การประกวดผลงานแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี (Best Practice) การดาเนินงานโครงการทุนการศกึ ษาเดก็ สภาวะยากลาบากในเขตพ้ืนทส่ี งู ภาคเหนอื ระดบั ภาค ประจาปีงบประมาณ 2566 ช่อื ผู้ขอรับทุนการศกึ ษาฯ ที่เสนอผลงานแนวปฏบิ ัติที่ดี (Best Practice) นายธีรวัฒน์ แซ่เติ๋น. ชื่อครทู ่ปี รกึ ษาโครงการ/กจิ กรรม ทีเ่ สนอผลงานแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice) ชอ่ื – สกลุ นางณฐั กญั จณ์ เจอื จาน ตาแหน่ง ครูอาสาสมคั รฯ ชอ่ื สถานศกึ ษา ศนู ย์สง่ เสรมิ การเรยี นรอู้ าเภอปง สานกั งานส่งเสรมิ การเรียนรู้จังหวัดพะเยา สานกั งานส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศกึ ษาธิการ
ก คานา เอกสารฉบับนี้ไดจ้ ัดทาํ ขน้ึ เพอ่ื นําเสนอแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี (Best Practice) ของผ้เู รียน ศูนย์ส่งเสริมการ เรียนรู้อําเภอปง จังหวัดพะเยา ซึ่งเป็นนักศึกษาท่ีได้รับการพิจารณาทุนการศึกษาโครงการทุนการศึกษาเด็ก สภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สงู ภาคเหนอื ปี 2566 และนาํ ทนุ ทไ่ี ด้รับน้ันสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ให้มคี วามเปน็ อยู่ทดี่ ีข้ึนได้ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปงจึงได้พิจารณาผลงานแนวปฏิบัติท่ีดี(Best Practice) ของผู้เรียน จาํ นวน 1 ราย คอื นายธีรวัฒน์ แซ่เตน๋ิ นักศึกษาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การ เรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง” บา้ นสะนามใต้ ที่เป็นแบบอยา่ งท่ดี ีสําหรับนักศกึ ษาทนุ ตามโครงการ ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนท่ีสูงภาคเหนือ ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ และให้ผู้เรียนมี คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าเอกสารแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ฉบับนี้ เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ สามารถเป็นแนวทางในการใช้ทุนการศกึ ษาให้ เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ ผเู้ รยี น ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษาท่ีให้แนวทางในการเขียนแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ขอบคุณ คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปงทุกคน รวมถึงผู้เรียนจากศูนย์การเรียน ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านสะนามใต้ ตําบลผาช้างน้อย อําเภอปง จังหวัดพะเยา ที่ร่วม ขับเคล่ือนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชนบนพ้ืนที่สูงได้รับการศึกษาสู่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตท่ีดขี ้ึน
สารบญั ข คานา หนา้ สารบญั ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป ก ตอนที่ 2 ขอ้ มลู การประเมนิ ข ตอนที่ 3 ผลงานแนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี (Best Practice) 1 ภาคผนวก 2 คณะผู้จดั ทา 26 30
1 ตอนท่ี 1 ข้อมูลทัว่ ไป 1. ชือ่ สถานศกึ ษา ศูนยส์ ง่ เสริมการเรยี นรู้อาํ เภอปง 2. ชอื่ ครูท่ปี รึกษาโครงการ/กจิ กรรม ท่เี สนอผลงานแนวปฏิบตั ิทีด่ ี (Best Practice) 1) นางณฐั กัญจณ์ เจือจาน 2) นายวรี ยทุ ธ บุญตอ่ 3) นางเยาวนนั ท์ ถูกจติ ร 3. ชอ่ื ผรู้ ับทุนการศกึ ษาฯ ท่ีเสนอผลงานแนวปฏิบัตทิ ี่ดี (Best Practice) 1) นายธีรวฒั น์ แซ่เติ๋น 4. จํานวนทนุ การศกึ ษาฯ ศูนย์สง่ เสรมิ การเรียนรู้อําเภอปง ได้รับการจัดสรรในปีงบประมาณ 2566 จํานวน 16 ทุน ๆ ละ 5,000 บาท รวมเป็นเงนิ ท้งั สิน้ 80,000 บาท จาํ แนกเปน็ ผูเ้ รยี น ดังน้ี 1) ระดบั ประถมศกึ ษา 1 คน 2) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 3 คน 3) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 12 คน 4) ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) - คน รวมทง้ั สิน้ 16 คน 5. จาํ นวนโครงการ/กจิ กรรมของผขู้ อรับทนุ การศึกษาฯ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง มีจํานวนโครงการ/กิจกรรมของผู้ขอรับทุนการศึกษาฯ จาํ นวน 16 โครงการ/กจิ กรรม ดงั นี้ 1) โครงการ/กิจกรรม ด้านสุขภาพอนามัย จาํ นวน ....-... โครงการ/กิจกรรม 2) โครงการ/กิจกรรม ด้านการศกึ ษา จาํ นวน ...3.... โครงการ/กจิ กรรม 3) โครงการ/กิจกรรม ด้านสง่ เสรมิ อาชีพ จํานวน ..13..... โครงการ/กจิ กรรม 4) โครงการ/กิจกรรม ดา้ นวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญา จาํ นวน ...-.... โครงการ/กจิ กรรม 5) โครงการ/กจิ กรรม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม จาํ นวน ..-..... โครงการ/กจิ กรรม
