Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore O36แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ 2566

O36แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ 2566

Published by Patiwat Vitheesorn, 2023-03-23 08:00:50

Description: O36แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ 2566

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัติการป้องกันการทจุ ริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร โดย กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี

1 คำนำ จากการเผยแพร่จดหมายข่าว (press release) ของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ระบุและวิเคราะห์เกี่ยวกับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ประจำปี 2565 ทจ่ี ัดทำโดยองคก์ รเพอื่ ความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) มีประเทศท่ีถูกจัด อันดับทั้งสิ้น 180 ประเทศ โดยประเทศไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้นเป็น 36 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 101 ของโลก ดีข้ึน จากปี 2564 ที่ได้คะแนน 35 คะแนน และอยู่ในอันดับที่ 110 ของโลก ผู้ที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทยเริ่มมี ทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจากภาครัฐได้มีการแก้ไขปัญหาการติดสินบน โดยมีการลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องกับสินบน อย่างจริงจัง รวมทั้งการพัฒนาระบบการอนุมัติ อนุญาต ให้มีความโปร่งใส การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ลดการใช้ ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ ประกอบกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ได้ส่งเสริมให้มีการนำระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการอนุมัติ อนุญาต ตามนโยบาย “Digital Government” ตลอดจนมีการเปิดเผยข้อมูลลงในระบบดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง ทำให้ภาคประชาชนมีความตื่นตัวในการจับตามอง การ ดำเนนิ การของหน่วยงานภาครัฐมากยิง่ ข้ึน อย่างไรกต็ าม แมค้ ะแนนดชั นีการรบั รูก้ ารทุจรติ จะเพ่มิ ขนึ้ แตเ่ ม่อื พิจารณา เฉพาะสถานการณ์ช่วงปลายปี 2565 กพ็ บว่ามเี หตุการณ์ทีเ่ กี่ยวข้องกับการทจุ รติ หลายกรณีที่น่าเป็นกังวล เช่น กรณี อธิบดีกรมอุทยานเรียกรับสินบน กรณีตำรวจขับรถนำขบวนนักท่องเที่ยวจีน เป็นต้น การรับรูก้ ารทุจริตที่อันดับ 101 ของโลก จึงยังไม่เพียงพอที่จะยืนยันว่าสถานการณ์การทุจริตในประเทศไทยดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ภาครัฐและทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องอาจต้องทำงานหนักขึ้นทั้งในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติเพื่อจัดการกับปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน ที่จะ สง่ ผลดีตอ่ การสรา้ งสงั คมทส่ี งบสุข ยุตธิ รรม และโปร่งใสตอ่ ไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นหน่วยงานภาครัฐในฐานะสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อ.ว.) ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาการทุจริต โดยการปลกู ฝงั ความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ รบั ผดิ ชอบสังคม มีวนิ ัย ตลอดจนค่านิยมอ่ืน ๆ ทถี่ ูกต้อง ผา่ นโครงการ/กิจกรรมท่ี ดำเนินงานของมหาวิทยาลัย เพื่อให้การดำเนินการบรรลุผลได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกัน การทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้ึน เพอื่ ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตภาครัฐให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครให้บรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่กำหนดไว้ และเพื่อรองรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครฐั (ITA) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 (รองศาสตราจารย์ ดร.ประกาศิต โสโกร) รองอธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร

2 สารบัญ ➢ คำนำ หน้า ➢ สารบญั ➢ บทนำ 1 2 ▪ วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 3 ▪ แผนยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนคร 4 ▪ กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกันการทุจริต ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 4 ➢ แผนปฏบิ ตั กิ ารป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 10 ▪ หลักการและเหตผุ ล ▪ วัตถปุ ระสงค์ 10 ▪ เปา้ หมาย 10 ▪ ผลท่ีคาดหวงั 11 ▪ โครงการ/กิจกรรมทสี่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) 11 12 ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมายการดำเนนิ งาน ตามประเด็นภาครฐั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ

3 บทนำ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครเป็นสถาบันอดุ มศึกษาเพื่อการพฒั นาท้องถ่นิ ตามวัตถุประสงค์ในมาตรา 7 และ ภาระหน้าทีใ่ นมาตรา 8 แหง่ พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 ดงั นี้ มาตรา 7 ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมปิ ญั ญาของท้องถิน่ สร้างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อความเจรญิ ก้าวหน้าอย่างมัน่ คงและย่งั ยืน ของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการการบำรุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง สมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทาง วิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริม วิทยฐานะครู มาตรา 8 ในการดำเนนิ งานเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ตามมาตรา 7 ให้กำหนดภาระหน้าทีข่ องมหาวิทยาลัย ดังตอ่ ไปนี้ (1) แสวงหาความจริงเพื่อสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ ภูมปิ ัญญาสากล (2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม สำนึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถิ่น อีกทั้งส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลง การผลิตบัณฑิตดังกลา่ วจะตอ้ งใหม้ ี จำนวนและคุณภาพสอดคล้องกับแผนการผลติ บัณฑิตของประเทศ (3) เสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจในคณุ ค่า ความสำนึก และความภมู ใิ จในวัฒนธรรมของทอ้ งถ่นิ และของชาติ (4) เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และนักการเมืองท้องถิ่นให้มีจิตสำนึก ประชาธิปไตย คุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ของ สว่ นรวม (5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ทเี่ หมาะสมกบั การเป็นวิชาชีพชั้นสงู (6) ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ระหว่างมหาวิทยาลัย ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองคก์ รอ่นื ทง้ั ในและต่างประเทศเพ่อื การพัฒนาท้องถิ่น (7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้าน และเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการ ดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการจัดการ การ บำรุงรกั ษา และการใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอยา่ งสมดลุ และย่งั ยืน (8) ศึกษา วิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดำริในการปฏิบัติภารกิจของ มหาวิทยาลยั เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

4  วิสัยทัศน์ และพันธกิจของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร ปรัชญา : สร้างคนดี มปี ญั ญาและพ่ึงตนเอง เพ่ือการพฒั นาท้องถน่ิ และความเป็นไทยอยา่ งยัง่ ยนื วิสัยทัศน์ : เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ โดยจัดการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ ในการผลิตบัณฑติ และพัฒนาครู เพอื่ ขับเคลอื่ นการพัฒนาทอ้ งถ่ินอย่างยง่ั ยืน พันธกจิ : 1. พฒั นาท้องถ่นิ ตามมาตรา 8 แห่งพระราชบญั ญตั ิ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 2. ผลติ บณั ฑิตและพัฒนาครู ให้เปน็ ผู้มคี วามรคู้ ู่คุณธรรม มีทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 3. สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือในการจัดการศึกษา ท้ังภาครฐั เอกชน ในและต่างประเทศ 4. บูรณาการการเรยี นการสอน การวจิ ัย การบริการวิชาการ เพ่ือสร้างและประยุกตใ์ ช้องคค์ วามรู้ 5. พฒั นาระบบบริหารจัดการ ใหส้ อดรับกบั การเปลยี่ นแปลงและใช้หลกั ธรรมาภิบาล  แผนยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร ยุทธศาสตร์ที่ 1 : พฒั นาท้องถิน่ 1 เปา้ ประสงค์ : ชุมชนท้องถ่นิ ยัง่ ยนื 2 กลยทุ ธ์ : 1. สืบสานพระราชปณธิ าน 2. วฒั นธรรมนำวถิ ีชวี ติ 3. พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก 4. ชุมชนนา่ อยู่ ส่ิงแวดลอ้ มย่ังยืน 5. เครอื ข่ายความร่วมมอื พัฒนาท้องถิ่น ________________________________________ 1 การพัฒนาท้องถิ่น ดว้ ยการเขา้ ถงึ ท้องถิน่ โดยการบูรณาการพันธกิจ 2 จดุ มุง่ หมายในการสร้างความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนท้องถิน่ เพื่อการพัฒนาท่ียงั่ ยนื

