ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏิบตั ิงานทดี่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง ไตรมาส 3-4 ประจำปงี บประมาณ 2564 (ดา้ นการศึกษาเพอื่ พฒั นาอาชพี ) การทำกาละแมนำ้ ออ้ ย นางสาวภาณมุ าศ ต๊ปิ กรณ์ ครู กศน.ตำบล สังกดั ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภูซาง สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พะเยา สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ กศน.ตำบลสบบง สงั กดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภซู าง ทีศ่ ธ 0210.4707(05) / 113 วันที่ 20 กนั ยายน 2564 เร่อื ง รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดี (Best Practice ) ตำบลสบบง ไตรมาส 3-4 ประจำปี 2564 เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอภูซาง เรอ่ื งเดิม ตามที่ กศน.ตำบลสบบง สังกดั กศน.อำเภอภูซาง ไดด้ ำเนนิ การปฏบิ ตั ติ ามแผนปฏิบตั ิงาน การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาต่อเนื่องในพื้นที่ตำบลสบบง เป็นทเี่ รียบร้อยแล้วนน้ั ข้อเท็จจริง บัดนี้ ข้าพเจ้า นางสาวภาณุมาศ ติ๊ปกรณ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล ได้ดำเนินการ ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษา ต่อเนื่องในพื้นที่ตำบลสบบงจึงขอส่งรายงานผลการปฏิบัติงานที่ ดี (Best Practice ) ตำบลสบบง ไตรมาส 3-4 ประจำปี 2564 ตามรายละเอียดดังแนบ จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ ( นางสาวภาณมุ าศ ติป๊ กรณ์ ) ครู กศน.ตำบล ทราบ (นางสาวศภุ ลักษณ์ เธียรเรอื งนนท์) ผู้อำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอภซู าง ผลการปฏบิ ัติงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง ไตรมาส 3-4 ประจำปงี บประมาณ 2564 (ด้านการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ) 1. ชอ่ื ผลงาน การทำกาละแมนำ้ อ้อย 2. ชื่อเจ้าของผลงาน นางสาวภาณมุ าศ ติ๊ปกรณ์ ครู กศน.ตำบล 3. หน่วยงาน / สถานศกึ ษา กศน.ตำบลสบบง อำเภอภซู าง จังหวัดพะเยา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอภูซาง สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา 4. ความสอดคล้อง นโยบายและจดุ เน้นการดาํ เนนิ งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ 1.2 จัดใหม้ ี “หน่ึงชมุ ชน หนง่ึ นวัตกรรมการพัฒนาชุมชน” เพ่อื ความกินดี อยู่ดี มีงานทำ 2. สง่ สริมการการศกึ ษาและการเรียนร้ตู ลอดชวี ิตสำหรับประชาชนทเ่ี หมาะสมกบั ทุกช่วงวัย 2.1 การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผรู้ บั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูค้ วามสามารถเพ่อื นําไปใช้ในการพฒั นาอาชีพได้ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ 4.ขยายโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาและการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิตจุดเนน้ การ ดำเนินงาน 4.5 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน. ช่วยประชาชน” เชน่ จดั การเรยี นวิชาชีพระยะสัน้ (โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน) ให้กบั ประชาชนทีส่ อดคล้องกับความต้องการ ของ ตลาดแรงงาน บริบทของพ้ืนที่ จดั การศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคุณภาพชีวติ ให้กับประชาชนและกลุ่มผู้สูงอายุ และการพัฒนาทักษะชีวิต ในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม และการเข้าสู่ สงั คมเศรษฐกิจท่ขี ับเคลือ่ นดว้ ยนวตั กรรม ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน การประกนั คุณภาพการศึกษาภายนอกของ สมศ. กลมุ่ ตัวบง่ ช้พี ื้นฐาน ตวั บง่ ช้ีที่ 5 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รยี