2 ตอนท่ี 2 ข้อมลู การประเมิน (70 คะแนน) ดา้ นท่ี 1 การบรหิ ารจัดการ องค์ประกอบท่ี 1 ด้านบุคลากร วธิ ีการดาเนนิ การ ศนู ย์สง่ เสริมการเรียนรู้อําเภอปง ได้รับจัดสรรทุนการศึกษาจํานวน 16 ทุน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อําเภอปง ได้ดาํ เนินการตามกระบวนการ PDCA ดังนี้ ข้ันวางแผน(P) 1. ผ้บู รหิ ารแจง้ ผู้เก่ียวขอ้ งและบคุ ลากรให้รบั ทราบ ศูนยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรอู้ ําเภอปง รับทราบเกี่ยวกับโครงการทุนการศกึ ษาเพื่อเด็กสภาวะ ยากลําบากพ้ืนท่ีสูงภาคเหนือ จังหวัดพะเยา ปี 2566 จึงประชุมชี้แจงผู้เก่ียวข้อง บุคลากรของสถานศึกษา เพ่ือช้ีแจงความเป็นมา วัตถุประสงค์ของโครงการ หลักเกณฑ์การพิจารณา คุณสมบัติของผู้สมัครรับ ทุนการศึกษา เพ่ือสร้างความเข้าใจให้กับครู ศศช. ครูกศน.ตําบล เจ้าหน้าที่รับผิดชอบ และผู้ท่ีเก่ียวข้อง พรอ้ มมอบหมายให้ครไู ปดําเนนิ การสรา้ งความเขา้ ใจกบั กลุ่มเปา้ หมายผมู้ คี ุณสมบัติตามเกณฑใ์ นพน้ื ที่ 1ป.ระชุมชีแ้ จงบคุ ลากร ศศูนย์ส่งเสริม 2ก.ารเรียนรู้อาเภอปง เพื่อให้ทราบความ 3เป. ็นมา วัตถุประสงค์ของโครงการฯ 4ร.่วมกัน 5. 6. ประชมุ ชีแ้ จง เพือ่ สร้างความเข้าใจ 7. หลกั เกณฑ์การพิจารณา คุณสมบตั ิของ ผู้สมคั รรบั ทุนการศึกษา ให้กับครู ศศช. ครกู ศน.ตาบล เจ้าหน้าที่ทีร่ บั ผิดชอบ
3 ขัน้ ปฏิบัต(ิ D) 2. ประกาศรับสมคั ร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง ได้จัดทําประกาศ ประชาสัมพันธ์ให้กับผู้สนใจสมัครขอรับ ทนุ การศึกษา ตามประกาศสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา ลงวันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2566 เรื่อง โครงการทุนการศึกษาแก่เด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สูงภาคเหนือ จังหวดั พะเยา ปี 2566 และตามประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปง ลง วนั ที่ 26 มกราคม 2566เร่ือง รับสมัครผู้ขอรับทุนการศึกษาแก่เด็กสภาวะยากลําบากในเขตพื้นที่อําเภอปง จงั หวดั พะเยา เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ใหผ้ ู้ท่ีมีเกณฑห์ รือคุณสมบตั ิตามประกาศ 3. แต่งต้ังคณะทางานตามคาสั่ง ศูนย์การเรียนรู้อาเภอปง จังหวัดพะเยา แต่งตั้งเป็นคณะทํางาน ดังนี้ 3.1 คาํ สั่ง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอปง ที่ 44/2566 เร่อื งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณาทุนการศึกษาเดก็ สภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สูงภาคเหนือ อําเภอปง จังหวัดพะเยา ปี 2566 ลงวันที่ 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2566 มหี นา้ ที่พิจารณาและตดั สินทุนระดับอําเภอ 3.2 คําส่ัง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอปง ท่ี 43/2566 เรอ่ื งแตง่ ตั้ง คณะกรรมการพจิ ารณาทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพนื้ ทส่ี ูงภาคเหนือ อําเภอปง จังหวัดพะเยา ปี 2566 ระดบั ตําบล มีหนา้ ทีพ่ ิจารณาและตัดสนิ ทนุ ของอําเภอลง วันที่ 26 มกราคม 2566 4. สรา้ งความรู้ความเข้าใจแกผ่ ู้ขอรบั ทนุ การศกึ ษา จัดดาํ เนนิ งานชีแ้ จง สร้างความเขา้ ใจ โครงการทนุ การศกึ ษาเดก็ สภาวะยากลาํ บากใน เขตพ้นื ทีส่ งู ภาคเหนือ ในเขตพนื้ ทข่ี องศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง จังหวัดพะเยา ให้กับนักศึกษาผู้สมัคร ขอรบั ทุนการศกึ ษา จาํ นวน 16 คน โดยผ่านการมอบหมายจากผู้บรหิ ารให้กับเจา้ หน้าทท่ี ีร่ ับผิดชอบโครงการ ระดบั อําเภอและครทู ่ีดแู ลรบั ผดิ ชอบนกั ศึกษา เพอื่ สร้างความรคู้ วามเข้าใจในการสมัครขอรับทุนให้เกิดความ เขา้ ใจทต่ี รงกันและเกดิ ประโยชนท์ ี่สูงทส่ี ดุ กบั นักศึกษา ระดับพ้ืนที่ โดย ครู ศศช./ครู กศน.ตําบล ดําเนินการร่วมกับผู้แทนประชาชนในหมู่บ้าน ประชาสัมพันธ์แก่ชาวบ้าน ผู้เรียน ถึงความเป็นมา วัตถุประสงค์ รวมท้ังทําความเข้าใจในหลักเกณฑ์และ คุณสมบตั ขิ องผทู้ ี่จะขอรบั ทุน
4 คําสั่ง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอปง ท่ี 43/2566 เรอ่ื งแต่งต้ัง คณะกรรมการพจิ ารณาทนุ การศกึ ษาเด็กสภาวะยากลาํ บากในเขตพนื้ ทส่ี ูงภาคเหนือ อําเภอปง จงั หวดั พะเยา ปี 2566 ลงวนั ที่ 66 มกราคม 2566 มหี น้าที่พิจารณาและตดั สนิ ทนุ ระดับอาํ เภอ คาํ สัง่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอปง ที่ 44/2566 เรื่องแตง่ ต้งั คณะกรรมการพิจารณาทุนการศึกษาเดก็ สภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สงู ภาคเหนือ อําเภอปง จังหวดั พะเยา ปี 2566 ลงวันท่ี 6 กมุ ภาพันธ์ 2566 มหี น้าท่ีพจิ ารณาและตัดสินทุนระดบั ตาํ บล
5 องค์ประกอบที่ 2 ด้านการบริหารทนุ การศกึ ษา ศนู ยส์ ง่ เสรมิ การเรยี นรูอ้ ําเภอปง ได้ดําเนินการการบริหารทนุ การศึกษา ดังนี้ 1. มีการนําขอ้ มลู จากระบบสารสนเทศ ศศช.มาใช้ในการวเิ คราะห์วางแผนการใช้ทนุ การศกึ ษา 2. มีแผนการใช้ทนุ การศึกษาแผนการใชจ้ า่ ยทุนการศึกษาโครงการทุนการศกึ ษาสาํ หรับเด็กสภาวะ ยากลําบากในเขตพ้นื ท่ีสงู ภาคเหนือ
6 3. มกี ารใช้ทนุ การศึกษาโครงการทุนการศึกษาสาํ หรบั เด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้นื ทีส่ งู ภาคเหนือ ตามแผนทไ่ี ดร้ ับจัดสรรจากสํานักงาน กศน. 4. มีการจัดพิธีมอบทุนการศึกษาโครงการทุนการศึกษาสําหรับเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนท่ีสูง ภาคเหนือ โดยนางคนงึ นติ ย์ วันนติ ย์ ณ หอประชุม กศน.อําเภอปง จังหวัดพะเยา