5 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : ผลิตบัณฑิตและพัฒนาครู3 เปา้ ประสงค์ : ผลผลิตและพัฒนาครูมคี ุณภาพ4 กลยทุ ธ์ : 1. ผลผลติ สอดรบั กับความต้องการ 2. ความรู้คคู่ ุณธรรมนำสงั คม 3. มปี ัญญา พ่งึ พาตนเอง 4. บัณฑติ และครู ไดม้ าตรฐานวิชาชพี 5. เครือขา่ ยความร่วมมอื จัดการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : ยกคุณภาพการศกึ ษา5 เปา้ ประสงค์ : นวตั กรรมสรา้ งสรรค์6 กลยุทธ์ : 1. บูรณาการการสอน วจิ ยั บริการ ยดื หยุ่นตามอัธยาศยั 2. หลักสตู รไดม้ าตรฐานวิชาชพี มุง่ เน้นการปฏบิ ัติไดจ้ รงิ 3. อาจารยม์ ีศกั ยภาพ และมีเครอื ข่ายความรูส้ กู่ ารปฏบิ ัติ 4. พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5. หลกั ประกนั คุณภาพการศึกษา การวดั และประเมนิ ผล ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ7 เป้าประสงค์ : ยึดหลักธรรมาภิบาล8 กลยทุ ธ์ : 1. ปรบั โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การ 2. ภาระงานครอบคลุมพันธกจิ 3. พัฒนาบคุ ลากรทุกระดับ 4. ศกั ยภาพการบรหิ าร สมรรถนะการบรกิ าร 5. บคุ ลากรมัน่ คง กา้ วหนา้ ในอาชพี _________________________________________ 3 การผลติ บัณฑิตและพฒั นาครู ใหม้ คี วามเป็นเลิศทางวชิ าการ มีคณุ ธรรม และจริยธรรม 4 จดุ มงุ่ หมายในการผลติ บัณฑิต และพฒั นาครู ใหม้ ีคุณภาพ ไดม้ าตรฐานสากล มีจรรยาบรรณ 5 การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ใหส้ ามารถสรา้ งองค์ความรู้และนวตั กรรม นำมาใช้ในการพฒั นา 6 จดุ มุ่งหมายเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพอาจารย์ บุคลากร และนักศกึ ษา ใหม้ ีสมรรถนะในการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม 7 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ เพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพในการบริหารจัดการ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล 8 จุดมุง่ หมายในการจัดทำแผนพฒั นาและเพิ่มศกั ยภาพบคุ คลใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล

6  กรอบแนวคิดในการจดั ทำแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกนั การทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีการยกระดับการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยยุคใหม่ (Modern Management) ที่เน้นความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ภารกิจ ความโปร่งใส ในทุกระดับตั้งแต่ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา หน่วยงาน บุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยมีการทบทวนเป้าหมายแผนงาน บูรณาการ แนวทางและตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อจัดทำ แผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั การทุจริต ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ใชเ้ ป็นแนวทางในการปอ้ งกัน ลดโอกาสการกระทำ และไม่สนับสนุนการทุจริตขึ้นในมหาวิทยาลัย อีกทั้งเป็นแนวทางส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต แก่ บุคลากรทุกระดับ โดยยึดตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี สู่การเป็นองค์กรใสสะอาด ซึ่งสอดคล้องและเชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตรแ์ ละแผนแมบ่ ทต่างๆ ดังนี้ 1) ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสู่การ ปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน จะมุ่งเน้นการสร้างสมดลุ ระหว่างการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั ในส่วนของยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการ พัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” บทบาทหน่วยงานของรัฐที่ท่าหน้าท่ีในการกำกับหรือในการใหบ้ ริการยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทำงาน ให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามา ประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่า และปฏิบตั ิงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปดิ กว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิด โอกาสให้ทุกภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกนั ปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสำนกึ ในการปฏิเสธ ไมย่ อมรับการทุจริตประพฤติมชิ อบอยา่ งส้ินเชิง ซง่ึ ตวั ช้วี ดั ทเ่ี ก่ยี วกับการปอ้ งกันการทจุ รติ คอื ตัวชีว้ ดั ท่ี 3 ระดับความ โปร่งใส การทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบ มีประเด็นแนวทางในการพฒั นาทส่ี ำคัญ ดังนี้ 1. ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคมร่วมมือกันในการป้องกันการทุจรติ และประพฤติมิชอบ รัฐ ต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน จัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ

7 ดงั กล่าวอย่างเข้มงวด รวมท้งั ส่งเสรมิ และเสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนโดยเฉพาะการเขา้ ถึงข้อมูลข่าวสาร การรณรงคใ์ ห้ความรู้ ต่อต้าน หรือช้เี บาะแสการทุจริต โดยไดร้ ับความค้มุ ครองจากรัฐตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ พร้อมท้ัง มีระบบการรบั เรอื่ งรอ้ งเรียนการทจุ ริตและประพฤติมิชอบท่ีมปี ระสิทธภิ าพ 2. บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต กำหนดให้เจ้า พนักงานของรัฐต้องยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลีกเลี่ยง การขดั กันระหวา่ งประโยชนบ์ คุ คลและประโยชนส์ ่วนรวม รวมท้งั ย่ืนบัญชีทรพั ยส์ ินและหนีส้ นิ ของตนเอง คู่สมรส และ บตุ รทยี่ ังไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ โดยเฉพาะผูด้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมือง ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ผูด้ ำรงตำแหน่งในองค์กร อิสระ ผู้วา่ การตรวจเงินแผน่ ดนิ และผู้ดำรงตำแหนง่ ระดับสงู ตามท่ีกฎหมายกำหนด จะตอ้ งเปดิ เผยบญั ชีแสดงรายการ ทรัพยส์ นิ และหนสี้ นิ ให้ประชาชนทราบ 3. การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เป็นธรรม และ ตรวจสอบได้ จัดการกับผู้กระทำความผิดทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกระดับอย่างตรงไปตรงมา เป็นธรรม และ ตรวจสอบได้ พร้อมทั้งให้การดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมปราศจากการแทรกแซงของนักการเมืองและผู้มี อิทธิพล ตลอดจนวางมาตรการคุ้มครองพยานและผู้ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ต้องกำหนดให้มีการลงโทษผู้กระทำผิด กรณที จุ รติ และประพฤติมชิ อบอย่างจรงิ จังและรวดเรว็ 4. การบริหารจดั การการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบแบบบรู ณาการ จัดให้ มีกลไกการประสานงานการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ทั้งในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และการขับเคลื่อน นโยบายและยุทธศาสตร์ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิช อบ โดย การพัฒนาระบบงานและโครงสร้างองคก์ รท่เี ออื้ ต่อการดำเนินงานแบบบูรณาการและมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ 2) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ในอนาคต การทุจริตน่าจะทวีความรุนแรง ซับซ้อน และยากแก่การตรวจสอบมากยิ่งขึ้น อันเนื่องมาจาก เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยและก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ ของสังคมโลก เพื่อให้สามารถระงบั ยับยั้งการทจุ ริตได้อยา่ ง เทา่ ทนั ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อประเทศ ควรม่งุ เน้นการพัฒนากลไกและกระบวนการป้องกนั การทุจริตให้มีความ เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพในทุกหน่วยของสังคมทั้งระดับบุคคลและระดับองค์กร โดยสร้างจิตสำนึกและค่านิยมให้ ทุกภาคส่วนต่ืนตัว และละอายต่อการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบทุกรปู แบบ สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ภาคีองคก์ รภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชนและประชาชน และเครือข่ายต่าง ๆ สอดส่องเฝ้าระวัง ให้ข้อมูลและร่วมตรวจสอบการ ดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐตามความเหมาะสม โดยมีการวางมาตรการคุ้มครองพยานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็น การสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัญหาการทุจริตและสร้างพลังร่วมในการแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ พร้อมทั้ง สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของบุคลากรภาครัฐ และกำหนดมาตรการให้หน่วยงานภาครัฐ และทกุ ภาคสว่ นดำเนนิ งานอย่างโปร่งใส เพอ่ื เสริมสร้างคุณธรรมความสจุ ริตและความซ่ือสัตย์ ความโปรง่ ใส และเป็น ธรรม จึงกำหนดแนวทางการพัฒนา ดงั นี้

8 1. ปลูกและปลุกจิตสำนึกการเป็นพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสุจริต และการปลูกฝัง และหล่อหลอม วฒั นธรรมในกลมุ่ เดก็ และเยาวชนทุกช่วงวยั ทกุ ระดับ 2. ส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้ มีความใสสะอาด ปราศจาก พฤติกรรมทส่ี ่อไปในทางทจุ รติ 3. พัฒนาค่านิยมของนักการเมืองให้มีเจตนารมณ์ท่ีแนว่ แน่ในการทำตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ความซื่อสัตย์สจุ รติ เหน็ แก่ประโยชนส์ ่วนรวม 4. ปรบั “ระบบ” เพื่อลดจำนวนคดที จุ ริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ 5. ปรับระบบงานและโครงสรา้ งองคก์ รทเ่ี อ้อื ตอ่ การลดการใชด้ ุลพนิ ิจในการปฏิบตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ี 3) แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ (ฉบับปรบั ปรุง) มีเป้าประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริมสนับสนุน และให้ความรู้แก่ ประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กำกับ ติดตาม การบริหารจัดการของ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตของบุคลากรใช้ดุลยพินิจโดย สุจริต ภายใต้กรอบธรรมาภิบาลและการกำกับกิจการที่ดีอย่างแท้จริง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภาครัฐให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบได้ และสนับสนุนแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนในการต่อต้านการทุจริตเพื่อ ขจัดปัญหาการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐ โดยกำหนดกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้ เกิดการเปลย่ี นแปลงต่อประชาชนอย่างมนี ัยสำคญั จำนวน 5 กจิ กรรม ประกอบดว้ ย 1. สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมของภาคประชาชนในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ 2. พฒั นาระบบคุม้ ครองผแู้ จง้ เบาะแสการทุจรติ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ 3. พัฒนากระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว โปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ ในการดำเนินคดีทุจริตทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน 4. พฒั นาระบบราชการไทยใหโ้ ปร่งใส ไร้ผลประโยชน์ และ 5. พฒั นามาตรการสกัดก้ันการทจุ รติ เชิงนโยบายในการดำเนนิ โครงการขนาดใหญ่ ทั้งน้ี ในการดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนได้รับการบริการภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับ การส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงภัยที่เกิดจากการทุจริต ตลอดจนจัดให้มีกลไกที่มีประสิทธิภาพ และกลไกในการส่งเสริมการรวมตัวและมสี ว่ นร่วมของประชาชนเพอ่ื สอดส่องและป้องกนั การทุจรติ เปน็ กำลังสำคัญใน การขบั เคลอ่ื นประเทศใหบ้ รรลุเป้าหมายแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติและยทุ ธศาสตร์ชาติต่อไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้ดำเนินโครงการ/ กิจกรรมสำคัญเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันการทุจริตมาอย่างต่อเน่ือง ซึ่งในปี 2566 ยังคงให้ ความสำคัญกับการดำเนินการตามแผนขบั เคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงต่อประชาชนอย่าง

9 มีนัยสำคัญ (Big Rock) ด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ เป้าหมายของการพัฒนา ระบบราชการไทยให้โปร่งใส ไร้ผลประโยชน์ โดย 1. ให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยประกาศตนเป็นหน่วยงานท่ี เจ้าหน้าทีข่ องรัฐทกุ คนไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่ (No Gift Policy) 2. มีการบริหาร บุคคลภาครัฐในระบบคุณธรรมตามรัฐธรรมนูญบัญญัติ พร้อมกับให้มีมาตรฐานทางจริยธรรมเกี่ยวกับการขัดกัน ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับส่วนรวม และยกระดบั มาตรการป้องกันและแก้ไขปญั หาการขดั กันระหวา่ งประโยชน์ส่วน ตนกับส่วนรวมเป็นกฎหมาย 3. มีการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐต่อหัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐที่ตนสังกัดหรือปฏิบัติงานอยู่ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการตรวจสอบการร่ ำรวย ผิดปกติ และ 4. หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั จดั ทำแผนบริหารความเส่ียงเกย่ี วกับการประพฤตมิ ิชอบและร่ำรวยผิดปกติ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงาน และบังคับใช้มาตรการทางจริยธรรม วินัย และอาญาต่อผู้กระทำผิดอย่างรวดเร็ว และเป็นธรรม พร้อมกับนำหลักความรับผิดชอบในการกระทำ (Accountability) มาบังคับใช้กับหัวหน้าหน่วยงาน ของรัฐในการบริหารจัดการองคก์ ารใหม้ ีประสทิ ธิภาพ โปรง่ ใส และนา่ เชอื่ ถอื โดยเฉพาะอย่างย่ิงการควบคมุ การทุจริต คอร์รปั ชนั (Corruption Control) ไมใ่ หเ้ กิดขน้ึ ในองคก์ ร 4) โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั มวี ัตถุประสงค์ 1. เพื่อการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงาน ป.ป.ช. 2. เพื่อให้มหาวิทยาลัยบริหารงานและปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยมุ่งตอบสนองความ ต้องการของผรู้ บั บริการ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี และประชาชนดว้ ยความเสมอภาค โปรง่ ใส และเปน็ ธรรม 3. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองคก์ รคุณธรรมและโปร่งใส (Organization of Integrity) ส่งเสรมิ บุคลากรมี จิตสำนึกในการปฏิเสธการรับของขวัญและของกำนัลทุกชนิด ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนจากการปฏิบัติหน้าที่ และ ปอ้ งกันการทุจรติ ทกุ รปู แบบ

