Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore supakit106

supakit106

Published by skayy061, 2020-02-12 22:02:08

Description: supakit106

Search

Read the Text Version

สงั คม

คำนำ หนังสือเล่มน้ี สังคมศึกษาน่ารู้เล่นน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาการสร้าง หนงั สือ ซ่ึงขา้ พเจา้ ไดร้ ับหมอบหมายจดหมายจากรูให้จดั ทาหนงั สือเล่มน้ี ตามความสนใจประกอบไปดว้ ย สงั คม ขอขอบคุณครูประภสั สร ก๋าเขียว ท่ีให้คาแนะนา ปรึกษาที่ช่วยให้ คาแนะนา ตลอดจนหนงั สือเล่มน้ีเสร็จลุล่วงไปดว้ ยดี หากผดิ พลาดประการ ใดกข็ ออภยั ณ ท่ีน้ีดว้ ย

สำรบญั คำนำ หน้ำ สำรบญั 1 2

เนือ้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรชั ญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ย เดชมพี ระราชดารัสแกช่ าวไทยนบั ตั้งแต่ พ.ศ. 2517 เปน็ ตน้ มา และถกู พูดถึงอย่างชัดเจนใน วนั ท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพ่ือเป็นแนวทางการแกไ้ ขวิกฤตการณ์ทางการเงนิ ในเอเชีย พ.ศ. 2540 ใหส้ ามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมน่ั คงและย่งั ยืนในกระแสโลกาภวิ ัตน์และความ เปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ เศรษฐกิจพอเพยี งมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณก์ ารพัฒนาของประเทศ โดย ปัญญาชนในสังคมไทยหลายทา่ นได้รว่ มแสดงความคดิ เห็น อย่างเชน่ ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภชิ ยั พันและศ.ฉตั รทพิ ย์ นาถสภุ า โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชมุ ชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองคก์ รนอกภาครฐั จานวน หน่ึงนับตงั้ แต่พุทธทศวรรษ 2520 และไดช้ ่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ ท่ีร้จู กั อย่าง กว้างขวางในสงั คมไทย

สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตไิ ด้เชิญผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ในทางเศรษฐกจิ และสาขาอืน่ ๆ มาร่วมกนั ประมวลและกลน่ั กรองพระราชดารัสเร่อื ง เศรษฐกิจพอเพียงเพ่อื บรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 9 และไดจ้ ัดทาเปน็ บทความเรอื่ ง “ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” และไดน้ าความ กราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวนิ ิจฉยั เมื่อวนั ที่ 22 ตลุ าคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรณุ าปรับปรงุ แกไ้ ขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรด เกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชาอณุญาตใิ หน้ าบทความท่ีทรงแกไ้ ขแล้วไปเผยแพร่ เพอ่ื เป็นแนวทางปฏิบัตขิ องสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คม แหง่ ชาติและทกุ ฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยท่วั ไป เมอื่ วันท่ี 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2542 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งนไ้ี ดร้ บั การเชดิ ชจู ากองค์การสหประชาชาติ วา่ เปน็ ปรชั ญา ทมี่ ีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนนุ ให้ประเทศสมาชิกยึด เป็นแนวทางสกู่ ารพัฒนาแบบยง่ั ยนื โดยมีนกั วชิ าการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคน เห็นดว้ ยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกนั บางส่ือตงั้ คาถามถึงการ ยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทัง้ ความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าที ขององค์การ

“การพัฒนาประเทศจาเปน็ ตอ้ งทาหลักปรัชญา ตามลาดบั ขั้น ตอ้ งสรา้ งพืน้ ฐาน คือ ความพอมีพอกนิ พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เปน็ อันพอควรและปฏิบตั ไิ ดแ้ ลว้ จึงค่อยสร้างคอ่ ยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกจิ ข้ันท่ี สงู ขึ้นโดยลาดับต่อไป หากม่งุ แตจ่ ะทมุ่ เทสร้างความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ขึน้ ให้รวดเรว็ แต่ ประการเดียว โดยไมใ่ ห้แผนปฏิบัติการสมั พันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชน โดยสอดคลอ้ งด้วย กจ็ ะเกิดความไม่สมดลุ ในเร่อื งต่าง ๆ ขนึ้ ซ่ึงอาจกลายเป็นความ ย่งุ ยากล้มเหลวได้ในทส่ี ุด” พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั รของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วันพฤหสั บดที ี่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรชั ญาท่ียดึ หลักทางสายกลาง ท่ชี ีแ้ นวทางการดารงอย่แู ละ ปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มคี วามพอเพียง และมี ความพรอ้ มทจี่ ะจัดการต่อผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลง ซง่ึ จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ในการวางแผนและดาเนินการทกุ ขนั้ ตอน ทงั้ น้ี เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นการดาเนินชีวติ อย่างสมดุลและย่ังยนื เพ่ือใหส้ ามารถอยูไ่ ด้แม้ในโลกโลกาภิ วตั น์ท่ีมีการแข่งขนั สูง

พระราชดาริวา่ ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง “...การพฒั นาประเทศจาเปน็ ต้องทาตามลาดับข้นั ตอ้ งสร้างพ้ืนฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เบอ้ื งต้นกอ่ น โดยใชว้ ธิ ีการและอปุ กรณ์ที่ ประหยัดแต่ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ เมือ่ ได้พ้ืนฐานความมัน่ คงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างคอ่ ยเสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ ท่ี สงู ข้ึนโดยลาดบั ต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ท่ี พระราชทานมานานกวา่ ๓๐ ปี เป็นแนวคิดทีต่ ัง้ อย่บู นรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ตี ัง้ บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภมู ิคมุ้ กนั ในตวั เอง ตลอดจนใช้ ความรแู้ ละคุณธรรม เปน็ พนื้ ฐานในการดารงชีวิต ท่สี าคญั จะตอ้ งมี “สติ ปัญญา และความเพยี ร” ซ่งึ จะนาไปสู่ “ความสขุ ” ในการดาเนินชีวิตอยา่ งแท้จริง

ซ่งึ หมายถึง แทนที่จะเน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนาการพัฒนา ประเทศ ควรท่จี ะสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกจิ พน้ื ฐานก่อน นน่ั คือ ทาใหป้ ระชาชนใน ชนบทสว่ นใหญพ่ อมีพอกนิ กอ่ น เปน็ แนวทางการพฒั นาท่เี น้นการกระจายรายได้ เพอื่ สร้างพ้ืนฐานและความม่ันงคงทางเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ กอ่ นเน้นการพัฒนาใน ระดบั สงู ข้ึนไปเมื่อปี ๒๕๑๗ วนั นน้ั ได้พดู ถึงวา่ เราควรปฏิบตั ใิ ห้พอมพี อกิน พอมพี อกนิ นีก้ ็ แปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกนิ ก็ใช้ได้ ย่งิ ถ้าท้ังประเทศ พอมีพอกินกย็ งิ่ ดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริม่ จะเปน็ ไมพ่ อมีพอกิน บางคนก็มมี าก บาง คนกเ็ ศรษฐกิจพอเพยี ง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป็นปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทาน พระราชดารชิ ี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ ๒๕ ปี ตัง้ แตก่ ่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกจิ และเมื่อภายหลังไดท้ รงเนน้ ย้าแนวทางการ แกไ้ ขเพอื่ ให้รอดพน้ และสามารถดารงอยู่ไดอ้ ยา่ งม่ันคงและยั่งยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิ วัตนแ์ ละความ เปลย่ี นแปลงตา่ งๆไม่มเี ลย...” (๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาชถี้ งึ แนวการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุก ระดบั ตัง้ แต่ระดบั ครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ทัง้ ในการพฒั นาและบริหาร ประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทัน ตอ่ โลกยุคโลกาภิวตั น์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในภายนอก ทง้ั น้ี จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอยา่ งยงิ่ ในการนาวิชาการต่างๆ มาใชใ้ นการวางแผน และการดาเนินการ ทกุ ขนั้ ตอน และขณะเดียวกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพนื้ ฐานจติ ใจของ คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั นักทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทุกระดับ ใหม้ สี านึก ในคุณธรรม ความซอื่ สตั ย์สุจรติ และใหม้ ีความรอบรู้ทเี่ หมาะสม ดาเนนิ ชวี ิตดว้ ยความ อดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพอื่ ให้สมดุลและพร้อมต่อการ รองรบั การเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทง้ั ด้านวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อยำ่ งดี

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ ประกอบดว้ ยคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไ่ี มน่ อ้ ยเกินไปและไม่มาก เกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและผอู้ ื่น เชน่ การผลติ และการบริโภคท่ี อยใู่ นระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกับระดบั ความพอเพียงน้ัน จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมีเหตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถึงผลท่คี าดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานน้ั ๆ อยา่ ง รอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกนั หมายถงึ การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรับผลกระทบและการ เปลย่ี นแปลงด้านตา่ งๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปไดข้ อง สถานการณต์ ่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกดิ ข้ึนในอนาคต โดยมี เงอื่ นไข ของการตัดสนิ ใจและดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับ พอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี

๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ ก่ียวกับวิชาการต่างๆ ท่ี เกย่ี วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรู้เหลา่ นนั้ มาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ ๒. เงื่อนไขคณุ ธรรม ท่ีจะต้องเสรมิ สร้าง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วามซือ่ สตั ยส์ จุ ริตและมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้ สติปญั ญาในการดาเนินชวี ิต












Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook