ สงค์ทอง โหม่ง ครูดิเรก กล้าหาญ ฆ้องวงใหญ่ ครูลำ�ยอง โสวัตร นักร้อง ครูสมชาย ทับพร ฆ้องวงเล็ก ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน ฆ้องวงเล็ก ครูไกรฤทธิ์ กันเรือง ระนาดเอกเหล็ก ครูถมยา ทับสี ระนาดทุ้มเหล็ก ครูชลอ ใจชื้น ตะโพน/กลองแขก ครูยงยุทธ ปลื้มปรีชา กลองทัด/กลองแขก ครูอนันต์ ดุริยพันธุ์ เครื่องหนัง ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ซอสามสาย ครูเชวงศักดิ์ โพธิ์สมบัติ ซอด้วง ครูโกวิทย์ ขันธศิริ ซอด้วง ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด ซออู้ ครูอรวรรณ บรรจงศิลป ซออู้ ครูจีรพล เพชรสม จะเข้ ครูอาทร ธนวัฒน์ จะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน ฉิ่ง ครูพัฒนี พร้อมสมบัติ ฉาบ ครูดนตรี ตราโมท โหม่ง ครูเลี่ยมลักษณ์ สังจุ้ย กรับ ครูดิเรก กล้าหาญ นักร้อง ครูทัศนีย์ ขุนทอง นักร้อง ครูวัฒนา โกศินานนท์ 34 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวโุ สแหง่ รตั นโกสนิ ทร์
รายการแสดงที่ ๕ รายการแสดงที่ ๖ การบรรเลงดนตรีไทย เพลงบุหลันลอยเลื่อน การบรรเลงดนตรีไทย เพลงญวนทอดแห วงมโหรี เครื่องคู่ วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสาย โดยครูดนตรีอาวุโสชายและหญิง โดยครูดนตรีอาวุโสชายและหญิง ขลุ่ยเพียงออ ครูปี๊บ คงลายทอง ขลุ่ยเพียงออ ครูไสยาสน์ แย้มสุวรรณ ขลุ่ยหลิบ ครูสุวัฒน์ อรรถกฤษณ์ ระนาดเอกมโหรี ครูไชยยะ ทางมีศรี ขลุ่ยหลิบ ครูสุวัฒน์ อรรถกฤษณ์ ระนาดทุ้มมโหรี ครูสมพงษ์ ภู่สร ฆ้องกลาง ครูลำ�ยอง โสวัตร ซอด้วง ครูโกวิทย์ ขันธศิริ ฆ้องเล็ก ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน รำ�มะนามโหรี/กลองแขก ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ซอด้วง ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด โทนมโหรี/กลองแขก ครูไกรฤทธิ์ กันเรือง ซอสามสาย ครูเชวงศักดิ์ โพธิ์สมบัติ ซออู้ ครูอรวรรณ บรรจงศิลป ซอด้วง ครูโกวิทย์ ขันธศิริ ซอด้วง ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด ซออู้ ครูจีรพล เพชรสม ซออู้ ครูอรวรรณ บรรจงศิลป ซออู้ ครูจีรพล เพชรสม จะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน จะเข้ ครูปกรณ์ รอดช้างเผื่อน จะเข้ ครูอาทร ธนวัฒน์ จะเข้ ครูอาทร ธนวัฒน์ ฉิ่ง ครูดิเรก กล้าหาญ ฉาบ ครูสุเชาว์ หริมพานิช ระนาดเอก ครูกิตติ เกตรา กรับ ครูสวิต ทับทิมศรี โหม่ง ครูถมยา ทับสี ระนาดทุ้ม ครูสุเชาว์ หริมพานิช นักร้อง ครูทัศนีย์ ขุนทอง นักร้อง ครูวัฒนา โกศินานนท์ ฆ้องวงใหญ่ ครูสุรินทร์ สงค์ทอง นักร้อง ครูอุษา แสงไพโรจน์ นักร้อง ครูเลี่ยมลักษณ์ สังจุ้ย ฆ้องวงเล็ก ครูศักดิ์ชัย ลัดดาอ่อน ระนาดเอกเหล็ก ครูสมชัย ชำ�พาลี ระนาดทุ้มเหล็ก ครูสวิส ทับทิมศรี กลองแขก ครูยงยุทธ ปลื้มปรีชา กลองแขก ครูอนันต์ ดุริยพันธุ์ กลองจีน ครูไกรฤทธิ์ กันเรือง กลองต๊อก ครูสหวัฒน์ ปลื้มปรีชา ม้าล่อ ครูไชยยะ ทางมีศรี แต๋ว ครูสมพงษ์ ภู่สร ฉิ่ง ครูพัฒนี พร้อมสมบัติ ฉาบ ครูดนตรี ตราโมท กรับ ครูถมยา ทับสี โหม่ง ครูเลี่ยมลักษณ์ สังจุ้ย นักร้อง ครูนฤพนธ์ ดุริยพันธุ์ นักร้อง ครูสมชาย ทับพร นักร้อง ครูสมาน แก้วละเอียด นักร้อง ครูดิเรก กล้าหาญ การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวุโสแหง่ รัตนโกสินทร์ 35
รายการแสดงที่ ๗ รายการแสดงที่ ๘ การบรรเลงดนตรีไทย เพลงแขกอาหวัง วงดนตรีไทยบ้านปลายเนิน วงปี่พาทย์ ไม้นวมเครื่องใหญ่ เพลงแสงหนึ่งคือรุ้งงาม โดยวงลูกศิษย์ครูอาวุโส ซอด้วง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ขลุ่ยเพียงออ ครูสิงหล สังจุ้ย กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ขลุ่ยหลิบ ครูพลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง ระนาดเอก หม่อมราชวงศ์จักรรถ จิตรพงศ์ ระนาดเอก ครูสิริชัยชาญ ฟักจำ�รูญ ซออู้ ครูสุริยะ ชิตท้วม ระนาดทุ้ม ครูไชยยะ ทางมีศรี ระนาดทุ้ม ครูธัญทิพ คงลายทอง ระนาดเอก ครูชัยชนะ เต๊ะอ้วน ฆ้องวงใหญ่ ครูลำ�ยอง โสวัตร ฆ้องวงใหญ่ ครูเอนก อาจมังกร ระนาดทุ้ม ครูกิตติ อัตถาผล ฆ้องวงเล็ก ครูวรศิลป์ สังจุ้ย ระนาดเอกเหล็ก หม่อมหลวงตรีจักร จิตรพงศ์ ฆ้องวงใหญ่ ครูพิทักษ์ จรรย์นาฏย์ ระนาดทุ้มเหล็ก ครูไพบูลย์ คล้ายมุข ขลุ่ย ครูปี๊บ คงลายทอง ฆ้องวงเล็ก ครูรังสรรค์ บัวทอง ขลุ่ย ครูจุฑามาศ ปอประสิทธิ์ ซอสามสาย ครูนพวรรณ พาทยโกศล ระนาดเอกเหล็ก ครูเกรียงไกร อ่อนสำ�อางค์ ซออู้ ครูวีระศักดิ์ กลั่นรอด จะเข้ ครูพัทธราภรณ์ จารุกลัส ระนาดทุ้มเหล็ก ครูบำ�รุง พาทยกุล กลอง ครูอนุชา บริพันธ์ กลอง ครูปิยะ แสวงทรัพย์ ตะโพน/กลองแขก ครูสมพงษ์ พงษ์พรหม กลอง ครูประยงค์ ทองคำ� ฉิ่ง ครูดนตรี ตราโมท กลองทัด/กลองแขก ครูภิรมย์ ใจชื่น นักร้อง ครูอุษา แสงไพโรจน์ นักร้อง ครูสุกัญญา กุลวราภรณ์ กลอง Tabla ครูธรรณ์ธรรศ ดุริยาภิรมย์ นักร้อง ครูสุชาดา โสวัตร นักร้อง ครูดุษฎึ สว่างวิบูลย์พงศ์ เครื่องกำ�กับจังหวะ ครูสุวรรณ กลั่นรอด นักร้อง ครูนพคุณ สุดประเสริฐ หีบเพลง (แอคคอร์เดียน) ครูชูวิทย์ ยุระยง ฉิ่ง ครูพันธ์ศักดิ์ เอี่ยมจรูญ ไวโอลิน ครูณัฐพร ผกาหลง ฉาบ ครูรัตนชัย เตียวิเศษ กรับ ครูศุภฤกษ์ กลิ่นสุคนธ์ โหม่ง ครูศาสตรา เลาสูงเนิน นักร้อง ครูนพคุณ สุดประเสริฐ นักร้อง ครูแสงจันทร์ อรรถกฤษณ์ นักร้อง ครูอิสรพงศ์ ดอกยอ นักร้อง ครูดวงดาว เถาว์หิรัญ นักร้อง ครูดนัย น้อยชื่น ผู้แสดงประกอบเพลงแขกอาหวังออกแขกยิงนก ครูอาภัสรา นกออก ครูสุพัตรา แสงคำ�พันธุ์ ครูอนุชา สุมามาลย์ ครูเอก อรุณพันธ์ 36 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสนิ ทร์
ประวัติครูดนตรีไทย การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 37
ครูทศั นยี ์ ขนุ ทอง Khru Thatsani Khunthong ศิลปนิ แห่งชาติ สาชาศลิ ปะการแสดง (ดนตรีไทย – คีตศลิ ป์) พทุ ธศักราช ๒๕๕๕ เกิดวนั ท่ี ๑๒ กนั ยายน พทุ ธศักราช ๒๔๘๒ ที่กรุงเทพมหานคร “อย่าลืมวา่ ดนตรีไทยเพลงไทย เปน็ ของคนไทยแท้” ประวตั กิ ารศกึ ษาดนตรีไทย ได้รับการศึกษาที่วิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร จบปริญญาตรีครุศาสตร์บัณฑิต สาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม และปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิตใบที่ ๒ สาขาดุริยางค์และคีตศิลป์ไทยศึกษา จากมหาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ได้ศกึ ษาการขับร้องเพลงไทยอย่างจรงิ จงั กับครทู ้วม ประสทิ ธกิ ลุ จนนับเปน็ ศษิ ย์เอกคนหนึง่ ของครูท้วมและศกึ ษา กลวธิ กี ารขบั รอ้ งตา่ ง ๆ เพมิ่ เตมิ จากครดู นตรสี �ำ คญั หลายทา่ น เชน่ ครมู นตรี ตราโมท, ครอู ษุ า สคุ นั ธมาลยั , ครศู รนี าฏ เสรมิ ศริ ,ิ นางมหาเทพกษัตริย์สมุห (บรรเลง สาคริก), คุณหญิงชิ้น ศิลปบรรเลง, ครูประเวช กุมุท, ครูแช่มช้อย ดุริยพันธ์ุ, ครูเจรญิ ใจ สนุ ทรวาทนิ , ครจู ิรสั อาจณรงค์และครศู ิริ วชิ เวช เปน็ ตน้ ประวตั ิการทำ�งาน เรมิ่ ตน้ ท�ำ งานเปน็ นกั รอ้ งโดยไดร้ บั การบรรจเุ ปน็ ศลิ ปนิ ส�ำ รองของกรมศลิ ปากรตงั้ แตอ่ ายุ ๑๔ ปี เรอื่ ยมาจนสอบเขา้ บรรจุ ในต�ำ แหนง่ ครชู น้ั ตรแี ละประจ�ำ อยทู่ ว่ี ทิ ยาลยั นาฏศลิ ปจนเกษยี ณอายรุ าชการ นอกจากนี้ ยงั ไดร้ บั เชญิ เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญพเิ ศษให้ กบั สถาบนั การศกึ ษาอกี หลายแหง่ ถา่ ยทอดความรแู้ ละสรา้ งนกั รอ้ งเพลงไทยรนุ่ ใหมข่ น้ึ มามากมาย รว่ มกบั กรมศลิ ปากรในการ เดนิ ทางไปเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ เขยี นตำ�ราวชิ าการ เชน่ เรื่องเสภา หุ่นกระบอก เพลงกล่อมเดก็ และ หลักการขบั รอ้ งเพลงไทย เปน็ ตน้ มีผลงานการบันทกึ เสยี งเพลงไทย จำ�นวนร้อย ๆ ช้นิ ตั้งแต่ยคุ แผ่นเสียงลองเพลยม์ าจนถึง แถบบนั ทกึ เสยี งและซดี ี งานบนั ทกึ เดน่ ๆ เชน่ แผน่ เสยี งกรมศลิ ปากร แผน่ เสยี งหา้ ง ต.เงก็ ชวน แถบบนั ทกึ เสยี งประสทิ ธ ิ์ ถาวร บันทึกเพลงระบ�ำ ทกุ เพลงของครมู นตรี ตราโมท งานบนั ทึกวีดิทศั นข์ องกรมศลิ ปากร เกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทยของทบวง มหาวทิ ยาลยั นอกจากงานในดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาดา้ นคตี ศลิ ปแ์ ลว้ ยงั ไดค้ ดิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานไวห้ ลายชน้ิ เชน่ บทประพนั ธ์ บทรอ้ ง และทำ�นองทางรอ้ งเพลงโยสลัม เถา ทางรอ้ งเพลงต๊กุ ตา เถา ทางร้องเพลงระบ�ำ ชุดไทยพระราชนยิ ม เพลงชดุ วนั สงกรานต์เปน็ ผบู้ รรจเุ พลงและอ�ำ นวยการฝกึ ซอ้ มการขบั รอ้ งประกอบการแสดงโขนพระราชทานสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เปน็ ผคู้ ดิ ใหม้ กี ารรอ้ งตน้ บทลกู คชู่ ายเปน็ ครงั้ แรกในประวตั ศิ าสตรค์ ตี ศลิ ปไ์ ทย ได้ฟ้ืนฟูเพลงขับร้องโบราณต่าง ๆ ที่กำ�ลังจะสูญหายให้มีบทบาทในการขับร้องข้ึนอีกครั้ง เช่น เพลงโคมเวียนเทียน ทางหม่อมมาลัย ต้นตำ�รับวังสวนกุหลาบ เพลงเขาวง ลมหวน ทุกขตะ ฝร่ังแดง ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติเป็นผู้มี ผลงานดเี ดน่ ทางดา้ นภาษาไทยจากกรมสามญั ศกึ ษา ไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ ศลิ ปนิ คกึ ฤทธิ์ ปราโมช จากความรคู้ วามสามารถและ ประสบการณ์ท่ีหลากหลาย ได้เป็นท่ีประจักษใ์ นวงการคีตศลิ ปไ์ ทย ดนตรไี ทย และนาฏศิลป์ไทย ประกอบกับการสรา้ งสรรค์ ผลงานอยู่เป็นเนืองนิตย์ภายใต้รากฐานทางวัฒนธรรมของไทย ท้ังเป็นผู้ท่ีเพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม อุทิศตน เพ่อื ประโยชนท์ างการศกึ ษา และสงั คมอย่างสม่ําเสมอเปน็ เวลามากกวา่ ๖๐ ปี 38 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์
ครูดนตรี ตราโมท Khru Dontri Tramod เกิดวนั ท่ี ๑๘ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๔๘๓ เป็นบตุ รีของ ครูมนตรี ตราโมท (ศลิ ปินแห่งชาต)ิ ผู้เชย่ี วชาญด้านดนตรีไทยแห่งรัตนโกสนิ ทร์ (กรมศลิ ปากร) มารดาคอื นางพนู ทรัพย์ ตราโมท “ซือ่ สตั ย์ในหนา้ ท่ีการงาน” ประวตั กิ ารศกึ ษาดนตรีไทย เริ่มศึกษาด้านศิลปะการดนตรีกับผู้เป็นบิดา และครูละเมียด จิตตเสวี การขับร้องด้านนาฏศิลป์และการละคร กบั มารดา นอกจากน้ี ทา่ นมโี อกาสศึกษาโดยตรงกบั ครลู มุล ยมะคปุ ต์ และครูจ�ำ เรยี ง พธุ ประดับ ประวตั ิการทำ�งาน ทำ�งานครงั้ แรกเรม่ิ ท่ีบริษัท ปนู ซิเมนต์ไทย จำ�กดั จากนนั้ เข้ารับราชการแผนกดรุ ยิ างค์สากล กรมศลิ ปากร ในต�ำ แหนง่ คีตศิลปนิ ปฏิบตั หิ น้าท่ีขบั ร้องเพลงไทยประสานเสยี ง เพลงไทยสากล เพลงพระราชนิพนธ์ และท�ำ การฝกึ สอนขบั รอ้ งเพลง ไทยให้แก่นักศึกษาและศิลปินรุ่นน้อง เป็นกรรมการและเลขานุการจัดการแสดงคอนเสิร์ตสายใจไทยและสังคีตสายใจไทย และเป็นกรรมการมูลนิธิมนตรี ตราโมท ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เกษยี ณอายุราชการในตำ�แหน่ง คีตศิลปิน ระดับ ๗ เมอ่ื พทุ ธศักราช ๒๕๔๓ ปจั จุบันเป็นนกั รอ้ งประจ�ำ วงดนตรีไทยบ้านปลายเนนิ การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสินทร์ 39
ครูวัฒนา โกศนิ านนท์ Khru Wattana Gosinanoon เกดิ วนั ท่ี ๑๙ กันยายน พทุ ธศักราช ๒๔๘๓ เปน็ ผ้มู ีอปุ นิสัยรักการร้องเพลงตั้งแต่เยาวว์ ยั “ความกตัญญู รคู้ ณุ เปน็ เครอ่ื งหมายแหง่ กรรมดี ทง้ั มวล” ประวัติการศึกษาดนตรีไทย เขา้ เรยี นทโ่ี รงเรยี นนาฏศลิ ป (ขณะนนั้ ) ในชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ขณะอายเุ พยี ง ๙ ปี ตอ่ ดว้ ยนาฏศลิ ปช์ น้ั ตน้ ปที ่ี ๑-๖ นาฏศิลป์ช้ันกลางปีที่ ๑-๓ และนาฏศิลป์ชั้นสูงปีท่ี ๑-๒ ซ่ึงเป็นชั้นเรียนท่ีสูงสุดในเวลานั้น รวมระยะเวลาที่เรียน ๑๒ ปี เรยี นอยู่ในสาขาคตี ศิลป์ไทย ซ่งึ มีครทู ว้ ม ประสทิ ธกิ ลุ เป็นผถู้ า่ ยทอดมาโดยตลอด ประวัตกิ ารทำ�งาน สอบเข้ารับราชการเป็นครูสอนคีตศิลป์ไทย ในตำ�แหน่งครูจัตวา ช่วงนั้น ครูศรีนาฏ เสริมศิริ ได้เกษียณอายุราชการ จากกองการสงั คตี (ขณะนนั้ ) และไดร้ บั เชญิ ใหเ้ ขา้ มาสอนในโรงเรยี นนาฏศลิ ป จงึ เปน็ โอกาสทไี่ ดร้ บั ความกรณุ าถา่ ยทอดเพลง เพิ่มเติมให้กับครูวัฒนา โกศินานนท์ และได้ดำ�เนินการสอนคีตศิลป์ไทยทั้งภาคทฤษฏีและปฏิบัติในโรงเรียนนาฏศิลปเป็น เวลา ๑๕ ปี พุทธศกั ราช ๒๕๑๙ ไดย้ ้ายติดตามสามไี ปราชการ สอนคีตศิลปไทยท่โี รงเรียนนาฏศลิ ปเชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่ ในต�ำ แหนง่ ครโู ท พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำ นวยการ มหี นา้ ทด่ี แู ลในดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม และการปกครอง พุทธศักราช ๒๕๓๐ ได้เลื่อนตำ�แหน่งข้ึนเป็นผู้อำ�นวยการ บริหารการเรียนการสอน และสืบสานศิลป วฒั นธรรมพน้ื เมอื ง พรอ้ มทง้ั อนรุ กั ษศ์ ลิ ปะการแสดงของภาคกลางควบคกู่ นั ไป สอนและบรหิ ารอยทู่ ว่ี ทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชยี งใหม่ เป็นเวลา ๑๓ ปี พุทธศักราช ๒๕๓๒ ย้ายมาเป็นผู้อำ�นวยการวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ระดับ ๙ จนเกษียณอายุราชการ พุทธศักราช ๒๕๔๓ รวมเวลา ๑๑ ปี ได้รับเชิญจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ให้เป็นผู้เช่ียวชาญด้านคีตศิลป์ไทยถ่ายทอด การขับรอ้ งเพลงไทยใหแ้ ก่นกั ศึกษาระดับปริญญาตรแี ละโท จนถงึ ปัจจบุ นั 40 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสินทร์
ครอู ุษา แสงไพโรจน์ Khru Usa Saengphairot เกดิ วนั ท่ี ๑๕ มีนาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๖ เป็นบตุ รของ ครยู รรยง และนางสะอาด โปร่งนํ้าใจ สมรสกบั นายวลั ลภ แสงไพโรจน์ มบี ตุ ร ๓ คน “หม่ันศกึ ษาหาความรู้ ทางการร้องเพลง” ประวัตกิ ารศกึ ษาดนตรีไทย เขา้ รบั การศกึ ษาทโี่ รงเรยี นสตรวี ทิ ยา ไดร้ บั ความรดู้ า้ นดนตรไี ทยจากผเู้ ปน็ บดิ าและมารดา (ลกู ศษิ ยจ์ างวางทว่ั พาทยโกศล) ได้รับการถ่ายทอดการขับรอ้ งเพลงไทยโดยตรงจากมารดา ซงึ่ ไดต้ ่อทางร้องให้ต้ังแตต่ อนเลก็ ๆ เพลงทไ่ี ด้เรียนร้ตู อนแรก ๆ เช่น เพลงแขกมอญบางขุนพรหม (เถา) เพลงแขกสาย (เถา) เป็นต้น ครูอุษาจึงซึมซับและมีความเข้าใจในหลักวิชาคีตศิลป์ อย่างถอ่ งแท้ ตอ่ มามีโอกาสไดเ้ รียนรู้ การขบั รอ้ งเพลงไทยกับคณุ หญิงไพฑรู ย์ กติ ตวิ รรณ (ศิลปนิ แหง่ ชาติ) และตอ่ มาได้ร้องท่ี บ้านพาทยโกศล (บา้ นเครอ่ื ง) บางคร้งั ไปตอ่ ทางร้องที่วังบ้านหมอ้ วังปลายเนิน และวังสวนผกั กาดทง้ั เพลงประเภทเพลงเถา และเพลงละคร จนทำ�ให้เกิดความชำ�นาญเป็นอย่างมาก และได้เรียนเคร่ืองหนังและต่อตะโพนหน้าทับสรรเสริญพระบารมี กบั บดิ า ประวตั ิการท�ำ งาน ได้เริ่มทำ�งานครัง้ แรกในตำ�แหนง่ อาจารย์ ณ โรงเรียนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร เม่ือพุทธศักราช ๒๕๐๕ และเกษียณอายุราชการเม่ือพุทธศักราช ๒๕๔๖ ปัจจุบัน ครูอุษา แสงไพโรจน์ ยังคงช่วยอนุรักษ์ เผยแพร่ทางเพลงของบ้านพาทยโกศล (บ้านเครื่อง) อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ และทำ�หน้าท่ีเป็นวิทยากรและ อาจารย์พิเศษให้กับสถาบันต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นครูพิเศษถวายงานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ณ บ้านปลายเนิน (วงั คลองเตย) และยังคงถ่ายทอดร้องดกึ ด�ำ บรรพ์ ให้กบั สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป์ ปจั จบุ นั เป็นครผู ้เู ชี่ยวชาญกลมุ่ การเรยี นร้ศู ลิ ปะ โรงเรียนราชินี การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวุโสแห่งรัตนโกสนิ ทร์ 41
“พัฒนางานดนตรีไทยให้ดีทีส่ ุด” ครูอรวรรณ บรรจงศลิ ป Khru Orawan Banchongsin ครูอรวรรณ บรรจงศลิ ป เกิดวันท่ี ๒๖ กนั ยายน พุทธศกั ราช ๒๔๘๖ เป็นบตุ รีของ นายสมบุญและนางสมจิตต์ ขนั ธศริ ิ (สนุ ทรากลู ) มพี ีช่ ายคอื รองศาสตราจารย์ ดร.โกวทิ ย์ ขนั ธศิริ ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นดนตรีไทย จบปรญิ ญาโททาง Musicology จาก College of Music ,U.P. และปรญิ ญาโททางจติ วิทยาจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประวตั ิการศกึ ษาดนตรีไทย เรม่ิ เรยี นดนตรเี มื่ออายุ ๕ ขวบ คู่กับพช่ี าย โดยเรยี นกบั นายจ�ำ นงราชกิจ (จรัล บณุ ยรัตพันธุ์) หลวงไพเราะเสยี งซอ (อ่นุ ดูรยะชวี ิน) คณุ หญงิ ไพฑรู ย ์ กติ ติวรรณ ครแู สวง อภยั วงศ์ ครูสมพงษ์ (ศิษยค์ รูพุฒิ นันทพล) ครูชอ่ สนุ ทรวาทนิ ครูชิน หงส์รัตน์ และครูอาจารยอ์ กี หลายท่าน ได้รับรางวัลชนะเลศิ ประกวดเดย่ี วขมิ เมื่ออายุ ๙ ขวบ ณ สถานวี ิทยุ ท.ท.ท. ตำ�แหนง่ ศิลปนิ นอ้ ย ตอ่ มาได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ ประกวดเดย่ี วซอด้วง ณ สถานีโทรทศั นช์ อ่ ง ๔ วังบางขนุ พรหม ประวตั ิการทำ�งาน อดีตเคยเป็นอาจารย์ดนตรี โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำ�คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรงุ เทพธนบรุ ี ไดร้ ว่ มแสดงดนตรคี กู่ บั พช่ี ายทงั้ รายการวทิ ยแุ ละโทรทศั น์ และงานตา่ ง ๆ นอกจากนน้ั ยงั ไดร้ บั เชญิ ใหไ้ ปแสดง ดนตรไี ทยเผยแพรว่ ฒั นธรรม ณ ประเทศในทวปี ยโุ รป ไดแ้ ก่ สวติ เซอรแ์ ลนด์ สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี สาธารณรฐั ออสเตรยี สาธารณรัฐอิตาลี และประเทศในทวีปเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐประชาชนจนี ปัจจุบันเป็นคณะบรรณาธิการหนังสือสารานุกรมดนตรีไทย ราชบัณฑิตยสถาน เป็นกรรมการหนังสือดนตรีของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ กรรมการตดั สนิ ดนตรไี ทย และเปน็ นายกสมาคมครดู นตรี (ประเทศไทย) มผี ลงานการเขยี นหนงั สอื และงานวจิ ัยต่าง ๆ 42 การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรตั นโกสนิ ทร์
ครูพฒั นี พรอ้ มสมบตั ิ Khru Phatthani Phromsombat เกดิ วนั ที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๘๗ ทจ่ี งั หวดั ฉะเชิงเทรา เปน็ บุตรีของนายพจน์ และนางยิ่งฮุน้ พรอ้ มสมบตั ิ “ความกตัญญู รู้คุณ เปน็ เครอื่ งหมายแห่งกรรมดีท้งั มวล” ประวัติการศกึ ษาดนตรีไทย ในวยั เยาวข์ ณะศกึ ษาอยใู่ นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ทโี่ รงเรยี นสตรมี หาพฤฒาราม ไดเ้ รมิ่ เรยี นขบั รอ้ งเพลงไทย กับครูดารา นาวีเสถียร จากนัน้ ได้เข้าเรียนทโ่ี รงเรยี นนาฏศิลป์ช้นั ตน้ ปีท่ี ๔ ถงึ นาฏศลิ ป์ช้ันสงู ปีท่ี ๒ เรยี นร้องกบั ครูท้วม ประสทิ ธิกลุ ครจู ้มิ ลิม้ กลุ ตัณฑ์ คณุ หญงิ ชน้ิ ศลิ ปบรรเลง ครูจันทนา พจิ ิตรครุ กุ าร เมอ่ื จบการศกึ ษา ครูพฒั นี พร้อมสมบตั ิ ได้ทำ�งานเป็นคีตศิลป์ไทย แผนกดุริยางค์ และได้เรียนต่อเพลงโขน-ละคร และเพลงต่าง ๆ กับครูแช่มช้อย ดุริยพันธุ์ ครศู รนี าฏเสรมิ ศริ ิและครสู ดุ าเขยี ววจิ ติ รตอ่ มาไดต้ อ่ เพลงกบั ครปู ระชดิ ข�ำ ประเสรฐิ จนมคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นคตี ศลิ ปไ์ ทย อยา่ งลกึ ซึ้ง ประวัติการท�ำ งาน ผลงานดา้ นคตี ศลิ ปข์ องครพู ฒั นี พรอ้ มสมบตั ิ มอี ยา่ งมากมายในฐานะผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นวชิ าการละครและดนตรี สำ�นักการสังคีต กรมศิลปากร ในขณะเดียวกันได้ปฏิบัติงานในฐานะอาจารย์พิเศษ และวิทยากรบรรยายด้านดนตรีไทย ในหน่วยงานและสถาบันการศึกษาต่างๆ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาดนตรีไทยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา เมื่อพทุ ธศักราช ๒๕๕๒ ปัจจุบนั เป็นทปี่ รึกษาและอาจารยพ์ เิ ศษสอนวชิ าขับร้องเพลงไทย (คตี ศิลปไ์ ทย) มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา การแสดงดนตรไี ทย โดย ครูอาวโุ สแห่งรัตนโกสนิ ทร์ 43
ครถู มยา ทับสี Khru Thomya Thapsi เกดิ วันที่ ๑๐ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๙ เปน็ บตุ รขี องนายอรุณ ทบั สี และนางสายหยุด ทับสี “ ตรงเวลา รหู้ น้าที่ คือสมบัติทด่ี ีของผ้มู ีใจรักดนตร”ี ประวตั กิ ารศึกษาดนตรีไทย ไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นทางดา้ นดนตรไี ทยจากครสู ายหยดุ ทบั ส ี ซงึ่ เปน็ มารดา ตง้ั แตอ่ ายปุ ระมาณ ๑๒ ปี ตอ่ มาครถู มยา ทบั สี ได้เดินทางไปฝากตวั กับครูกาหลง พึง่ ทองค�ำ ตามคำ�แนะน�ำ ของครปู ระยรู ทศั นา (นา้ ชาย) ทจี่ งั หวัดนนทบุรี อกี ทง้ั ยังมี โอกาสเรยี นขบั รอ้ งกบั ครเู ชอื้ นกั รอ้ ง (ครดู นตรแี หง่ กองดรุ ยิ างคต์ �ำ รวจ) ท�ำ ใหค้ รถู มยา ทบั สี มคี วามรคู้ วามสามารถเพม่ิ พนู ข้ึน มีความชำ�นาญในการบรรเลงระนาดเป็นอย่างมาก โดยได้รับการถ่ายทอดเทคนิคการตีระนาด จากครูเล็ก เกตรา รวมถึงทางเพลงต่าง ๆ จนกระท่ังฝีไม้ลายมือถึงขั้นเพลงเด่ียว ครูถมยา ทับสี ได้ต่อเด่ียวระนาดเอก เพลงทะแย ๓ ช้ัน โดยเป็นวงผู้หญิงท้ังวง โดยมีครูกาหลง พึ่งทองคำ� เป็นผู้ถ่ายทอดให้ เพ่ือนำ�ไปใช้ในการแสดงดนตรีไทยพรรณนา ครงั้ ที่ ๒ ณ โรงละครแหง่ ชาติ บรรเลงถวายหนา้ พระทน่ี งั่ แดส่ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร ี นับเปน็ ความภาคภูมิใจและเปน็ เกยี รติประวัติอันสงู ย่งิ - ได้รับเชิญจากอาจารย์เสรี หวังในธรรม (ศิลปินแห่งชาติ) ให้เข้าร่วมบรรเลงดนตรีไทย ในรายการดนตรีไทย พรรณนา คร้งั ที่ ๒ - เขา้ รว่ มบรรเลงดนตรไี ทยประกอบการแสดงละคร เรอ่ื งอเิ หนา ตอนยา่ หรนั ตามนกยงู ณ โรงละครแหง่ ชาติ และ รวมบรรเลงในงานประจำ�ปพี ระต�ำ หนักของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ เฉลมิ พลฑฆิ ัมพร - ไดร้ บั เชญิ จาก นพ.สุพจน์ อ่างแกว้ รว่ มบรรเลงปี่พาทยไ์ มแ้ ข็ง - ไดร้ บั เชิญจาก ครูสดุ จิตต์ ดรุ ิยประณตี รว่ มการบรรเลงปีพ่ าทยไ์ มแ้ ขง็ ประวัตกิ ารท�ำ งาน - รบั ตำ�แหน่งครดู นตรีไทยอาวุโสประจ�ำ มูลนิธพิ ระราชนเิ วศน์มฤคทายวนั ในพระอุปถมั ภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจา้ ฟา้ เพชรรัตนราชสุดา ฯ สิริโสภาพัณณวดี - รบั ต�ำ แหน่งครจู ้างพเิ ศษสอนดนตรไี ทย วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา จงั หวดั เพชรบุรี - รบั ต�ำ แหนง่ ครูจ้างพเิ ศษสอนดนตรไี ทย โรงเรยี นวงั ตะโก (ชอ้ งประชาพทิ กั ษ์) จังหวดั เพชรบุรี 44 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแห่งรตั นโกสินทร์
ครูเล่ยี มลักษณ์ สังจยุ้ Khru Liamlak Sangchui เกิดวนั ท่ี ๑๗ สงิ หาคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ เปน็ บตุ รคนโตของนายรอดและนางมะลิ อยูด่ ี มีพนี่ อ้ งร่วมบิดามารดา รวม ๕ คน เป็นชาวตำ�บลสามเรอื น อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี สมรสกับนายสิงหล สังจ้ยุ มีบุตร ๑ คน “มีความมงุ่ มั่น และภมู ิใจ อนรุ กั ษ์ไวซ้ ง่ึ ศลิ ปะการขับรอ้ งและดนตรีไทย” ประวัติการศึกษาดนตรีไทย ในข้ันแรกได้เร่ิมเรียนฆ้องวงใหญ่กับบิดา ต่อมาจึงได้รับการถ่ายทอดการขับร้อง จากบิดา คุณลุง (นายนวล อยู่ดี) ครูหยด เผอื กหอม ทีต่ ำ�บลท่ามะขาม อำ�เภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี และได้เรยี นเพลงแขกมอญ จากครูยนต์ ทีต่ ำ�บลตาก้อง อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม จากน้ันได้สอบคัดเลือกเข้ารับราชการที่กองดุริยางค์ทหารเรือ โดยได้ขับร้องเพลงแขกมอญ ดงั กลา่ วนน้ั หลงั จากไดเ้ ขา้ รบั ราชการทกี่ องดรุ ยิ างคท์ หารเรอื จงึ ไดม้ โี อกาสศกึ ษาการขบั รอ้ งกบั พ.จ.อ.หญงิ ฉววี รรณเปลยี่ นทนั ผล โดยการแนะนำ�ของ ร.ต. สุวิทย์ แก้วกระมล, จ.อ.กล้า นาคะมนัง, ร.อ.กิตติ เกตรา (เล็ก), ร.อ.แสวง วิเศษสุด, น.ท.อรณุ พาทยกลุ , คุณหญงิ ไพฑูรย์ กติ ติวรรณ และครูมัณฑนา อยู่ย่ังยืน ประวตั กิ ารทำ�งาน เร่ิมรับราชการในตำ�แหน่งนักร้อง หมวดดนตรีไทย แผนกดนตรี กองดุริยางค์ทหารเรืออัตราจ่าเอก เม่ือวันท่ี ๑ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๕ นอกจากการขับร้องกบั วงดนตรไี ทย หมวดดนตรไี ทย กองดรุ ิยางคท์ หารเรือ ในโอกาสสำ�คญั ต่าง ๆ แล้วยงั ได้ปฏบิ ัติหนา้ ทีร่ ว่ มกับวงดนตรีอ่ืน ๆ ดงั น้ี - ร่วมขับร้องกบั วงโยธวาทติ ในงานฉลองกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ณ ท้องสนามหลวง - บันทึกเสียง “ตับมโหรี” ตามพระกระแสรับส่งั สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั - บันทกึ เสยี ง ผลงานเพลงคณุ ครจู างวางทั่ว พาทยโกศล ร่วมกับวงโยธวาทติ ๔ เหล่าทัพ ตามพระกระแสรับส่งั สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสดิ าลยั - เปน็ ผคู้ วบคมุ วงเครอ่ื งสายผสมขมิ และขบั รอ้ ง ถวายสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เนอื่ งในวโรกาสเสดจ็ ฯ ไปทรงเย่ียมกำ�ลงั พล ณ ค่ายตากสนิ จ. จนั ทบุรี - เป็นคณะกรรมการตัดสินการขับร้องในการประกวดดนตรีไทย “ราชภัฏวัฒนธรรมสังคีต” เฉลิมพระเกียรติ “๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ” จัดโดย สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ - เป็นคณะกรรมการตัดสินการขับร้องเพลงไทยเดิมเน่ืองในวันภาษาไทยแห่งชาติ (โครงการเพชรในเพลง) พ.ศ. ๒๕๕๐ จดั โดย ส�ำ นกั วรรณกรรมและประวตั ศิ าสตร์ กรมศลิ ปากร กระทรวงวฒั นธรรม เกษยี ณอายรุ าชการ เมอ่ื พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ปัจจุบนั เป็นขา้ ราชการบ�ำ นาญ กองทัพเรือฐานทพั เรอื กรงุ เทพ การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวุโสแหง่ รตั นโกสนิ ทร์ 45
ครสู รุ ินทร์ สงคท์ อง Khru Surin Songthong ครสู รุ ินทร์ สงคท์ อง เกดิ วนั ที่ ๑๗ มถิ นุ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๒ เขตธนบุรี ที่กรงุ เทพมหานคร เป็นบุตร คนท่ี ๑ ในจำ�นวนพนี่ ้อง ๘ คน ของนายเรือน และ นางผาด สงคท์ อง “ ความรักและความขยนั หมัน่ เพยี รในการศกึ ษาดนตรีไทยเฉพาะฆ้องวงใหญต่ ลอดชวั่ ชีวิต” ประวตั กิ ารศึกษาดนตรีไทย เร่มิ หดั เรียนดนตรตี ั้งแตอ่ าย ุ ๘ ขวบ ที่บา้ นครแู มน้ นาควจิ ิตร เครอ่ื งดนตรชี ้นิ แรกท่ีบรรเลงจนสามารถออกแสดง ตามงานต่าง ๆ ได้ คอื ฆอ้ งวงใหญ่ ประวัติการท�ำ งาน ศึกษาวิชาการทางดนตรีเพิ่มเติมกับครูเพลง เช่น ครูสมาน ทองสุโชติ ครูบุญยงค์ เกตุคง ครูจำ�เนียร ศรีไทยพันธ์ุ ที่กรมประชาสัมพันธ์ และได้จับมือต่อเพลงองค์พระพิราพ จากครูเผือด นักระนาด อันเป็นเพลงหน้าพาทย์ช้ันสูงท่ีบ้าน คุณเชาวลิต กนั ตะรัตน์ จนมคี วามช�ำ นาญเป็นท่ยี อมรับกนั ในเรอื่ งการบรรเลงฆ้องวงใหญ่และความรู้ในเรื่องเพลง ครูสุรนิ ทร์ สงค์ทอง ได้รับเกียรติจากหลายสถาบัน อาทิ กรมศิลปากรให้เข้าร่วมบรรเลงวงปี่พาทย์ไม้แข็งเครื่องใหญ่ในฐานะนักดนตรี อาวุโส เพลง“โหมโรงเย็น” ในงานถวายราชสักการะน้อมรำ�ลึกพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พุทธศกั ราช ๒๕๔๕ และเพลง “โหมโรงกลางวนั ” ในงาน “การบรรเลงป่ีพาทยเ์ สภาวังหนา้ ” เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๕๔๖ ได้รับเชิญจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เข้าร่วมโครงการ “วงดุริยางค์เยาวชนไทยแห่งชาติ” พุทธศักราช ๒๕๔๒ สถาบันนาฏดุริยางคศิลป์เชิญเป็นผู้บอกทางเพลงโหมโรงกลางวันอีกด้วย ปัจจุบัน เป็นครูพิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฏ บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ - ปจั จบุ นั และครพู เิ ศษดรุ ยิ างคศลิ ปม์ หาวทิ ยาลยั มหดิ ล พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ - ปจั จบุ นั 46 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแห่งรตั นโกสินทร์
ครศู ริ ิ วิชเวช Khru Siri Witchawet ศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (คีตศลิ ป์) พุทธศักราช ๒๕๕๑ เกดิ เมื่อวันที่ ๑ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ ที่กรงุ เทพมหานคร เปน็ บุตรของนายฟงุ้ และนางโป๋ วชิ เวช “ทำ�เพ่ือสง่ เสรมิ ดนตรีไทย ท�ำ เพราะรกั ในดนตรีไทย” ประวัตกิ ารศึกษาดนตรีไทย เริ่มเรียนดนตรีไทยทั้งทางร้องและทางเครื่องกับบิดา จนสามารถร้องเพลงและบรรเลงเพลงได้เป็นอย่างดี เช่น เพลงตับพรหมมาศ ตับนางลอย และเพลงอื่น ๆ อีกหลายเพลงทางเครื่อง เรียนทั้งปี่พาทย์และเครื่องสาย ต่อมาได้เรียน ขับร้องและขับเสภากับครูเหนี่ยว ดุริยพันธุ์ ท่ีบ้านบางลำ�พู เรียนขยับกรับ ขับเสภาและการแสดงเสภารำ�และเสภาตลก จนกระท้ังได้รับมอบกรับคู่มือของหม่ืนขับคำ�หวาน (เจิม นาคมาลัย) จากครูเจือ นาคมาลัย หลานลุงของหม่ืนขับคำ�หวาน เรียนเคร่ืองสายเพ่ิมเติมจากครูลาภ มณีลดา และเรียนทางร้องเพลงทยอยเด่ียวสายท่านครูหลวงประดิษฐ ไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) กบั ครจู ันทนา พจิ ติ รคุรุการ ประวตั กิ ารท�ำ งาน เริ่มรับราชการที่การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นอาจารย์พิเศษสอนขับร้องและดนตรีไทย ให้กับสถาบัน การศึกษาต่าง ๆ และเป็นอาจารย์พิเศษสอนวิชาขยับกรับขับเสภา ตามพระราชดำ�ริในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นท่ีปรึกษา ชมรมดนตรไี ทยทโ่ี รงพยาบาลสงฆ์ และไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ผเู้ ชยี่ วชาญดรุ ยิ างคไ์ ทย (การขยบั กรบั ขบั เสภา) เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ เปน็ ทป่ี รกึ ษาชมรมดนตรไี ทยทโ่ี รงพยาบาลสงฆ์ ปจั จบุ นั ครศู ริ ิ วชิ เวช ท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ผเู้ ผยแพรก่ ารขบั เสภา และเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษ เป็นวิทยากรขับร้องเพลงไทยให้กับสถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวโุ สแห่งรัตนโกสินทร์ 47
ครูชลอ ใจช้ืน Khru Chalo Chaichuen เกิดวนั ที่ ๓ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๘ ท่ีจงั หวัดสพุ รรณบุรี เปน็ บตุ รของนายผลกบั นางลมิ้ ใจช้ืน สมรสกบั นางมาลี ใจชื้น มบี ตุ ร ๓ คน ที่สามารถบรรเลงดนตรีไทย ไดเ้ ปน็ อย่างดี สบื ทอดจากผเู้ ป็นบดิ า “ขยันฝึกซ้อมเตรียมพรอ้ มทีจ่ ะค้นคว้าหาวิชา” ประวตั กิ ารศกึ ษาดนตรีไทย ครูชลอ ใจช้ืน สนใจเรียนดนตรีไทยตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ เม่ือถึงวัยเหมาะสมจึงต่อฆ้องวงใหญ่ในเพลงสาธุการเป็น เพลงแรกกับครูพิณ วงษ์เผือก เม่ือเข้ามาที่กรุงเทพมหานครได้มีโอกาสเล่าเรียนดนตรีไทยท่ีบ้าน “ดุริยประณีต” โดยมีครูศุข ดุริยประณีต เป็นเจ้าของคณะปี่พาทย์วงใหญ่ นับได้ว่าเป็นโอกาสและโชคดีอย่างมากของครูชะลอ ท่ีภายใน บ้านดุริยประณีตมีครูหลายท่านได้ถ่ายทอดทางดนตรีไทย (ด้านป่ีพาทย์) ซึ่งครูชลอ กล่าวทิ้งท้ายด้วยความภาคภูมิใจไว้ว่า “บ้านบางล�ำ พูเป็นครูผมท้งั หมด” ประวัตกิ ารทำ�งาน ได้เข้ารบั ราชการเม่อื พทุ ธศักราช ๒๕๐๙ ทแี่ ผนกดรุ ยิ างคไ์ ทย กองการสงั คตี กรมศลิ ปากร จนเกษยี ณอายรุ าชการ ตลอดการท�ำ งานไดม้ โี อกาสไปเผยแพร่ศิลปวฒั นธรรมไทยในตา่ งประเทศ ปจั จบุ นั ครชู ลอ ใจชนื้ ยงั คงท�ำ หนา้ ทบ่ี รรเลงดนตรไี ทย และเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษในการถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ รุ ยิ างคศลิ ป์ ให้กับสถาบนั การศึกษา อาท ิ สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป์ กระทรวงวฒั นธรรม และมูลนิธิดุรยิ ประณตี เปน็ ตน้ 48 การแสดงดนตรีไทย โดย ครูอาวุโสแห่งรตั นโกสนิ ทร์
ครสู งบ ทองเทศ (Khru Sangob Thongted) เกดิ วนั ที่ ๑ กมุ ภาพันธ์ พทุ ธศักราช ๒๔๗๙ บิดาชื่อ นายหยอ่ น ทองเทศ มารดาชอ่ื นางเสงีย่ ม ทองเทศ สมรสกับนางเล้ียง ทองเทศ (ถงึ แกก่ รรมแลว้ ) มบี ตุ รสาว ๓ คน บตุ รชาย ๑ คน “ซือ่ สัตย์ในหน้าทกี่ ารงาน” ประวตั กิ ารศกึ ษาดนตรีไทย ครูสงบ ทองเทศ จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ได้ศึกษาดนตรีไทยเริ่มแรกจากบิดาที่เป็นผู้สอนและ เป็นนักดนตรีไทยศิษย์ครูช่วง จนกระท่ังได้มีโอกาสศึกษาด้านดนตรีไทย เป็นศิษย์ครูเฉลิม บัวทั่ง, ครูจำ�ลอง ราชวัตร, ครูประสงค์ พณิ พาทย์, ครบู ุญยงค์ เกตุคง และอีกหลายทา่ นท่ไี มไ่ ดก้ ลา่ วถึง ประวตั กิ ารท�ำ งาน - การมอบต�ำ ราไหว้ครแู ละการอ่านโองการไหว้ครู - อดตี ประธานดนตรไี ทย และศิลปะพน้ื บา้ นภาคตะวันออก - เปน็ คณะกรรมการประกวดดนตรไี ทยในระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาจังหวดั ชลบุรี โดยสภาวฒั นธรรม จงั หวัดชลบรุ ี เปน็ ประธานการจัดการประกวด พทุ ธศักราช ๒๕๓๙ - อาจารย์พเิ ศษด้านปีพ่ าทย์ประจ�ำ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์ (ดรุ ยิ างค์ไทย) มหาวิทยาลัยบูรพา พุทธศกั ราช ๒๕๔๑ - ๒๕๔๕ - ไดร้ บั โล่รางวัลศลิ ปนิ ดเี ด่นจงั หวดั ชลบุรี พุทธศกั ราช ๒๕๔๖ (ศูนย์วัฒนธรรมจงั หวดั ชลบรุ ี) - ปจั จบุ นั เปน็ อาจารย์พิเศษด้านป่ีพาทย์ ประจำ�คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนนาฎยสงั คตี มหาวิทยาลัยบูรพา ผ้คู วบคุมและฝึกสอนป่ีพาทย์ โรงเรยี นดาราสมทุ รศรรี าชา โรงเรียนนานาชาติชลบรุ ี - เป็นกรรมการตัดสินการประกวดดนตรไี ทยระดับนักเรยี นภาคตะวันออกชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมาร ี พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบนั การแสดงดนตรไี ทย โดย ครอู าวุโสแห่งรตั นโกสนิ ทร์ 49
ครไู สยาสน์ แย้มสุวรรณ Khru Saiyat Yaemsuwan เกดิ วนั ท่ี ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๒ ทบ่ี ้านต�ำ บลบางมว่ ง อำ�เภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เป็นบตุ ร คณุ พ่อเยือ้ น และคุณแม่สนธ์ิ แยม้ สวุ รรณ สมรสกับครสู ายวรรณ มุกดา “ผดิ เปน็ ครู ไม่มีใครไมเ่ คยทำ�ผดิ ” ประวตั กิ ารศึกษาดนตรีไทย อายุ ๕ - ๖ ขวบ ได้ติดตามพ่อเย้ือนไปงานต่าง ๆ เน่ืองจากพ่อเยื้อนเป็นคนเป่าป่ี ในช่วงติดตามคุณพ่อก็ช่วยตี ฉ่ิง ฉาบ กรับ โหม่ง บางคร้ังก็ตีกลองทัดแทนนักดนตรีท่ีไม่มา หลังจากน้ันพ่อเยื้อนได้ส่งไปอยู่กับอาสกล แก้วเพ็ญกาศ จงึ ไดเ้ ร่ิมเรียนอยา่ งเปน็ ทางการ โดยคุณอาสกลจับมือตฆี ้องวงใหญ่เพลงสาธุการ เป็นเพลงแรก จนจบโหมโรงเชา้ โหมโรงเย็น เพลงเร่ือง เพลงตับ เพลงช้า เพลงเสภา และเพลงหน้าพาทย์ เรียนเครื่องสายกับครูรอด ครูขม นุชทรัพย์ ต่อจากนั้น คณุ อาสกล สง่ ครไู สยาสน์ กบั เพอ่ื นรนุ่ นอ้ ง (นายสรุ เดช กม่ิ เปยี่ ม คนระนาดเอกกรมศลิ ปากร) เขา้ กรงุ เทพฯ เรยี นวชิ าดนตรตี อ่ กับครบู ญุ ยงค ์ เกตคุ ง ซึง่ เป็นหวั หน้าวงดนตรีไทย กรุงเทพมหานคร เสาชิงช้า และ ทวี ชี ่อง ๔ บางขุนพรหม เรยี นตีฆอ้ งมอญ การใชม้ ือ และทางมอญ เช่น เพลงประจำ�บ้าน เปน็ ต้น กบั ครเู ยน็ เตะ๊ อ้วน ทีป่ ากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี เรยี นป่ใี นเพิม่ เติมกับ ครเู ทยี บ คงลายทอง เรียนเพลงหน้าพาทยอ์ งคพ์ ระพริ าพ กับครสู อน วงฆอ้ ง ประวตั กิ ารทำ�งาน เรมิ่ สอนดนตรที โี่ รงเรยี นพบิ ลู ประชาสรรค์ สงั กดั กรมประชาสงเคราะห์ ถนนดนิ แดง จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร ต�ำ แหนง่ ครูดนตรีสอนแตรวงโยธวาทิต เม่ือ พุทธศักราช ๒๕๐๗ ต่อมา โรงเรียนได้เปลี่ยนสังกัดจากกรมประชาสงเคราะห์ มาเป็น กรมสามัญศึกษา จึงได้เปล่ียนตำ�แหน่งจากครูดนตรีช่ัวคราว มาเป็นตำ�แหน่งครูดนตรี ระดับชำ�นาญการ กรมสามัญศึกษา เคยได้รับมอบหมายให้เป็นผู้อำ�นวยการเพลง และควบคุมการบรรเลงวงมหาดุริยางค์ของโรงเรียนในสังกัดกรมสามัญศึกษา จนเกษยี ณอายรุ าชการ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ หลงั จากนน้ั ครไู สยาสนท์ �ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ วทิ ยากรและอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาใหก้ บั สถาบนั ตา่ งๆ อาทิเช่น โรงเรียนมหาพฤฒาราม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โรงเรียน/วิทยาลัย ในเขตการศึกษา กรุงเทพมหานครและจงั หวดั นนทบรุ ี ฯลฯ และยงั ได้จัดต้ังโรงเรียนดนตรีไทยนาฏศิลป์สายวรรณ ซ่ึงอย่ใู นความควบคุมของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยเปิดสอนใหก้ บั เยาวชนและผทู้ สี่ นใจในชมุ ชนได้ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ละร่วมอนุรกั ษส์ ืบสาน ศิลปวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่สืบไป ครูไสยาสน์ ยังใช้เวลาว่างจากการสอน ผลิตเครื่องดนตรีจำ�หน่ายและใช้เอง เชน่ องั กะลงุ ผนื ระนาดเอก - ทมุ้ ไมต้ รี ะนาดเอก - ทมุ้ และไมฆ้ อ้ ง ฯลฯ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ ไดจ้ ดั ท�ำ องั กะลงุ ๑ ชดุ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 50 การแสดงดนตรีไทย โดย ครอู าวโุ สแหง่ รัตนโกสนิ ทร์
Search