10 แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันการทจุ รติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร  หลักการและเหตผุ ล เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมาย รว่ มกนั ปลูกฝังค่านยิ มความซ่อื สตั ย์สุจริต ความมัธยสั ถ์ และสร้างจติ สำนึกในการปฏเิ สธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติ มชิ อบอย่างส้ินเชงิ สอดคล้องกับแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ โดยสร้างจิตสำนึกและคา่ นิยมให้ทกุ ภาคส่วนตื่นตัว และละอายต่อการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบทุกรูปแบบ พร้อมท้ัง สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของบุคลากรภาครัฐ และกำหนดมาตรการให้ดำเนินงานอย่าง โปร่งใส เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมความสุจริตและความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส และเป็นธรรม แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ มุ่งเนน้ การพฒั นากลไกและกระบวนการป้องกันการทจุ รติ ใหม้ ีความเข้มแข็งและมปี ระสิทธภิ าพในทุก หน่วยของสังคมทั้งระดับบุคคลและระดับองค์กร โดยสร้างจิตสำนึกและค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัว และละอายต่อ การทุจริตและประพฤติมิชอบทกุ รูปแบบ รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ เพื่อแก้ปัญหาการทุจรติ และประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริมสนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กำกับ ติดตาม การบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบตั ิหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจรติ ของบคุ ลากรใชด้ ุลยพินิจโดยสจุ ริต ภายใตก้ รอบธรรมาภิบาลและการกำกับกิจการท่ีดอี ย่างแท้จริง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เปน็ หน่วยงานภาครฐั มีหน้าที่ตอ้ งจดั ทำแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ซึ่ง ได้มีการดำเนนิ การมาอย่างต่อเนือ่ งทุกปี โดยมีการทบทวน ปรับปรุง และพัฒนา จึงจัดทำแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันการ ทจุ ริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบบั นี้ โดยมีแนวทางในการจัดทำ คอื กรอบของยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ฉบับ ปรับปรงุ )  วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื เป็นการปอ้ งกัน ลดโอกาสการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบในการปฏิบัติหนา้ ที่ของบคุ ลากร 2. เพื่อหลีกเลีย่ งการกระทำอนั อาจมผี ลต่อการตัดสนิ ใจในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องบคุ ลากร ซ่งึ นำไปสกู่ ารเลือก ปฏบิ ัตหิ รือก่อใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ทับซ้อน 3. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษา มีจิตสำนึกและตระหนักเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต ตามหลัก ธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไปใช้ในการบริหารงานและปฏิบัติงาน 4. เพื่อส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีระบบการทำงานที่มีคุณภาพ มีความเข้มแข็ง และ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของบุคลากรให้ปฏบิ ตั งิ านตามหลกั ธรรมาภบิ าลได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

11  เปา้ หมาย 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครมีการป้องกัน ลดโอกาสการทุจริตและประพฤติมิชอบในการปฏิบัติหน้าท่ี ของบคุ ลากร 2. บุคลากรหลีกเล่ียงการกระทำอันอาจมผี ลตอ่ การตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งนำไปสูก่ ารเลือกปฏิบัติ หรอื ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทบั ซอ้ น 3. บุคลากรและนักศึกษามีจิตสำนึกและตระหนักเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต ตามหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ ไปใช้ในการบรหิ ารงานและปฏบิ ตั งิ าน 4. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีระบบการทำงานที่มีคุณภาพ มีความเข้มแข็ง และเสริมสร้างศักยภาพ ของบุคลากรใหป้ ฏิบัติงานตามหลกั ธรรมาภิบาลไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ  ผลทีค่ าดหวัง 1. มมี าตรการปอ้ งกันการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม สำหรับบุคลากร 2. มีนโยบายการไม่รบั ของขวัญและของกำนลั จากการปฏบิ ตั หิ น้าที่ (No Gift Policy) ของบุคลากร 3. บคุ ลากรและนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร มีจิตสำนกึ ในการปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความซ่อื สัตย์ สจุ ริต ปฏิบัตงิ านโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. เสริมสร้างบุคลากรในหน่วยงานมีวัฒนธรรมและค่านิยมสุจริตในการปฏิบัติงานอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ไม่มผี ลประโยชนท์ ับซ้อนจากการปฏิบัติหน้าที่ ปอ้ งกนั และต่อต้านการทจุ รติ ทุกรูปแบบ

12  โครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ เป้าหมายการ ดำเนินงานตามประเด็นภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ โครงการ/ งบ ระยะเวลาดำเนนิ การ ผรู้ ับ กจิ กรรม ประมาณ ผิดชอบ ตัวชีว้ ัด เป้าหมาย (บาท) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการประเมนิ คุณธรรมและ สำนักงานประกัน ความโปรง่ ใสในการดำเนนิ งาน 1. มีนโยบายการไมร่ ับของขวัญ บคุ ลากรและ ไมไ่ ดใ้ ช้ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. คณุ ภาพการศึกษา ของมหาวทิ ยาลัย และของกำนัลจากการปฏบิ ตั หิ น้าที่ นักศกึ ษาใน งบประมาณ 65 65 65 66 66 66 66 66 66 66 66 66 และหน่วยงานภายใน กจิ กรรม (ต่อเนือ่ ง) (No Gift Policy) มหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั 1. เสริมสรา้ งบุคลากรใน (ประกาศนโยบาย 5 ขอ้ ) ในการ หนว่ ยงานมวี ฒั นธรรมและ 2. มีมาตรการ แนวทาง และกลไก ดำเนิน คา่ นิยมสจุ รติ ในการปฏบิ ตั งิ าน ในการปอ้ งกนั การขดั กันระหวา่ ง กจิ กรรม อยา่ งมีคุณธรรม จริยธรรม ไม่มี ผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนท์ ับซอ้ นจากการ ผลประโยชน์สว่ นรวม สำหรับ ปฏิบัตหิ น้าท่ี ป้องกันและ บุคลากรมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ นคร (มาตรการ 9 ขอ้ ) 2. กำหนดมาตรการปอ้ งกันการ 3. มีมาตรการส่งเสรมิ ความโปร่งใส ขัดกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ น ในการจดั ซอ้ื จัดจา้ ง สำหรับ ตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม เจา้ หนา้ ทข่ี องมหาวทิ ยาลยั 3. กำหนดมาตรการสง่ เสรมิ (มาตรการ 7 ข้อ) ความโปร่งใสในการจดั ซอ้ื จดั จ้าง

13 (ตอ่ ) งบ ระยะเวลาดำเนินการ ผ้รู ับ ประมาณ ผดิ ชอบ โครงการ/ ตัวช้ีวัด เป้าหมาย (บาท) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กิจกรรม สำนกั ศลิ ปะและ 1. ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร 1. จำนวน 63,200 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. วัฒนธรรม ร่วมกบั คณะ กิจกรรม โครงการบรกิ ารวชิ าการ นักศึกษา และนักเรียนเสรมิ สรา้ ง ผ้เู ขา้ รว่ ม 65 65 65 66 66 66 66 66 66 66 66 66 มนษุ ยศาสตร์และ อบรมคา่ ยชุมชนชอ่ สะอาดในเขต บทบาทในการเฝ้าระวงั และมีส่วน กิจกรรม สังคมศาสตร์ (สาขาวชิ า กรงุ เทพมหานคร “แตม้ สเี ตมิ ฝัน รว่ มในการปอ้ งกนั และต่อตา้ นการ 100 คน ออกแบบ) และคณะ ต่อตา้ นทุจรติ ” ทจุ รติ ทกุ รปู แบบ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2. มีเครือขา่ ยความรว่ มมือในการ 2. จำนวน 2 (สาขาวชิ าออกแบบ เสรมิ สร้างทัศนคติ ค่านิยมใน โรงเรียน ผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม) ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต ในชุมชนช่อ สะอาดในเขตกรงุ เทพมหานคร ********************************************************

1