ด้านที่ 2 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ องค์ประกอบท่ี 1 แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. มแี ผนการจัดการเรยี นรู้รายบคุ คลเก่ยี วกับทนุ การศึกษาฯ ทส่ี อดคลอ้ งกับ แผนการจัดการเรียนรู้โ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบแล แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การตดั ผมชาย จํานวน 5 ช่ัวโมง ท่ี เร่อื ง ตัวช้วี ัด เน้ือหา 1 การประกอบ 1. บอกและอธิบาย 1. ความสําคญั ในการ 1. วิทยากร อาชพี ธุรกจิ ตัด ความสาํ คญั ในการประกอบ ผมชาย อาชพี ธรุ กิจตัดผมชายได้ เลือกประกอบอาชพี ผมชายและ 2. วิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ ในการประกอบอาชพี ธุรกิจ ธุรกจิ ตัดผมชาย 2. วทิ ยากร ตัดผมชาย 3. บอกและหาแหล่งเรยี นรู้ 2. ความเป็นไปได้ใน ตดั ผมชายแ ในการประกอบอาชพี ธุรกจิ ตดั ผมชาย การประกอบอาชีพ 3. วิทยากร 4. บอกทิศทางในการ พฒั นาการประกอบอาชีพ ธุรกิจตดั ผมชาย 4. วทิ ยากร ธรุ กิจตัดผมชาย 3. แหลง่ เรียนรู้การ 5. ฝกึ ปฏบิ ัต ประกอบอาชพี ธรุ กจิ 6. ฝกึ ปฏิบัต ตดั ผมชาย 7. ฝกึ ปฏบิ ตั 4. ทิศทางในการ และการบํา พัฒนาการประกอบ อาชพี ตดั ผมชาย
7 บโครงการของนักศกึ ษาทีเ่ สนอขอทุน โดยใช้ ONIE MODEL บการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ละการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปง การจัดกรบวนการเรียนรู้ สือ่ และแหลง่ การวัดผลประเมินผล -เรียนร้เู รอื่ งอปุ กรณ์ เรียนรู้ รอธิบายความสาํ คัญในการประกอบอาชพี ธุรกจิ ตัด 1. วิทยากร ะใหผ้ ู้เรยี นร่วมแสดงความคดิ เห็น รอธิบายความเปน็ ไปไดใ้ นการประกอบอาชพี ธรุ กิจ และให้ผเู้ รียนฝึกปฏิบัตวิ เิ คราะห์ตัดผมชาย รอธิบายช่อื ของอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการตัดผม รอธบิ ายวธิ ใี ช้อปุ กรณ์การตัดผม ติการจําแนกอปุ กรณ์การตัดผม ติการจบั อปุ กรณต์ ่าง ๆ เพื่อความถกู ต้อง ติในการเตรียมและการใชว้ ัสดุอปุ กรณ์การตัดผม ารุงรักษา
8
แผนการจัดการเรยี นรโู้ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั ศูนย์การศึกษานอกระบบแล แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 การตดั ผมชาย จํานวน 25 ชัว่ โมง ท่ี เรอ่ื ง ตัวช้ีวัด เนือ้ หา 2 ความรู้เบือ้ งตน้ 1. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความ ความรู้เบ้อื งตน้ 1. ใหผ้ ู้เรยี เก่ยี วกบั การตัด เขา้ ใจ อธิบายหลกั การ และ เก่ียวกับการตัดผม ประสบควา ผมชาย วธิ ีการของชา่ งตดั ผมชาย ได้ 1. คุณสมบัติท่ีดขี อง เรยี นรูก้ นั แ อยา่ งถกู ต้อง ช่างตัดผม ประกอบอา 2. ผเู้ รยี นสามารถเลอื กซื้อ 1.1 จรรยาบรรณของ 2. วิทยากร จัดเตรยี ม ใช้ และ ชา่ งตดั ผม จรรยาบรรณ บํารงุ รกั ษาเคร่อื งมือ 1.2 อนามยั เกยี่ วกับ 3. วทิ ยากร เครอ่ื งใช้ และอุปกรณ์ในการ สุขภาพ 4. ฝกึ ปฏิบตั ตดั ผมชายได้ 1.3 อนามัยเก่ียวกบั 5. วิทยากร 3. ผูเ้ รยี นสามารถตัดผมทรง บุคลิกภาพ พฒั นาการป ต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับ 1.4 อปุ นิสัยของช่าง 6. ฝึกปฏิบตั บุคลกิ และใบหน้าได้ ตัดผม 7. การตดั ผ 1.5 การสุขาภิบาล 7.1.การตดั 4. ผู้เรยี นสามารถสระผม ของสถานทตี่ ดั ผม 7. 1.1 ผมท ตัดผม ย้อมผม ไดถ้ ูกตอ้ ง 7 1.2 ผมท
9 โดยใช้ ONIE MODEL บการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ละการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปง การจัดกรบวนการเรียนรู้ สอื่ และแหล่ง การวัดผล เรียนรู้ ประเมินผล ยนศกึ ษาดูงานจากผู้ประกอบธุรกิจรา้ นตดั ผมชาย -ฝึกปฏิบตั ิการตัดผม ามสําเรจ็ แหล่งเรยี นรู้อนื่ ๆ นํามาแลกเปล่ียน 1. วิทยากร และสรปุ เพื่อเปน็ ข้อมลู ในการตัดสินใจเลอื ก าชีพธรุ กจิ ตดั ผมชาย รและผูเ้ รียนรว่ มกนั วเิ คราะห์คุณสมบัติที่ดแี ละ ณ อุปนสิ ยั ของชา่ งตัดผมของช่างตดั ผม รและผเู้ รยี นร่วมกนั วิเคราะห์อนามัยในการตดั ผม ติความรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกบั ผม รและผู้เรียนรว่ มกันวิเคราะห์ทิศทางในการ ประกอบอาชีพธุรกจิ ตัดผมชาย ตกิ ารตดั ผม ผมชาย 3 ทรงผมมาตรฐาน ดผมมาตรฐานทรงสงู ทรงนกั เรียน ทรงสงู กระท่มุ ส้ัน
ท่ี เร่อื ง ตวั ชี้วัด เนื้อหา 5. ผูเ้ รยี นสามารถซอยผม 1.6 การปฐม 7. 1.3 ผมท และไดรผ์ มลักษณะฟรสี ไตล์ พยาบาลเบื้องต้น 7.1.4 ผมท ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. การเตรยี มและการ 7.2. การตดั 6. ผเู้ รียนมที ักษะการจัดการ ใช้วสั ดุอุปกรณก์ ารตดั 7.2.1 ทรง การทํางาน และสามารถ ผมและการบํารุงรักษา 7.2.2 ทรง ปรับตวั เขา้ กบั สงั คมปัจจุบัน 3. ความรู้เบือ้ งตน้ 7.3. การต และเตรียมตัวพร้อมเขา้ สู่ เกีย่ วกับผมและผวิ หนงั 7.3.1 ผม การประกอบอาชพี ใน 3.1 ความรู้เบ้อื งต้น 7.3.2 ผม อนาคตได้ เก่ียวกับผม 8. การออก 3.2 ความรู้เบอ้ื งต้น 8.1. การซ เกยี่ วกบั ผวิ หนัง 8.1.1. ก 8.1.2 ก 8.1.3 ก 8.1.4 ก 8.2. การด 8.2.1 ห 8.2.2 ก 8.2.3 ก
การจัดกรบวนการเรียนรู้ สอื่ และแหลง่ 10 เรยี นรู้ ทรงกระทมุ่ ยาว การวัดผล ทรงสูงไว้หวี ประเมนิ ผล ดผมทรงกลาง งกลาง รองทรงองั กฤษ ชั้นเดียว (รองทรงสงู ) งกลาง รองทรงองั กฤษ สองชน้ั (รองทรงตํา่ ) ตัดผมทรงต่าง มทรงตํ่าจอนบาง มทรงตา่ งจอนหนา กแบบทรงผม ซอยผม การซอยผมฟรสี ไตล์ การซอยผมตามสมัยนิยม การซอยผมรากไทร การสไลดผ์ มดว้ ยกรรไกรและมีดโกน ดัดผม หลกั การดดั ผม การดัดผมให้ตง้ั การดัดผมสมัยนยิ ม
ท่ี เรื่อง ตวั ช้วี ัด เน้อื หา 8.3. การส 8.4.1 ก 8.4.2 ก 8.4.3 ก 8.4.4 ก 8.4.5 ก 9. ฝกึ ปฏบิ ัต 10. ฝึกปฏบิ ปัจจุบนั แล อนาคต
การจัดกรบวนการเรยี นรู้ สอื่ และแหลง่ 11 เรียนรู้ สระ-ไดรผ์ มและการนวดเพอื่ สขุ ภาพ การวดั ผล การสระผม – ไดร์ ประเมินผล การสระผมดัด,ผมย้อม การนวดศรี ษะ การไดรผ์ มฟรสี ไตล์ การไดรผ์ มตามสมัยนิยม ติความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกับผิวหนัง บัตกิ ารทาํ งาน และสามารถปรบั ตัวเข้ากับสงั คม ละเตรียมตวั พรอ้ มเข้าสู่การประกอบอาชีพใน
12
แผนการจัดการเรียนรู้โ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบแล แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 การตัดผมชาย จํานวน 5 ชั่วโมง ท่ี เรื่อง ตัวชีว้ ัด เน้ือหา 3 การประกอบ 1. สามารถบริหารจัดการ 1. การประกอบอาชพี 1. วทิ ยากร อาชีพ ในการประกอบอาชีพ ธรุ กจิ ตดั ผมชายได้ 1.1 การเลอื กทาํ เล จดั ตกแ 2. สามารถกําหนดรปู แบบ ที่ตัง้ จดุ คุม้ ท ในการประกอบอาชพี ธรุ กิจตัดผมชายได้ 1.2 การจัดตก การตล แต่งหน้ารา้ น ให้บรกิ 1.3 การบริการ 2. ผเู้ รียนฝกึ 1.4 การจัดการ ธุรกิจต จดั ซื้ออปุ กรณต์ ัดผม 3. ศกึ ษาข้อ และผลิตภัณฑ์แต่งผม ประกอ 1.5 การคํานวณ 4. ศึกษากา ราคาตน้ ทุนและการ 5. ฝกึ ปฏิบัต กําหนดราคาค่าบรกิ าร คา่ บริก 6. ผ้เู รยี นแล คดิ เหน็ การกาํ หน
13 โดยใช้ ONIE MODEL บการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ละการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอปง การจัดกรบวนการเรยี นรู้ สื่อและแหลง่ การวดั ผล เรยี นรู้ ประเมินผล รอธบิ ายความแตกตา่ งการเลอื กทําเลที่ตง้ั รา้ น การ -ฝกึ การคํานวณ แต่งหนา้ ร้าน การคิดราคาตน้ ทนุ การวเิ คราะห์ 1. วทิ ยากร ทนุ ประเภทและแหลง่ ของความเส่ียง จติ บริการ ราคาตน้ ทุนและ ลาดความแตกต่างระหวา่ งการขายและการ การ การกําหนดราคา กปฏบิ ตั ิกําหนดรปู แบบในการประกอบอาชีพ ตดั ผมชาย คา่ บรกิ าร อมูลจรงิ จากการสมั ภาษณ์ สอบถามจากสถาน อบการในพ้ืนที่ ารจัดซือ้ อุปกรณ์ตัดผมและผลิตภัณฑแ์ ต่งผม ตกิ ารคํานวณราคาต้นทนุ และการกําหนดราคา การ ละวิทยากรร่วมสนทนาแลกเปลยี่ นข้อมลู ความ น นดราคาคา่ บรกิ าร
14
แผนการจดั การเรียนรโู้ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบแล แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 การตัดผมชาย จํานวน 5 ชว่ั โมง ท่ี เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนอ้ื หา 4 การประกอบ 1. เพือ่ ให้ผู้เรยี นเข้าใจ 1. ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ียวกบั โครงการ อาชีพ หลกั การเขยี นโครงการ อาชีพ การวางแผนธรุ กิจ อาชพี 1.1 ความสําคญั ของโครงการอาชพี 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนวางแผนการ 1.2 การวางแผนและการเขียน เขยี นโครงการ แผนธุรกิจ โครงการ แผนธุรกจิ ได้ 1.3 ประโยชนข์ องโครงการอาชพี 3. เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ 1.4 องคป์ ระกอบของโครงการ เขยี นโครงการอาชีพได้ อาชีพ เหมาะสมและถกู ต้อง 2. การเขยี นและการประเมนิ 4. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ โครงการอาชพี ตรวจสอบความเหมาะสม 2.1 การเขยี นโครงการอาชพี และความสอดคล้องของ 2.2 การประเมนิ ความเหมาะสม โครงการอาชีพได้ และความสอดคล้องของโครงการ อาชีพ
15 โดยใช้ ONIE MODEL บการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ละการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปง การจัดกรบวนการเรียนรู้ ส่ือและแหล่ง การวดั ผล เรียนรู้ ประเมินผล 1. ให้ผเู้ รยี นศึกษาเน้ือหาความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกับ - ฝึกปฏิบัติการเขยี น องคป์ ระกอบของโครงการอาชีพจากใบความรู้ 1. วทิ ยากร เรื่องการเขยี นโครงการอาชีพ โครงการอาชพี 2. ใหผ้ ้เู รียนฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการอาชีพ 3. วิทยากรประเมินโครงการอาชีพ แล้วให้ผู้เรียน ปรบั ปรงุ โครงการอาชพี ให้มคี วามเหมาะสมและ ถูกตอ้ ง 4. ใหผ้ ้เู รียนเขยี นโครงการอาชีพของตนเองเพอ่ื เสนอขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณดาํ เนนิ งาน อาชีพ และใช้ในการดําเนินการประกอบอาชีพ ต่อไป 5. ใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบัตกิ ารประเมนิ ความ เหมาะสม และสอดคล้องของโครงการอาชพี
16
หลักสูตรวชิ าชีพ 17 หลกั สตู ร การตัดผมชาย จํานวน 40 ชว่ั โมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอปง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา จานวนชัว่ โมง 1. บอกและอธบิ ายความสาํ คัญในการ 1. ความสําคญั ในการเลือกประกอบอาชีพธรุ กิจตัดผมชาย ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 3 2 ชม. 5 ชม. ประกอบอาชพี ธุรกจิ ตัดผมชายได้ 2. ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชพี ธุรกิจตดั ผมชาย ชม. 2. วิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ในการ 3. แหลง่ เรียนรู้การประกอบอาชีพธุรกจิ ตัดผมชาย ประกอบอาชีพธุรกิจตดั ผมชาย 4. ทิศทางในการพัฒนาการประกอบอาชีพตดั ผมชาย 3. บอกและหาแหล่งเรียนร้ใู นการ ประกอบอาชพี ธุรกิจตดั ผมชาย 4. บอกทิศทางในการพัฒนาการ ประกอบอาชีพธุรกจิ ตัดผมชาย 1. ผู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจ อธิบาย ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกบั การตัดผม 5 20 25 หลักการ และวธิ ีการของช่างตัดผมชาย 1. คุณสมบตั ทิ ี่ดีของช่างตัดผม ชม. ชม. ชม. ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.1 จรรยาบรรณของช่างตดั ผม 1.2 อนามัยเกีย่ วกบั 2. ผ้เู รียนสามารถเลือกซอ้ื จดั เตรียม ใช้ สขุ ภาพ และบาํ รุงรกั ษาเครอื่ งมอื เครอื่ งใช้ และ 1.3 อนามยั เกย่ี วกับบุคลิกภาพ 1.4 อุปนิสยั ของช่างตัดผม อปุ กรณ์ในการตัดผมชายได้ 1.5 การสุขาภบิ าลของสถานที่ตดั ผม 3. ผู้เรยี นสามารถตดั ผมทรงตา่ งๆ ได้ 1.6 การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น อยา่ งเหมาะสมกับบุคลิกและใบหนา้ ได้ 2. การเตรียมและการใช้วัสดุอุปกรณก์ ารตัดผมและการ 4. ผเู้ รยี นสามารถสระผม ตัดผม ย้อมผม บํารุงรักษา ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. ความรู้เบอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั ผมและผวิ หนัง 5. ผูเ้ รียนสามารถซอยผม และไดรผ์ ม 3.1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเก่ียวกบั ผม ลกั ษณะฟรีสไตล์ ได้ถูกตอ้ ง 3.2 ความร้เู บือ้ งต้นเกี่ยวกบั ผวิ หนงั 6. ผเู้ รยี นมีทักษะการจดั การ การทาํ งาน 4. การตดั ผมชาย 3 ทรงผมมาตรฐาน และสามารถปรบั ตัวเข้ากับสงั คมปจั จุบนั 4.1.การตดั ผมมาตรฐานทรงสูง และเตรยี มตวั พรอ้ ม เขา้ สูก่ ารประกอบ 4. 1.1 ผมทรงนักเรียน 4.1.2 ผมทรงสูงกระทมุ่ สน้ั อาชพี ในอนาคตได้ 4. 1.3 ผมทรงกระทุ่มยาว 4.1.4 ผมทรงสงู ไวห้ วี 4.2. การตัดผมทรงกลาง 4.2.1 ทรงกลาง รองทรงองั กฤษ ชั้นเดยี ว (รองทรงสูง) 4.2.2 ทรงกลาง รองทรงองั กฤษ สองชัน้ (รองทรงตํา่ ) 4.3. การตดั ผมทรงตา่ ง 4.3.1 ผมทรงต่ําจอนบาง 4.3.2 ผมทรงต่างจอนหนา 5. การออกแบบทรงผม 5.1. การซอยผม 5.1.1. การซอยผมฟรีสไตล์ 5.1.2 การซอยผมตามสมัยนยิ ม
18
19 ดา้ นที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศนู ย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง มีการสร้างการรับรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโครงการทุนการศึกษาเด็ก สภาวะยากลําบากบนพ้นื ที่สงู ภาคเหนอื ให้กับนักศกึ ษาในพน้ื ท่ตี ําบลผาช้างน้อยและพื้นที่ตําบลขุนควร เพื่อให้ นักศึกษาได้รับรู้ถึงวัตถุประสงค์ ความเป็นมาของโครงการและคุณสมบัติของผู้มีสิทธ์ิรับสมัครทุนการศึกษา ตลอดจนถึงการเขียนโครงการเพ่ือขอรับทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากบนพื้นที่สูงภาคเหนือ ประจําปี งบประมาณ 2566
20 ศนู ย์ส่งเสริมการเรียนรอู้ ําเภอปง มกี ารวิเคราะห์โครงการทนุ การศกึ ษาเด็กสภาวะยากลําบากบนพ้ืนท่ี สูงภาคเหนือ ตามโครงการที่นักศึกษามีความสนใจเสนอเพ่ือขอรับทุนการศึกษา โดยผ่านการรับรองของผู้นํา ชุมชน ครูทปี่ รกึ ษาและผอู้ าํ นวยการศนู ยส์ ง่ เสริมการเรยี นรู้อําเภอปง เพ่ือนาํ ไปสกู่ ารจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ใหก้ บั ตนเอง
21 ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง มีการประสานการทํางานร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นท่ี เช่น กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นําชุมชน เพ่ือให้เครือข่ายได้มีส่วนร่วมบูรณาการในการทํางาน ในการพิจารณาคุณสมบัติของ ผู้สมัครรับทุนการศึกษา ท้ังยังเป็นผู้รับรองความประพฤติของนักศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบ และร่วมกับภาคี เครือขา่ ยจัดกิจกรรมใหบ้ ริการกับประชาชนในพื้นท่ี
22 กิจกรรมการตดั ผมฟรี ร่วมกับโครงการ พอ.สว.เคล่อื นที่ในถนิ่ ทรุ กันดาร นักศึกษานาํ ความรูท้ ไ่ี ด้รบั ลงมอื ปฏบิ ตั ิ ออกบริการใหก้ บั ประชาชนร่วมกบั คณะครูศูนยส์ ่งเสริมการเรียนรู้อาํ เภอปง
23 แบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการทุนการศึกษาเดก็ สภาวะยากลําบากบนพ้ืนทสี่ งู ภาคเหนอื ปี พ.