น ตวั บ่งช้ีท่ี 5.2 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรยี น การศึกษาต่อเน่อื งที่สามารถจบ การศกึ ษา ตามหลักสตู ร/โครงการ ตวั บ่งช้ีท่ี 5.3 ผู้เรียนการศกึ ษาต่อเนื่องท่ีนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สอดคล้องกบั มาตรฐาน ตวั บ่งชก้ี ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน/ผูร้ ับบรกิ าร ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.6 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผเู้ รยี นการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ท่ี 1.7 ผเู้ รียนมงี านทำหรือมรี ายได้เสรมิ มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงาน รว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ และมเี จตคติที่ดตี อ่ อาชพี สจุ ริต มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บรกิ าร ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.1 คณุ ภาพของหลักสูตร ตวั บ่งชีท้ ี่ 2.4 คุณภาพผ้สู อน/วทิ ยากรสอนการศึกษาตอ่ เน่ือง ตวั บง่ ชีท้ ่ี 2.5 คณุ ภาพสื่อท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรูข้ องผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ าร 5. ที่มาและความสำคญั ของผลงาน เนื่องจากนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เรื่องการจัด การศึกษาเพื่อการมีอาชีพ มีรายได้ ลดรายจ่ายและการมีงานทำ โดยมีเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมของ ประเทศไทยเพื่อใหส้ ามารถก้าวส่ปู ระชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก สำนกั งาน กศน.มบี ทบาทหน้าที่ในการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซง่ึ ประกอบไปด้วยการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การจัดการ ศึกษาต่อเนื่องและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีนโยบายด้านการสนับสนุนจัดให้มี “หนึ่งชุมชน หน่ึง นวัตกรรมการพัฒนาชุมชน” เพื่อความกินดี อยู่ดี มีงานทำส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำใน รูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของ สำนักงาน กศน. ได้เล็งเหน็ ว่าภารกิจของ กศน. ในการจดั การศึกษาต่อเน่ือง ซึ่งประกอบด้วยการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงาน การพัฒนาทักษะชีวิตและการพัฒนาสังคมและชุมชน ในปัจจุบันการพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพเป็นการแก้ปัญหา การว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชนเป็นเรื่องที่สำคัญ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทำให้สามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขได้ ดังนนั้ เพอื่ ให้การพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนตำบล สบบงดขี นึ้ ทาง กศน.ตำบลสบบงจึงได้จัดทำโครงการจัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทำข้นึ ผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
พืน้ ทตี่ ำบลสบบงสว่ นใหญ่รอ้ ยละ 90 ทำการเกษตร ทำไร่ ทำสวน พชื ทป่ี ลกู ในการเกษตร ได้แก่ อ้อย ข้าว ข้าวโพด ถั่วลิสง เป็นต้น พื้นที่ตำบลสบบงพืชท่ีขึ้นชื่อ คือ อ้อย เป็นแหล่งผลิตน้ำออ้ ยหวานที่ส่งขายตาม ทอ้ งตลาดท่ัวไป ท้งั น้ำอ้อยสด นำ้ ออ้ ยกอ้ น และนำ้ อ้อยผง และผลิตภัณฑ์อกี หนง่ึ อยา่ งทข่ี ้ึนช่ือของตำบลสบบง คอื กาละแมโบราณมรี สชาติหอมหวานแบบดง่ั เดิม กศน.