Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนรายวิชา การให้บริการเว็บและฐานข้อมูล ม.ปลาย

หนังสือเรียนรายวิชา การให้บริการเว็บและฐานข้อมูล ม.ปลาย

Published by workrinpho, 2020-07-20 20:24:43

Description: หนังสือเรียนรายวิชา การให้บริการเว็บและฐานข้อมูล ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

4.3 ตดิ ตั้ง PHP เริ่มจำก Extract files php-5.4.30-nts-Win32-VC9-x86.zip จำก C:/php/download ไปยัง C:/php/php-5.4.30-nts-Win32-VC9-x86 46

4.4 ตดิ ต้งั PHP Manager เลอื ก I Agree เพ่อื รับทรำบลิขสิทธ์ิของโปรแกรม 47

กำรติดตัง้ PHP Manager เสรจ็ สมบรู ณ์ 4.5 ปรับแต่ง PHP เข้ำกับ IIS เปิด IIS Manager หำกมกี ำรเปิดอยู่แลว้ ใหป้ ดิ แลว้ เปิดใหม่ จำกนั้นเลอื ก FastCGI Settings 48

แกไ้ ข Full Path ของ FastCGI โดยทำกำร Remove C:\\Program Files(x86)\\PHP\\php-cgi.exe ทำกำร Add Application ใหม่ 49

กำหนดคำ่ Application สำหรับ FastCGI ดงั ตอ่ ไปน้ี จำกนั้นคลกิ OK 50

เลอื ก PHP Manager ทำกำรติดตั้ง PHP เขำ้ กบั ระบบ IIS โดยกำรคลิกเลือก Register new PHP version 51

กำหนดทอ่ี ยขู่ อง php-cgi.exe เสร็จสิน้ กำรติดต้งั PHP เข้ำกับ IIS 8 52

เปิด IE เพอื่ ทดสอบ โดยเลอื กท่อี ยู่ url เปน็ localhost/index.php 53

บทที่ 5 กำรใหบ้ รกิ ำรฐำนข้อมลู 5.1 ฐำนข้อมูลคอื อะไร ฐำนข้อมูล(database) หมำยถึง แหล่งที่ใช้สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลมำไว้ที่เดียวกัน โดยข้อมูลที่ถูก จัดเก็บ จะมีควำมสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ทำให้สำมำรถสืบค้น (retrieval) แก้ไข (modified) ปรับปรุง เปล่ยี นแปลงโครงสรำ้ ง ข้อมลู (update) เพิม่ ข้อมูลใหม(่ insert) และจัดเรียง (sort) ได้ ท้งั นี้ในกำรกระทำดังท่ี กลำ่ วมำแลว้ ต้องอำศยั ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์สำหรับจดั กำรฐำนข้อมลู ระบบฐำนข้อมูล(database system) หมำยถึง ระบบกำรรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลำยๆ แฟ้มข้อมูลเข้ำ ด้วยกัน โดยขจัดควำมซ้ำซ้อนของข้อมูลออก แล้วเก็บข้อมูลไว้ที่ศูนย์กลำง เพื่อกำรใช้งำนร่วมกันในองค์กร ภำยในระบบตอ้ งมสี ว่ นท่ีเป็นโปรแกรมประยุกต์ทีส่ ร้ำงขึ้นเพื่อเชื่อมโยงและใชง้ ำนขอ้ มลู ในฐำนข้อมูลและต้องมี กำรดูแลรักษำควำมปลอดภัยของข้อมูลเหล่ำน้ัน มีกำรกำหนดสิทธิของผู้ใช้งำนแต่ละคนให้แตกต่ำงกันทั้งนี้ สทิ ธิของผ้ใู ชง้ ำนขึน้ อยกู่ ับกำรออกแบบควำมตอ้ งกำรในกำรใชง้ ำน ระบบฐำนขอ้ มูลประกอบด้วยแฟ้มขอ้ มูลจำนวนหลำยๆ แฟม้ และอำจมคี วำมสมั พันธ์ระหว่ำงแฟ้มก็ได้ ซ่งึ ควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งแฟ้มชว่ ยให้กำรออกแบบและกำรเขียนโปรแกรมสะดวกขนึ้ รปู ที่ 5.1 ตวั อยำ่ งแฟม้ ขอ้ มลู ภำยในฐำนข้อมูล 54

จำกตัวอย่ำงในรูปข้ำงต้น เป็นแฟ้มข้อมูลของฐำนข้อมูลระบบจัดกำรวิชำเรียนของนิสิตในระดับ มหำวิทยำลัย ทั้งน้ีตัวแฟ้มข้ำงต้นมีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงแฟ้มด้วย เช่น แฟ้ม member เก็บข้อมูลของนิสิต และอำจำรย์ทั้งหมด แฟ้ม member_has_section เก็บข้อมูลของนิสิตท่ีลงเรียนในหมู่เรียนท่ี section_id หรืออำจำรย์ทคี่ วบคุมรำยวิชำในหมเู่ รียนที่ section_id เป็นตน้ 5.2 ระบบจัดกำรฐำนข้อมูล ระบบจัดกำรฐำนข้อมูล(DBMS: database management system) คือ โปรแกรมที่ทำหน้ำที่เป็น ตัวกลำงในระบบติดต่อระหว่ำงผู้ใช้กับฐำนข้อมูล เพื่อจัดกำรและควบคุมควำมถูกต้อง ควำมซ้ำซ้อน และ ควำมสมั พันธ์ระหว่ำงขอ้ มลู ต่ำงๆ ภำยในฐำนขอ้ มูล กำรจัดกำรฐำนขอ้ มลู ทำได้โดยกำรใช้คำสั่งโปรแกรมต่ำงๆ กับผ่ำนดีบีเอ็มเอส จำกน้ันดีบีเอ็มเอสทำกำรแปลคำส่ังเหล่ำน้ันนำไปกระทำกับตัวข้อมูลภำยในฐำนข้อมูล ตอ่ ไป ระบบจัดกำรฐำนข้อมูลมีท้ังประเภทที่ให้ใช้งำนฟรีและประเภทท่ีต้องเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรใช้งำน ตวั อย่ำงของ DBMS ไดแ้ ก่ 1. Oracle 2. IBM DB2 3. Microsoft SQL Server 4. Sybase 5. Cache 6. PostgreSQL 7. Progress 8. MySQL 9. Interbase 10. Firebird 11. Pervasive SQL 12. SAP DB 13. Microsoft Office Access 14. SQLite 55

5.3 กำรติดต้ังระบบฐำนข้อมลู โปรแกรมที่นำมำยกตัวอย่ำงติดต้ังฐำนข้อมูล ใช้ MariaDB สำเหตุท่ีเลือกใช้ตัวน้ีเนื่องจำกเป็น opensource ไมม่ ีลขิ สิทธใ์ นกำรซือ้ ขำย นอกจำกนี้ยังมีกำรพัฒนำอยู่ตลอดจนถึงปัจจุบันนี้ ได้มีเวอร์ชันล่ำสุด ท่ี 10.0.12 อัพเดทวันท่ี 16 มถิ นุ ำยน 2557 MariaDB ถูกพัฒนำโดยทีมพัฒนำ MySQL ในอดีต ซึ่งในปัจจุบัน MySQL ได้ถูก Oracle เข้ำมำ บริหำรจดั กำร ทำให้ทมี พฒั นำ MySQL เดมิ แยกตวั ออกมำทำ MariaDB ขนึ้ ดำวโหลด MariaDB จำกลงิ ค์ https://downloads.mariadb.org/mariadb/10.0.12/ ทำกำรเลอื ก mariadb-10.0.12-winx64.msi สร้ำงโฟลเดอร์ mariadb ภำยใต้ C:/ บันทกึ ไฟล์ mariadb-10.0.12-winx64.msi ภำยใต้ C:/mariadb 56

กดลงทะเบียนก่อนกำรดำวโหลดไฟล์หรือถ้ำไม่ต้องกำรลงทะเบียนให้เลือก No thanks, just take me to the download ข้ันตอนติดต้งั MariaDB คลิก Next 57

คลกิ เลือกยอมรบั เง่ือนไขของลิขสิทธ์ซิ อฟตแ์ วร์ กำหนดค่ำกำรตดิ ตั้งของ MariaDB ในทน่ี ้ี ใหใ้ ช้คำ่ ที่กำหนดมำ 58

กำหนดรหสั ผำ่ นและคลกิ เลือกกำหนดรหัสตวั อกั ษรเป็น UTF8 กำหนดชอื่ service เป็น MySQL และกำหนด port เปน็ 3306 59

คลกิ Next เลือก Install 60

รอกำรตดิ ตงั้ จนเสรจ็ สมบูรณ์ 61

5.4 ทดสอบกำรใช้งำนฐำนข้อมลู ดว้ ย HeidiSQL HeidiSQL เป็นโปรแกรมจดั กำรฐำนขอ้ มลู โดยสำมำรถออกแบบ เพ่ิม ลบ แกไ้ ข ฐำนข้อมูล MariaDB ได้ นอกจำกนีย้ งั สำมำรถจดั กำรกับฐำนข้อมลู อ่ืนๆ ได้ เชน่ MySQL, PostgreSQL, SQL Server เป็นตน้ โดย HeidiSQL ถกู ติดต้ังมำกบั MariaDB แล้วในหวั ขอ้ ท่ีผ่ำนมำ 5.4.1. เชอื่ มตอ่ ฐำนขอ้ มูล เปิดโปรแกรม HeidiSQL เลอื ก New Session in root folder 62

แก้ไขชื่อ session ที่ใช้ในกำรเชื่อมต่อฐำนข้อมูล จำกตัวอย่ำงใช้ช่ือ root แล้วพิมพ์ password ท่ี กำหนดไวใ้ นข้นั ตอนติดตง้ั MariaDB ในหัวข้อท่ีผ่ำนมำ จำกน้ันเลือก Save แลว้ คลกิ Open โปรแกรม HeidiSQL แสดงฐำนข้อมลู ทงั้ หมด 63

5.4.2. สรำ้ งฐำนข้อมลู ใหม่ คลกิ ขวำ root เลอื ก Create new เลือก Database กำหนดชอ่ื ฐำนข้อมูล เปน็ website จำกน้นั คลกิ OK 64

5.4.3. สร้ำงตำรำง คลกิ ขวำ website เลอื ก Create new เลอื ก Table กำหนดชื่อตำรำงเปน็ member จำกนน้ั คลกิ +Add เปน็ กำรสร้ำงฟลิ ดใ์ ห้กบั ตำรำง ใหท้ ำกำรสร้ำงตำรำง โดยกำหนดฟลิ ดด์ งั ต่อไปน้ี 1. ฟลิ ด์ id เป็นประเภท int 2. ฟลิ ด์ user เป็นประเภท varchar 3. ฟิลด์ pass เป็นประเภท varchar สังเกตค่ำควำมยำวของประเภท varchar คำ่ หลักกำหนดเปน็ 50 ตัวอักษร ฟิลด์ id ใหก้ ำหนดเป็น primary key ด้วยวิธกี ำรกำหนดดังตัวอย่ำง 65

กำหนดชอื่ ตำรำงและฟลิ ด์ คลกิ ขวำฟลิ ด์ id เลอื ก Create new index เลือก PRIMARY 66

สรำ้ งฟิลด์ id ใหเ้ พ่ิมค่ำอัตโนมัติ โดยกำรคลิกเลอื ก id เลอื ก Default ติ๊กเลอื ก Auto_Increment คลกิ OK จำกน้นั กด Save เพื่อบันทึก 5.4.4. เพม่ิ ขอ้ มลู ในตำรำง คลิกเลอื กตำรำง จำกนั้นเลอื กแทป็ Data 67

คลิกขวำ Insert row พมิ พข์ อ้ มูลดังนี้ 68

บทที่ 6 กำรเชอ่ื มต่อฐำนข้อมลู ด้วยภำษำสครปิ ต์ ในบทนีจ้ ะแนะนำกำรเชื่อมตอ่ ฐำนข้อมูลโดยใช้ภำษำสครปิ ตแ์ บง่ เป็น 2 ภำษำคอื ASP และ PHP 6.1 ทดสอบกำรเชอื่ มตอ่ ฐำนข้อมูลดว้ ย ASP.NET 6.1.1. กำรตดิ ตัง้ MySQL Connector กำรใช้ ASP.NET เชื่อมตอ่ ฐำนขอ้ มลู MariaDB น้นั จำเปน็ ต้องมีตัวเชื่อมต่อ MySQL Connector Net ซง่ึ ผ้พู ัฒนำคอื ทีมพัฒนำ MySQL ดังนนั้ MySQL Connector Net จงึ สำมำรถนำไปใช้งำนกบั ฐำนข้อมลู MySQL ไดเ้ ช่นกัน - เร่ิมจำกขนั้ ตอนแรกทำกำรดำวโหลด MySQL Connector Net มำเก็บไวใ้ นเครื่องกอ่ น - ดำวโหลดไดต้ ำมลิงค์นี้ http://dev.mysql.com/downloads/connector/net - จำกนั้นใหน้ ำไปวำงไว้ภำยใต้ C:/mariadb 69

เลอื ก No thanks หำกไม่มี User สำหรับเวบ็ MySQL ตดิ ตั้ง MySQL Connector Net 70

เลือกรูปแบบกำรติดตั้งเป็น complete คลกิ Install เพ่อื ทำกำรติดตง้ั 71

รอจนกว่ำกำรตดิ ต้ังเสร็จสมบรู ณ์ สำหรับกำรทดสอบ ASP.NET เพ่ือเช่ือมต่อฐำนข้อมูล MariaDB นั้นจำเป็นต้องใช้เครื่องมือในกำร สร้ำงนั่นก็คือ visual Studio ท้ังน้ีหำกผู้เรียนสนใจ ต้องไปศึกษำเพิ่มเติมในเร่ืองกำรเขียนเว็บไซต์ด้วย ASP.NET ในตวั อยำ่ งนีจ้ ะยกตัวอย่ำงงำ่ ยๆ ในกำรเช่อื มตอ่ 72

6.1.2. กำรสร้ำงไฟล์เพ่ือเชือ่ มต่อ MariaDB ด้วย ASP.NET กำรสร้ำงไฟล์และโฟลเดอรต์ ่อไปน้ีอยภู่ ำยใต้ C:/inetpub/wwwroot สรำ้ งไฟลช์ ื่อ web.config โดยบันทกึ คำสงั่ ตอ่ ไปน้ี สรำ้ งไฟลช์ ่อื default.aspx โดยบนั ทกึ คำสั่งต่อไปน้ี 73

สร้ำงไฟลช์ อ่ื default.aspx.vb โดยบันทกึ คำส่งั ต่อไปน้ี 74

- สรำ้ งโฟลเดอร์ Bin ภำยใต้ C:/inetpub/wwwroot - คดั ลอกไฟล์ MySql.Data.dll จำก C:\\Program Files (x86)\\MySQL\\MySQL Connector Net 6.8.3\\Assemblies\\v4.5 - ไปยัง C:/inetpub/wwwroot/Bin - ทดสอบกำรรนั IE ด้วยกำรพิมพ์ url เปน็ localhost/default.aspx ผลกำรรนั localhost/default.aspx ผลที่ได้แสดงข้อมูลในฐำนข้อมูล MariaDB ท่ีถูกเพิ่มข้อมูลเข้ำไป 2 เรคคอร์ดในตำรำงชื่อ member ของฐำนข้อมูลชื่อ website 75

6.2 ทดสอบกำรเช่ือมตอ่ ฐำนขอ้ มูลด้วย PHP ใช้ notepad หรือ notepad++ พิมพค์ ำส่งั ดังตอ่ ไปน้ี บันทึกชอื่ viewdb.php โดยบันทึกภำยใต้ C:/inetpub/wwwroot 76

เปดิ IE พมิ พ์ url ดงั ตัวอย่ำง ผลที่ได้แสดงข้อมูลในฐำนข้อมูล MariaDB ท่ีถูกเพิ่มข้อมูลเข้ำไป 2 เรคคอร์ดในตำรำงชื่อ member ของฐำนขอ้ มลู ช่อื website 77

บทท่ี 7 กำรปรบั แตง่ เครอื่ งใหบ้ รกิ ำรเว็บในสว่ นกำรจัดกำรเวบ็ ไซต์ ในบทนเี้ ปน็ กำรปรบั แต่งส่วนกำรจดั กำรเวบ็ ไซตต์ ่ำง โดยแบง่ หัวข้อดังต่อไปนี้ 7.1 กำรกำหนดค่ำหนว่ ยควำมจำในกำรประมวลผล หน่วยควำมจำในกำรประมวลผลเว็บไซต์(memory limit) มีส่วนสำคัญในกำรให้บริกำรเว็บไซต์ เน่ืองจำก เป็นกำรกำหนดขนำดหน่วยควำมจำท่ีใช้ในกำรประมวลผลฝั่งเซิร์ฟเวอร์ เช่นกำรเรียกดูข้อมูล ฐำนข้อมลู กำรอัพโหลดไฟล์จำกเครอ่ื งเข้ำใช้บริกำรเว็บไซต์ไปยงั เคร่ืองเซิรฟ์ เวอร์ เป็นต้น ในภำษำ ASP หน่วยควำมจำในกำรประมวลผล ข้ึนอยู่กับหน่วยควำมจำ(RAM) ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แต่ในภำษำ PHP ถูกกำหนดเป็นค่ำหลักไว้เท่ำกับ 32 MB นั่นหมำยถึงไม่สำมำรถอัพโหลดไฟล์ใหญ่กว่ำ 32 MB ได้หรือไม่สำมำรถดำวโหลดฐำนขอ้ มูลที่มีขนำดใหญเ่ กิน 32 MB ได้ เป็นตน้ กำรแก้ไข memory limit ในภำษำ PHP สำมำรถทำได้โดยกำรเปล่ียนค่ำใน php.ini ในตัวอย่ำงน้ี ไฟล์ php.ini อยู่ในตำแหน่ง C:\\php\\php-5.4.30-nts-Win32-VC9-x86\\php.ini ใหท้ ำกำรเปดิ ไฟลข์ นึ้ มำและค้นหำคำสั่ง memory_limit แลว้ ทำกำรเปลีย่ นเปน็ ค่ำทีต่ อ้ งกำร กำรเปล่ยี นคำ่ memory_limit จำก 32 MB เปน็ 128 MB 78

7.2 กำรกำหนดขนำดของไฟลอ์ ัพโหลดสูงสดุ ผ่ำนเว็บไซต์ 7.2.1. กำรกำหนดขนำดหน่วยควำมจำในกำรอพั โหลดของ ASP ในภำษำ ASP สำมำรถแก้ไขได้ 2 จุดคือ กำหนดขนำดของไฟล์อัพโหลดสูงสุดของทั้งเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้ ASP หรือ กำหนดเฉพำะเว็บไซต์ - กำรกำหนดทัง้ เซริ ์ฟเวอร์ เลือกเครอ่ื งเซริ ์ฟเวอรแ์ ละเลือก Request Filtering ดบั เบิ้ลคลกิ หรอื เลือก Open Feature 79

คลกิ Edit Features Settings ในเมนู Actions ด้ำนขวำมอื เปลี่ยนขนำดหน่วยควำมที่ต้องกำรจำกตวั อยำ่ งกำหนดเป็น 50 MB 80

- กำรกำหนดเฉพำะเว็บไซต์ รูปแบบกำรทำลักษณะเดียวกับกำรกำหนดทั้งเซิร์ฟเวอร์แตกต่ำงตรงตำแหน่งกำรเลือก Request Filtering จำกที่กำหนดจำกเซริ ์ฟเวอรเ์ ปล่ียนเป็นกำหนดทเ่ี วบ็ ไซต์ 7.2.2. กำรกำหนดขนำดหนว่ ยควำมจำในกำรอพั โหลดของ PHP เปิด php.ini ทำกำรคน้ หำ upload_max_filesize จำกตัวอยำ่ งแกไ้ ขเป็น 10 M 81

7.3 กำรเปิดใชง้ ำนคำสงั่ PHP แบบสัน้ (short script) โดยปกตกิ ำรใชง้ ำน PHP ใชค้ ำส่ัง <?php ?> ในบำงกรณอี ำจมกี ำรเขยี นคำส่งั PHP ในรูปแบบ short script โดยใช้ tag เปน็ <? ?> เท่ำนัน้ สำหรับกำรกำหนดค่ำน้เี ขำ้ ไปแก้ไขโดยกำรเปิด php.ini แล้วค้นหำคำว่ำ short_open_tag แกค้ ำ่ ของ short_open_tag จำก off เป็น on นอกจำกน้ยี งั สำมำรถกำหนดให้ใช้ ASP tag เขำ้ มำใชง้ ำนใน PHP ไฟล์ได้โดย ASP ตอ้ งใช้คำส่งั <% %> โดยทำกำรเปล่ยี นค่ำ asp_tags จำก off เปน็ on 82

83

7.4 กำรเปดิ ใช้งำนส่วนเสรมิ ของ PHP PHP มีส่วนเสริม(extensions) สำหรับใช้งำนตำ่ งๆ จำนวนมำกตัวอย่ำง ช่อื ไฟล์ extension ควำมสำมำรถของ extension php_bz2.dll ใช้บบี อดั ไฟล์เปน็ .zip ได้ php_calendar.dll ฟังก์ชนั เสรมิ เกี่ยวกบั ปฎิทิน php_curl.dll ฟังกช์ นั ตดิ ตอ่ เซริ ฟ์ เวอร์ เช่น redirect page php_dotnet.dll ฟังก์ชัน .NET php_ftp.dll ฟังก์ชนั FTP php_gd.dll ฟงั ก์ชันเก่ียวกับรปู ภำพ php_iconv.dll ฟังก์ชันแปลงรหสั ตวั อักษร php_iisfunc.dll ฟังก์ชันจดั กำร IIS php_mbstring.dll ฟังกช์ นั เสริมด้ำนข้อควำม php_mcrypt.dll ฟงั กช์ ันเขำ้ รหัสแบบ mcrypt php_mssql.dll ฟังก์ชันจดั กำร MSSQL php_mysql.dll ฟังก์ชันจดั กำร MySQL functions โดยหำกต้องกำรใช้ extension ใดต้องทำ 2 ข้นั ตอนคือ 1. นำไฟล์ extension ท่ตี อ้ งกำรใช้ไปวำงในโฟลเดอร์ extension ในตัวอย่ำงนี้ โฟลเดอร์ extension อยู่ในตำแหนง่ C:\\php\\php-5.4.30-nts-Win32-VC9-x86\\ext ตัวอยำ่ ง extension ในโฟลเดอร์ C:\\php\\php-5.4.30-nts-Win32-VC9-x86\\ext 84

2. แก้ไขไฟล์ php.ini โดยทำกำรนำเคร่ืองหมำย ; หน้ำ extension ออกหำกใน php.ini ไม่ได้ กำหนด extension นี้ใหพ้ ิมพค์ ำส่งั extension= ชือ่ ไฟล์ extension 85

บทที่ 8 FTP 8.1 รู้จกั กบั FTP โปรแกรม FTP(File Transfer Protocol) คือ โปรโตคอลเครือข่ำยประเภทหน่ึง ใช้สำหรับกำรถ่ำย โอนไฟล์ระหวำ่ งเคร่อื งคอมพวิ เตอร์หนึ่งไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์หน่ึง ในตัวอย่ำงกำรใช้งำนทำงเว็บไซต์ FTP ถูกนำมำใช้ในกำรถ่ำยโอนไฟล์ระหว่ำงเคร่ืองลูกข่ำยกับเคร่ืองแม่ข่ำย หรือในทำงเว็บไซต์เรียกว่ำ โฮสติง (Hosting) หรือ เซิร์ฟเวอร์ ทำให้กำรถ่ำยโอนไฟล์ง่ำยและปลอดภัยในกำรแลกเปล่ียนไฟล์ผ่ำนอินเตอร์เน็ ต โดยในกรณีท่ีอินเตอร์เน็ตหลุดสำมำรถเช่ือมต่อได้อัตโนมัติในกรณีโปรแกรมใช้งำน FTP ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับ โปรแกรมที่ใช้งำนด้วย กำรใช้ FTP มักพบบ่อยท่ีสุดสำหรับกำรดำวน์โหลดไฟล์จำกอินเทอร์เน็ต กำรเพิ่ม ควำมสำมำรถในกำรถ่ำยโอนไฟล์ในกรณีต้องกำรควำมเร็วสูงสุดที่เคร่ืองลูกข่ำยสำมำรถดำวโหลดได้ไปจนถึง กำรเพม่ิ ควำมสำมำรถในกำรใช้งำนต่อเนอ่ื งเม่ืออินเตอรเ์ นต็ หลุด FTP กลำยเป็นสงิ่ จำเป็นสำหรับทุกคนทีส่ รำ้ งเวบ็ เพจ โดยทีก่ ำรติดต่อกันทำง FTP พอร์ต(Port) ที่ 21 โดยปกติก่อนกำรใช้งำน FTP น้ันเครื่องแม่ข่ำยจะมีกำรสร้ำงสมำชิกและทำกำรเพ่ิมชื่อผู้เข้ำใช้ (User) และ รหัสผ้เู ขำ้ ใช้ (Password) สำหรับแต่ละสมำชิก โปรแกรม FTP แบ่งเปน็ 2 สว่ นได้แก่ 1. FTP Server เปน็ โปรแกรมทถี่ กู ตดิ ตงั้ ไวท้ ี่เครือ่ งแม่ขำ่ ย ทำหน้ำทใี่ หบ้ รกิ ำร FTP โดยเปิดให้ใช้พื้นท่ี ในเคร่ืองแม่ข่ำย เพ่อื ใชง้ ำนเป็นพื้นที่สำหรับเว็บไซต์ต่อไป โดยข้อมูลเป็นลักษณะส่ือประสม กล่ำวคือ เป็นได้ ทั้งไฟล์ขอ้ ควำม ไฟล์เว็บไซต์ ไฟล์เสยี ง ไฟล์วดิ โี อ หรือจะเปน็ ไฟลป์ ระเภทใดกไ็ ด้ 2. FTP Client เป็นโปรแกรมที่ถูกติดต้ังในเคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ องลูกข่ำยเพ่ือทำหน้ำท่ีเชื่อมต่อไปยัง FTP server โดยทำกำรอัพโหลด ดำวนโ์ หลดไฟล์ แก้ไขช่ือไฟล์ ลบไฟล์ และเคลอื่ นย้ำยไฟล์ ตวั อยำ่ งของโปรแกรม FTP ได้แก่ - Complete FTP Server - CrushFTP Server - Filezilla Server - Microsoft Internet Information Services - Ws FTP Server 86

8.2 กำรตดิ ตั้ง FTP Server 8.2.1. กำรติดตงั้ ด้วย IIS เปิด Server Manager เลือก Add roles and features เลือก Server Selection โดยเลอื กเครื่องเซริ ฟ์ เวอร์ทใ่ี ชง้ ำน 87

เลอื ก Server Roles โดยเลือก FTP Server ที่อยู่ภำยใต้ Web Server (IIS) รอจนกวำ่ ติดตง้ั สำเรจ็ 88

เปิดปดิ IIS Manager ใหม่ โดยตอนนม้ี ฟี งั ก์ชัน FTP เพิม่ เขำ้ มำ ทำกำรเพมิ่ IIS Manager User โดยทำตำมขน้ั ตอนเหมือนกำรติดตั้ง FTP Server น่นั คือขนั้ ตอน - เปดิ Server Manager เลอื ก Add roles and features - เลอื ก Server Selection โดยเลอื กเคร่ืองเซิร์ฟเวอรท์ ่ีใช้งำน จำกน้ันขนั้ ตอน เลอื ก Server Roles ให้เลือก Management Service โดยอยูภ่ ำยใต้ Management Tools ซึง่ อยภู่ ำยใต้ Web Server (IIS) อีก 1 ชั้น 89

ข้ันตอนนข้ี ้ำมไปไดเ้ ลย เลอื ก Next เลือก Install ทำกำรตดิ ตั้ง 90

รอกำรตดิ ตง้ั จนเสร็จสมบรู ณ์ ปดิ IIS Manager แลว้ เปดิ ข้ึนมำใหม่ จะเห็นว่ำมฟี ังกช์ ัน Management เพิ่มขนึ้ มำ เลอื ก Management Service 91

แก้ไข Identity Credentials จำก Windows credentials only เป็น Windows credentials or IIS Manager credentials จำกนนั้ เลือก Actions Apply ไปที่ IIS Manager เลือกเซริ ฟ์ เวอร์ทำงด้ำนซ้ำย จำกนัน้ เลือก IIS Manager Users 92

เลอื ก Actions Add User จำกนัน้ กำหนด user เปน็ web1 password เป็น 1234 ปดิ ข้อควำมแจง้ เตือนโดยกำรเลอื ก Yes เน่อื งจำกรหสั ผ่ำนท่กี ำหนดมีควำมปลอดภยั ตำ่ 93

ไปที่ IIS Manager เลอื กเซิรฟ์ เวอรท์ ำงดำ้ นซำ้ ย เลือก Add Ftp Site กำหนดชอ่ื ftp และเลือกทอ่ี ยู่โฟลเดอร์ของ ftp 94

กำหนด ip address ในที่นใ้ี หใ้ ช้ All Unassigned พอร์ต 21 และเลือกไมใ่ ช้ ssl กำหนดสทิ ธิผู้ใช้งำนตำมตัวอยำ่ ง 95