ศ. 2565 ด้านท่ี 3 การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล (20 คะแนน) องคป์ ระกอบท่ี 1 การตดิ ตามและประเมนิ ผล ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปงได้ดําเนินการมอบหมายเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบงาน ทุนการศกึ ษาแกเ่ ด็กสภาวะยากลาํ บากในเขตพน้ื ทสี่ ูงระดับอาํ เภอปง ซ่ึงเปน็ ผู้มีด้านความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ โครงการทนุ ฯ เปน็ อย่างดี เพื่อดําเนนิ การจัดทาํ ขอ้ มูลงานทุนการศึกษาฯ ต้ังแต่การประชาสัมพันธ์การรับสมัคร การรวบรวมหลกั ฐาน การพจิ ารณาและการประกาศผลผ้ไู ด้รบั ทุนการศกึ ษา ด้านการติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานโครงการทุนฯ ของศูนย์ส่งเสริม การเรียนรู้อําเภอปง มีการนํากระบวนการทํางานแบบ PDCA มาใช้ในการควบคุม วางแผน การดําเนินงาน โครงการฯ ดังนี้ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปงได้ดําเนินการจัดทําคําส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศ ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สูงภาคเหนือ อําเภอปง จังหวัดพะเยา ปี 2566 ตามคําสั่งที่ 51/2566 ลงวันท่ี 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2566 และได้มกี ารวางแผนการนิเทศติดตามผลการใช้จ่ายทุนการศึกษาฯใน พน้ื ท่ี มีการกําหนดวนั เวลา สถานทแ่ี ละรปู แบบวิธีการในการนิเทศ ติดตาม โดยใช้แบบนิเทศ ซ่ึงมีครูศูนย์การ เรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ครู กศน.ตําบล ดําเนินการติดตาม ผลการใช้ทุนการศึกษาของ นกั ศกึ ษา พร้อมให้คาํ ปรกึ ษาในการจดั ทําบญั ชีรับ - จา่ ยเงิน เพื่อเป็นการตรวจสอบการใช้จา่ ยเงนิ ให้ตรงกบั
24 วัตถุประสงค์ของโครงการและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักศึกษา มีการสอบถามความพึงพอใจของผู้ที่ได้รับ ทุนการศึกษาตามแบบสอบถามความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการทนุ การศึกษาเดก็ สภาวะยากลาํ บากในเขต พน้ื ที่สูง ภาคเหนือ ปี พ.ศ. 2566 หลังจากครูได้ติดตามผลการใช้จ่ายทุนของนักศึกษาเสร็จสิ้น ครูได้รวบรวม เอกสารการนิเทศ ติดตามให้กับผู้รับผิดชอบงานทุนการศึกษาดังกล่าวเพื่อเก็บรวบรวมและสรุปผลการนิเทศ รายงานผลการนิเทศ ติดตามทุนการศึกษาให้กับผู้บริหารสถานศึกษารับทราบ ให้ข้อเสนอแนะ นําผล การดําเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคไปปรับปรุง พัฒนาการดําเนินงานในปีงบประมาณต่อไป พร้อมท้ังได้ รายงานผลการดาํ เนนิ งานต่อตน้ สงั กดั ทราบตอ่ ไป คําส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศโครงการทนุ ฯ รปู ภาพการนเิ ทศ ติดตามนักศกึ ษาทนุ
25 องคป์ ระกอบท่ี 2 การสรปุ ผลและการรายงานผล ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปงได้ดําเนินการมอบหมายเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน ทุนการศึกษาแก่เด็กสภาวะยากลําบากในเขตพื้นท่ีสูงระดับอําเภอปง ดําเนินการจัดทํารายงานผลให้กับ สํานักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดพะเยาทราบทุกไตรมาส มีการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ทุนการศึกษาฯประจําปี 2566 เสนอให้กับผู้บริหารรับทราบ และได้รายงานผลให้กับสํานักงานส่งเสริมการ เรียนรู้จงั หวดั พะเยาเพื่อรบั ทราบต่อไป โดยมีการนําขอ้ มูลจากการนิเทศ ติดตามมาวางแผน ปรับปรุง รูปแบบ วธิ กี ารดําเนนิ งานโครงการทุนการศกึ ษาในครั้งตอ่ ไป เพ่ือให้การดาํ เนินงานการบรหิ ารจดั การโครงการทุน
26 ตอนท่ี 3 ผลงานแนวปฏิบัติทด่ี ี (Best Practice) (30 คะแนน) ช่ือผลงาน ชอ่ื ผลงาน โครงการร้านตดั ผมชาย นายธีรวฒั น์ แซ่เตน๋ิ ความเป็นมาของ “แนวปฏิบัติทดี่ ี ” โครงการทนุ ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือของจังหวัดพะเยา ประจําปีงบประมาณ 2566 โครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สงู ภาคเหนือ เป็นโครงการ ท่สี นองงานตามพระราชเสาวนียข์ องสมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนให้เด็กนักเรียนผู้ด้อยโอกาส เป็นครอบครัวที่ยากจน และประสบสภาวะ ยากลาํ บากในการดาํ เนิน ชีวิตประจําวัน ท่ีกําลังศึกษาอยู่ในศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้เป็นทุนการศึกษาเล่าเรียน ให้ได้รับโอกาสและสร้างขวัญกําลังใจที่ดีในการศึกษาเล่าเรียนและการพัฒนา ตนเอง สู่การมีคุณภาพชวี ิตดีขน้ึ สามารถพ่ึงพาตนเอง และเปน็ กาํ ลงั สาํ คัญในการพฒั นาหมู่บ้านชมุ ชนต่อไป นายธีรวัฒน์ แซเ่ ติ๋น เป็นนกั ศึกษา ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ของศูนย์การเรียนชุมชน ชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง”บ้านสะนามใต้ ได้นําเสนอโครงการร้านตัดผมชาย เพ่ือขอรับทุนโดยมีครูที่ปรึกษา ในการจัดทําโครงการในพื้นท่ี ศศช.บ้านสะนามใต้ คือครูณัฐกัญจณ์ เจือจาน และโครงการดังกล่าวก็ได้ผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการดาํ เนินการกล่ันกรอง พิจารณา ตรวจสอบผู้ที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมท่ีจะได้รับ ทนุ ตามแนวทางการดําเนินการโครงการทุนฯของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อําเภอปง ผู้นําชุมชน และได้รับการ คัดเลือกให้เป็นผู้ที่ได้รับ ทุนการศึกษาจํานวน 5,000 บาทตามโครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบาก ในเขตพ้ืนท่ีสูงภาคเหนือ จุดเริ่มต้นของการเปิดร้านตัดผมชาย เน่ืองจาก นายธีรวัฒน์ แซ่เติ๋น อาศัยอยู่ ในชุมชนที่ห่างไกลและการสัญจรลํา บากจึงทําให้เกิดความคิดท่ีอยากจะพัฒนาตนเองด้าน “การตัดผมชาย ” เพื่อเพิ่มความรู้ ทักษะ และสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับตนเอง จึงได้ศึกษาการตัดผมชาย กับนายยงยุทธ สขุ ต๊ะ ซึ่งเป็นช่างตัดผมในพื้นที่อําเภอปง ในช่วงเดือน ธันวาคม 2565 หลังจากท่ีได้เรียนรู้การตัดผมชายเป็น ระยะเวลา 1 เดอื น จงึ เกดิ แรงบันดาลใจในการทีจ่ ะมรี ้านตัดผมชายข้ึนในหมู่บ้าน แต่ด้วยขาดทุนทรัพย์ จึงทํา ให้ ไม่สามารถดาํ เนนิ การตามความฝันได้หลังจากเรียนจบกับ แต่เมื่อได้รับทุนการศึกษาจึงเป็นต้นทุนของการ ประกอบอาชพี ตามความฝันโดยดาํ เนินการ ดังนี้ 1. จดั ซอ้ื ปัตตาเลยี่ นผ่านช่องทางออนไลน์ 2. ตัดผมให้แก่เด็กเล็กภายในหมู่บ้านโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายและออกหน่วยแพทย์เคล่ือนท่ี พอ.สว.รว่ มกับทางครูศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” จากการกระทําดังกล่าวทําให้ได้รับ แรงสนับสนุนจากครอบครัวและประชาชนในชุมชน ด้วยหมู่บ้านสะนามใต้ ไม่มีร้านตัดผมชาย ถ้าจะตัดต้อง เดนิ ทางลงจากหม่บู า้ นเปน็ ระยะทาง 43 กิโลเมตร ปจั จุบนั นายธีรวฒั น์ แซเ่ ตนิ๋ ได้เปิดร้านตดั ผมอยู่ที่บ้านห้วย กอกโดยคดิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการตดั ผมทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ในราคา 20-30 บาท ด้วยมีความคิดว่ายังต้องฝึกทักษะให้ เพ่ิมข้ึน จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง สู่การสร้างความชํานาญให้กับตนเองต่อการนําองค์ความรู้เพ่ือ สรา้ งอาชพี ท่มี ั่นคงตอ่ ไป
27 วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินงาน 1. เพอื่ สร้างรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว 2. เพื่อใหช้ มุ ชนมีรา้ นตัดผมท่ีใกลบ้ ้าน 3. เพ่ือใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ 4. เพอื่ พฒั นาทกั ษะการประกอบอาชพี ของตนเอง กระบวนการดาเนินงาน ขั้นตอนการวางแผน 1. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอปง ดําเนินการประชุมช้ีแจงครู ประจํา ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพ่ือสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการดําเนินงานตาม โครงการ ทนุ การศึกษาเดก็ สภาวะยากลาํ บากในเขตพื้นท่ีสูงภาคเหนือของจังหวัดพะเยา ประจําปีงบประมาณ 2566 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปง ดําเนินการแต่งตั้ง คณะกรรมการ กลนั่ กรองและตรวจสอบผ้ทู ม่ี ีคุณสมบัติและเหมาะสมทจ่ี ะได้รับทุนตามแนวทางการดําเนินงาน โครงการทุน ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือของจังหวัดพะเยา ประจําปี งบประมาณ 2566 3. ครูประจําศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” จัดทําประชาคมในพื้นที่ชุมชน ทีร่ ับผดิ ชอบ เพ่ือสรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับการดําเนินงานตามโครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากใน เขตพื้นท่ีสูงภาคเหนือของจังหวัดพะเยา ประจําปีงบประมาณ 2566 และนําเสนอรายชื่อผู้มีคุณสมบัติที่ เหมาะสมจะได้รับทุนการศึกษา โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพิจารณาคุณสมบัติและโครงการ สรุปจํานวนผู้ ได้รบั ทุนสง่ ใหศ้ ูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอปง 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปง ดําเนินการมอบ ทนุ การศึกษา โครงการทนุ การศึกษาเด็กสภาวะยากลาํ บากในเขตพืน้ ท่ีสูงภาคเหนือของจังหวัดพะเยา ประจําปี งบประมาณ 2566 ในวันท่ี 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2566 โดยมีการมอบทุนแยกให้กับศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” แต่ละแห่งเพ่ือให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ผลการดาเนนิ งานและประโยชน์ทีไ่ ด้รบั (20 คะแนน) ได้แจ้งผลการ พิจารณาทุนและรับสมัครผู้ขอรับทุนโครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะ ยากลําบากในเขตพื้นท่ีสูงภาคเหนือจังหวัดพะเยา ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เม่ือวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2566 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปง จํานวนทุน ที่ได้จัดสรร 16 ทุน งบประมาณทุนละ 5,000 บาท รวม 80,000 บาท
28 ตารางแสดงบัญชไี ดร้ บั การจัดสรรเงนิ ทุนการศึกษาเดก็ สภาวะยากลาบากในเขตพ้นื ทีส่ ูง ภาคเหนอื จงั หวดั พะเยาประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อาเภอปง ที่ กศน.อาํ เภอ จําวนทุนท่ีได้รับ จาํ นวนทุนละ หมายเหตุ 1 กศน.อาํ เภอปง 16 80,000 ผู้ผา่ นการพจิ ารณาทนุ การศกึ ษาเด็กสภาวะยากลาบากในเขตพน้ื ทส่ี งู ภาคเหนือ รอบที่ 1 ประจาปงี บประมาณ 2566 ที่ กศน. จาํ นวนผู้สมัคร ตาม รวม (ราย) ผา่ นรอบ ผ่านรอบ 1 ไมผ่ ่าน ความ สง่ รอบ 2 อําเภอ ระดบั ช้นั 1 รับ รับ (ราย) ตอ้ งการ (ราย) ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย (ทงั้ ป)ี รอบ รอบ 12 (ราย) (ราย) 1 อาํ เภอปง 1 3 12 16 16 16 - - 16 - ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอปง ได้มอบทุนการศึกษาให้ผู้เรียน ท่ีสมัคร ขอรับทุน ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ท่ีกําหนดครบถ้วน ตามจํานวนที่อําเภอได้รับจัดสรรในรอบ 1 จํานวน 16 คน ทุนละ 5,000 บาท/คนต่อปี และร้อยละ 100 ของผู้ขอรับทุนนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง สูงสดุ ต่อการ พฒั นาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนและครอบครวั ตอ่ ไป ปัจจยั ความสาเร็จ นายธีรวัฒน์ แซ่เต๋ิน นักศึกษาที่ได้รับทุนการศึกษาฯ ได้นําเงินทุนไปใช้จ่ายในด้านการ ประกอบอาชีพช่างตัดผมชาย โดยได้รับการสนับสนุนและคอยให้คําชี้แนะแนวทางในการดําเนินงาน การ บริหารจดั การเงินทุนการศึกษาฯ จากครูประจํา ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเจา“แม่ฟ้าหลวง”บ้านสะนามใต้ คือ นางณัฐกัญจณ์ เจือจาน และนายวีรยุทธ บุญต่อ ครู กศน.ตําบลผาช้างน้อย ส่งผลให้การใช้จ่ายเงินทุน ประสบผลสําเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1. ได้รบั โอกาสในการศึกษาตามความสนใจ ความตอ้ งการ 2. ความมุ่งมนั่ ตั้งใจทีเ่ รยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองของผเู้ รยี น 3. การส่งเสรมิ สนบั สนุน และการดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี นของครูผู้สอน 4. การไดร้ บั โอกาส จากโครงการทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพื้นที่สูงภาคเหนือ จากสํานกั งานส่งเสริมการเรียนรจู้ งั หวดั พะเยา 5. ประชาชนในชมุ ชนสามารถลดรายจ่าย ด้วยการนําบุตรหลาน ไปตัดผมในพ้ืนท่ีของตนเอง ในราคาทไ่ี มแ่ พง
29 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1. ความรู้ และทักษะในการตัดผมของผู้เรียนยังมีน้อย ทําให้ไม่สามารถสร้างรูปทรงท่ี หลากหลาย 2. สถานที่ตั้งของรา้ นตดั ผมยังไม่สะดดุ ตา 3. ครูผู้สอนในพ้ืนที่ ดูแลและช่วยเหลือผู้เรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ในด้านการจัดการศึกษา เพม่ิ พนู ศักยภาพใหแ้ ก่ผู้เรยี นได้พฒั นาตนเอง เร่ืองการตดั ผมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 4. ฝึกวินัยในการออม เพ่ือเป็นทุนในการบริหารจัดการร้านตัดผมให้เป็นสัดส่วนและย่ังยืน ตอ่ ไป แนวทางการพัฒนาตอ่ เนอื่ ง -พฒั นาความรู้ ความสามารถท้ังทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติอย่างสมํ่าเสมอและพัฒนาร้านตัด ผมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนในชุมชน เพราะการมีอาชีพ จะช่วยสร้างรายได้ท่ีเพ่ิมข้ึน สามารถพึ่งพา ตัวเองได้ และเล้ียงดูครอบครัวได้ เอกสารอา้ งองิ สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ “โครงการ ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้ืนที่สูงภาคเหนือ” ใน แนวทางการดาเนินงานโครงการ ทุนการศึกษาเด็กสภาวะยากลาบากในเขตพ้ืนท่ีสูงภาคเหนือ( สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2565 ตามหนังสือ ท่ี ศธ. 0210.47/ว 467 ลงวันท่ี 18 เมษายน 2566 เร่ือง แนวปฏิบัติท่ีดี ( Best Practice) โครงการทนุ การศึกษาเด็กสภาวะยากลําบากในเขตพ้นื ที่สงู ภาคเหนอื
30 ภาคผนวก
ขน้ั การวางแผนกิจกรรม สถานศกึ ษาประชุมสรา้ งความเขา้ ใจครู เรื่อง แนวทางการดาเนินงานโครงการทุนการศกึ ษา เด็กสภาวะ ยากลาบากในเขตพนื้ ที่สงู ภาคเหนือ
คณะกรรมการกลนั่ กรองและตรวจสอบผู้ทีม่ คี ุณสมบัตแิ ละเหมาะสมทจ่ี ะได้รบั ทนุ ตามแนวทาง การ ดาเนนิ งานโครงการทุนทุนการศกึ ษาเด็กสภาวะยากลาบากในเขตพ้นื ที่สูงภาคเหนอื ของจังหวดั พะเยา ประจาปีงบประมาณ 2566
ครปู ระจาศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง”บ้านสะนามใต้ จดั ทาประชาคม ในชุมชนบ้านสะนามใต้
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอฝางดาเนนิ การมอบทุนการศึกษา โครงการทุนการศึกษาเดก็ สภาวะยากลาบากในเขตพ้นื ทสี่ ูงภาคเหนอื ของจงั หวัดพะเยา ประจาปีงบประมาณ 2566 ในวันท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ 2566
ขัน้ ตอนการดําเนินงาน ครปู ระจาศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” บ้านสะนามใต้ จดั ประชมุ ใหค้ วามรกู้ บั ผทู้ ่มี ี คณุ สมบตั แิ ละไดร้ ับการประกาศรายช่อื ผูไ้ ด้รับทุนการศกึ ษาฯ จากสานักงานศูนยส์ ง่ เสริมการเรยี นร้จู ังหวัดพะเยา เพ่ือวางแผนในการใชจ้ ่ายการทนกุ ารศึกษา ฯ
ศกึ ษาหาความร้เู รือ่ งการตัดผมชาย โดยการเข้าเรยี นรจู้ ากชา่ งในตัวเมืองอาเภอปง อาเภอปง จังหวัดพะเยา ในชว่ งเดือน ธนั วาคม 2565 เรยี นอยู่ 1 เดือน
จดั ซ้อื อุปกรณก์ ารตัดผม ไดแ้ ก่ ปตั ตาเล่ยี นไรส้ าย และอปุ กรณใ์ นการตัดผมชาย
ปรบั ปรุงพ้นื ท่หี นา้ บา้ นของญาตพิ ี่นอ้ ง เปน็ รา้ นตดั ผม
ไดอ้ าสาตัดผมโดยการออกหนว่ ยแพทยเ์ คล่อื นท่ี พอ.สว.รว่ มกบั ศนู ยส์ ง่ เสริมการเรยี นรอู้ าเภอปง ณ บ้านหว้ ยกอกและบา้ นห้วยเอย๋ี น หมทู่ ่ี 2 ตาบลผาชา้ งน้อย อาเภอปง จงั หวดั พะยา
มกี ารเปิดใหบ้ รกิ ารตดั ผมชายเบ้อื งตน้ ไดแ้ ก่ ทรงนกั เรยี น และ รองทรงสงู
ขั้นตอนการติดตามและประเมนิ ผล ครปู ระจาศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านสะนามใต้ ตดิ ตามและใหค้ าแนะนาใน การนาทนุ ไปใชจ้ ่ายในโครงการอาชีพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
Search