ตำบลสบบง จึงอยากส่งเสริมการแปรรูปน้ำอ้อยตำบลสบบงในรูปแบบอื่นโดยการนำน้ำอ้อยท่ี เป็นวัตถุดิบขึ้นชื่อตำบลสบบงมาเป็นส่วนผสมของกาละแม เพื่อเพิ่มมูลค่าวัตถุดิบในท้องถิ่นให้สูงขึ้นและมี รสชาดอรอ่ ยทีไ่ ด้จากวัตถุดบิ ในท้องถน่ิ สำหรับกาละแมน้ำออ้ ยท่ีทางกลุ่มผลิตออกมาน้ันจะเปน็ กาละแมท่ีเน้น รสชาดความอร่อย คุณภาพและราคาเหมาะสม มีการสร้างรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ทำให้เมื่อนำ ออกวางจำหน่ายในงานออกร้านหรืองานแสดงสินค้าในโอกาสต่างๆสามารถจำหน่ายได้ ทำให้ทางกลุ่มต้องมี การกระจายงานให้กับทางกลุ่มเยาวชนและประชาชนท่ีมีความสนใจและต้องการมีรายได้เสริมรว่ มช่วยกันผลิต สินคา้ 6. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนในพ้นื ที่มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะอาชีพการทำกาละแมนำ้ ออ้ ย 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้ 3. เพื่อให้ประชาชนเรียนรู้ทักษะการแปรรูปวัตถุดิบในชุมชนให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและส่งจำหน่ายใน ท้องตลาดไดแ้ ละตอ่ ยอดการทำกาละแมน้ำอ้อยให้ดีขน้ึ 7. กระบวนการหรือขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน 7.1 จดั ทำเวทเี พ่ือสำรวจความตอ้ งการด้านอาชีพของประชาชน 7.2 จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการ 7.3 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน 7.4 ประสานงานวิทยากรและกลมุ่ เปา้ หมาย 7.5 ดำเนนิ กิจกรรมตามปฏิทินปฏบิ ตั ิงานกระบวนการทำงานของกลมุ่ 7.6 มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริการ และนำขอ้ เสนอนไ่ี ด้รบั ไปปรบั ปรุงแก้ไข เพือ่ พฒั นาการผลิตและจำหน่ายกาละแมน้ำอ้อยใหด้ ีข้ึน ผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
8. การทำงานของกลุ่มอาชีพการทำกาละแมน้ำออ้ ย มกี ารออกแบบขน้ั ตอนการทำงานศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลกั สตู รการทำกาละแมน้ำอ้อย จำนวน 20 ช่วั โมง ซ่ึงมขี ั้นตอนการทำงานกลมุ่ อาชพี ดังนี้ จัดตง้ั กลมุ่ อาชีพตาม ความสนใจ จดั กิจกรรมตามแผน ฝึกปฏิบตั ิการทำกาละแมนำ้ อ้อย บรรลุวตั ถุประสงคห์ รอื ไม่ ปรบั ปรุงการจัดกิจกรรม ประเมินผลรวม สรุปผลการปฏบิ ัตงิ าน เผยแพร่ ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
8. ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ 8.1 ตวั ช้ีวัดผลผลติ สมาชิกกลมุ่ มรี ายไดเ้ พิม่ มากขึน้ และมีความพงึ พอใจในการให้บริการ คิดเป็นร้อยละ 80 ขน้ึ ไป 8.2. ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ สมาชกิ กลุ่มสามารถนำความรทู้ ี่ได้รับไปปรบั ใชส้ ร้างรายได้ใหก้ ับตนเอง ครอบครัวได้ 9. การประเมนิ ผลและเคร่อื งมือประเมนิ ผล ประเมนิ ผลโดยใชแ้ บบประเมินความพึงพอใจของผ้มู าใช้บริการกลมุ่ กาละแมนำ้ อ้อย บา้ นสบบง หมูท่ ี่ 2 ตำบลสบบง อำเภอภูซาง จงั หวัดพะเยา 10. ผลการดำเนินงาน 10.1 จำนวนผูใ้ ช้บรกิ ารการซื้อกาละแมนำ้ อ้อยเพิ่มข้นึ 10.2 กาละแมน้ำอ้อยมชี ื่อเสยี งเปน็ ทร่ี ู้จกั ของตำบลสบบง อำเภอภูซาง 10.3. ผู้รบั บรกิ าร มีความพึงพอใจต่อการใชบ้ ริการการผลติ และจำหน่ายกาละแมน้ำอ้อย 11. บทสรปุ กศน.ตำบลสบบง เป็นผู้สนับสนุน กระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลสบบง ได้ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ เหน็ คุณคา่ ของการมีส่วนรว่ มในกระบวนการทำงานและนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั สร้างรายได้ ให้กับตนเอง ครอบครัว การเตรียมแผนในการดำเนินงานให้บรรลุตามแผน มีการดำเนินการตามแนวทาง วงจรคณุ ภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ดงั นี้ ดา้ นการวางแผน (P) 1. สำรวจความต้องการ วิเคราะหค์ วามต้องการของประชาชนในพ้ืนทีต่ ำบลสบบง โดยใช้แบบ ประเมินความพงึ พอใจ เพ่ือนำข้อมลู ไปวางแผนในการจดั กิจกรรม 2. วเิ คราะห์งานตามบทบาทหนา้ ท่ี และวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งท่ีเกย่ี วข้อง เชน่ ยุทธศาสตรแ์ ละ จดุ เน้นการดำเนินงาน กศน. ซึ่งจากการวเิ คราะหเ์ ห็นไดว้ ่าสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน กศน. ในเรือ่ งการจัดกจิ กรรมอาชีพให้สอดคล้องกบั ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย ผลการปฏบิ ัติงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
3. ค้นหา Best Practice โดยพจิ ารณาประเด็น ดงั นี้ - เปน็ เรือ่ งทเ่ี ก่ียวกับภารกิจโดยตรงของบทบาทหนา้ ที่ - สนองนโยบาย การแกป้ ัญหา การพัฒนาประสิทธิภาพของผ้รู บั บริการ - มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ รกิ าร - มกี ารพัฒนาปรับปรุงตอ่ ไป 4. วางแผนการจดั กิจกรรม ณ บ้านสบบง หมทู่ ่ี 2 ตำบลสบบง อำเภอภซู าง จงั หวดั พะเยา 5. วางแผนการตดิ ตามประเมินผล โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ด้านการดำเนนิ งาน (D) ดำเนินการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพการทำกาละแมโดยมีการปฏบิ ัติดงั นี้ 1. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชีพหลกั สตู รการทำกาละแมน้ำออ้ ย 2. จัดต้งั สมาชกิ กลมุ่ เพือ่ ตงั้ เป็นกลมุ่ วสิ าหกิจชมุ ชน ด้านการตรวจสอบประเมินผล (C) 1. ประเมนิ ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อการใชบ้ รกิ ารของกลมุ่ สมาชิกการทำกาละแมนำ้ ออ้ ย 2. มีการนิเทศติดตามและประเมินผล โดยครู กศน.ตำบล ครอู าสาฯ ข้าราชการครู เป็นผตู้ ดิ ตาม ให้ คำแนะนำ ด้านการปรับปรุงและพฒั นาผลการปฏบิ ตั งิ าน (A) นำขอ้ เสนอแนะของผใู้ ช้บริการ เพ่อื นำไปพัฒนาปรับปรุงในการดำเนินงานในคร้ังต่อไป เพื่อให้ ผลติ ภัณฑก์ าละแมมีคุณภาพมากขึน้ โดยการพัฒนาให้กาละแมมสี ว่ นผสมของวตั ถุดบิ ในชมุ ชนที่มีรสชาดอร่อย และสามารถเกบ็ ไว้นานโดยการเนน้ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ทปี่ ลอดสารปนเปื้อน รวมท้ังอยากให้มกี ารต่อยอดกาละแม นำ้ ออ้ ยใหเ้ ป็นเหมือนลูกอมนมชูกา้ ทีข่ ายตามท้องตลาดทม่ี ีลักษณะเหนียวนมุ่ เค้ียวอร่อยและเก็บไวไ้ ดน้ าน ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
12. กลยทุ ธห์ รือปัจจยั ที่ทำใหป้ ระสบความสำเรจ็ 12.1 การมสี ่วนรว่ มของครู ภาคเี ครือข่ายและชมุ ชน ในการวเิ คราะห์ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ทำให้รู้ สภาพปญั หา และความตอ้ งการของชมุ ชนให้ไปสู่เป้าหมายตามท่ตี ้องการได้ 12.2 มีดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ที่เริ่มจากการสำรวจ สภาพความตอ้ งการของผใู้ ช้บรกิ าร รวบรวมขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วข้องมาพฒั นาผลิตภัณฑก์ าละแม มีการประเมนิ และ สรุปผลการดำเนินงาน ที่สำคัญได้นำข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริการไปพัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผใู้ ชบ้ ริการใหม้ คี ณุ ภาพมากยิ่งขนึ้ 13. ข้อเสนอแนะ - ทางกลุ่มอยากต่อยอดการทำกาละแมน้ำอ้อยให้เหมอื นกับลูกอมนมชูกา้ ท่ีขายตามท้องตลาดทีม่ ี ลกั ษณะเหนยี วนุ่ม เคีย้ วอร่อยและเกบ็ ไวไ้ ด้นาน - มเี พจการขายกาละแมน้ำอ้อยออนไลน์ แต่ยังขายการโปรโมทสินค้าแบบตอ่ เน่ืองและเป็นปัจจุบนั 14. ภาคผนวก รูปภาพการทำกาละแมน้ำออ้ ย ผลการปฏิบัติงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ภาคผนวก ผลการปฏิบตั ิงานทีด่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน หลกั สตู รวชิ าชพี ระยะสั้น รูปแบบกลมุ่ สนใจ การทำกาละแมนำ้ อ้อย จำนวน 20 ชัว่ โมง วัตถดุ ิบการทำกาละแมน้ำอ้อย ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ข้นั ตอนการทำกาละแมน้ำออ้ ย ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
เตรียมวสั ดหุ อ่ กาละแม ผลการปฏิบตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลสบบง
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: