บทที่ 1การส่อื สารข้อมลู และเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เบอื ้ งต้น
ความหมายของระบบเครือข่ายระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ประกอบไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตงั้ แต่ 2เครื่องขนึ ้ ไป ที่สามารถตดิ ตอ่ กนั เพื่อแลกเปล่ียนข้อมลู กนั ได้ การตดิ ตอ่ จะผ่านทางชอ่ งการส่ือสารต่าง ๆ เช่นสายโทรศพั ท์ สายไฟฟ้า หรือผ่านทางส่ือแบบ อื่นๆ ได้แก่ โมเด็ม (Modem) ไมโครเวฟ (Microwave)สญั ญาณอินฟราเรด (Infrared) เป็นต้น วตั ถปุ ระสงค์ท่ีต้องต่อกนั นี ้มกั เกิดจากความต้องการท่ีจะใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกนั เช่น ใช้เนือ้ ท่ีเก็บข้อมลู ในดสิ ก์ร่วมกนั ใช้งานเคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ที่มีอย่เู คร่ืองเดียวร่วมกนั ต้องการสง่ ข้อมลูให้กบั บคุ คลอื่นในระบบไปใช้งาน หรือต้องการติดตอ่ สือ่ สารระหวา่ งกนั เป็นต้น
ขอ้ ดีของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์1. สามารถแลกเปลย่ี นข้อมลู อย่างมีประสทิ ธิภาพ 5. สามารถใช้จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ อีเมล์ ในการติดต่อผ้ทู ่ีอยู่ ห่างไกลได้อยา่ งรวดเร็ว2. สามารถแชร์ทรัพยากร เชน่ เคร่ืองพิมพ์ ฮาร์ดดสิ ก์ 6. การสนทนาผา่ นเครือข่าย หรือการแชท (Chat) ไว้ในเครือข่าย เป็นต้น 7.การประชมุ ระยะไกล (Video conference) 8.การแชร์ไฟล์ต่าง ๆ เช่น รูปภาพ วดี โิ อ เพลง เป็นต้น3. ประหยดั เน่ืองจากสามารถแชร์ทรัพยากรร่วมกนั ได้ 9.การแชร์ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เชน่ ไมโครซอฟต์ออฟฟิศ4. สามารถแชร์เอกสาร เชน่ บนั ทกึ ข้อความ เป็นต้น ตารางข้อมลู ต่าง ๆ เป็นต้น
ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ย1. การแลกเปลยี่ นข้อมลู ทาได้ง่าย โดยผ้ใู ช้ในเครือข่ายสามารถทีจ่ ะดงึ ข้อมลู จากสว่ นกลาง หรือข้อมลู จากผู้ใช้คนอน่ื มาใช้ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย เหมอื นกบั การดงึ ข้อมลู มาใช้จากเครื่องของตนเอง และนอกจากดงึ ไฟล์ข้อมลู มาใช้แล้ว ยงั สามารถคดั ลอกไฟล์ไปให้ผ้อู ืน่ ได้อกี ด้วย2. ใช้ทรัพยากรร่วมกนั ได้ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ทีเ่ ชื่อมตอ่ กบั เครือขา่ ยนนั้ ถือวา่ เป็นทรัพยากรสว่ นกลางที่ผ้ใู ช้ในเครือขา่ ยทกุ คนสามารถใช้ได้โดยการสงั่ งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของ ตวั เองผ่านเครือข่ายไปยงั อปุ กรณ์นนั้3. ใช้โปรแกรมร่วมกนั ผ้ใู ช้ในเครือขา่ ยสามารถที่จะรันโปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์สว่ นกลาง เชน่ โปรแกรม Word, Excelได้ โดยไมจ่ าเป็นจะต้องจดั ซอื ้ โปรแกรม
4. ทางานประสานกนั เป็นอย่างดี ก่อนท่ีเครือขา่ ยจะเป็นท่ีนิยม องค์กรส่วนใหญ่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่นเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ในการจดั การงาน และข้อมลู ทกุ อยา่ งในองค์กร5. ตดิ ต่อส่ือสารสะดวก รวดเร็ว เครือขา่ ยนบั วา่ เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการติดตอ่ สอ่ื สาร ได้เป็นอย่างดี ผ้ใู ช้สามารถแลกเปลย่ี นข้อมลู กบั เพื่อนร่วมงานท่ีอย่คู นละท่ี ได้อยา่ งสะดวก และรวดเร็ว6. เรียกข้อมลู จากบ้านได้ เครือข่ายในปัจจบุ นั มกั จะมีการติดตงั้ คอมพิวเตอร์ เคร่ืองหนงึ่ เป็นเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้ผ้ใู ช้สามารถเข้าใช้เครือข่ายจากระยะไกล เช่น จากท่ีบ้าน โดยใช้ตดิ ตงั้ โมเดม็ เพื่อใช้หมนุ โทรศพั ท์เช่ือมตอ่ เข้ากบั เครื่องเซริ ์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์เคร่ืองนนั้ ก็จะเป็นสว่ นหนง่ึ ของเครือข่าย
ประเภทเครือขา่ ยแบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ PAN เป็นเครือข่ายท่ีใช่ส่วนบุคคล ซ่ึงเป็นการเชื่อมต่อแบบไร้สายในระยะใกล้ เช่น เช่น Bluetoothตวั อย่าง เช่น การแลกเปล่ียนข้อมลู ระหว่าง PDA กบั Desktop โดยมีระยะทางไม่เกิน 1เมตร และมีอตั ราการรับส่งข้อมลู ความเร็วสงู มาก (สงู ถึง 480 Mbps)การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กบั โทรศพั ท์มือถือ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กบัเครื่องพีดเี อ เป็นต้น
ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถิ่นLAN (LOCAL AREA NETWORK) เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้งานอย่ใู นบริเวณที่ไม่กว้างนกั อาจใช้อย่ภู ายในอาคารเดียวกนั หรืออาคารท่ีอย่ใู กล้กนัเชน่ ภายในมหาวิทยาลยั อาคารสานกั งาน คลงั สนิ ค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมลู สามารถทาได้ด้วยความเร็วสงูและมีข้อผิดพลาดน้อย
MAN (METROPOLITAN AREA NETWORK) ระบบเครือขา่ ยระดบั เมือง เป็นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอย่รู ะหว่าง Lan และ Wanเป็นระบบเครือข่ายท่ีใช้ภายในเมืองหรือจงั หวดั เท่านัน้ การเช่ือมโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายท่ีใช้กับองค์การท่ีมีสาขาห่างไกล และต้องการเช่ือมสาขาเหลา่ นนั้ เข้าด้วยกนั เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมากมีการเช่ือมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสญั ญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คล่นื ไมโครเวฟ คลนื่ วิทยุ สายเคเบลิ
WAN (WIDE AREA NETWORK) ระบบเครือขา่ ยระดบั ประเทศ หรือเครือขา่ ยบริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่าย ท่ีติดตงั้ ใช้งานอยู่ในบริเวณกว้างเช่น ระบบเครือข่ายที่ติดตงั้ ใช้งานทว่ั โลก เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออปุ กรณ์ ที่อย่หู ่างไกลกนั เข้าด้วยกันอาจจะต้องเป็นการติดตอ่ ส่อื สารกนั ในระดบั ประเทศ ข้ามทวีปหรือทว่ั โลกก็ได้ ในการเช่ือมการติดต่อนนั้ จะต้องมีการตอ่เข้ากบั ระบบสื่อสารขององค์การโทรศพั ท์หรือการสอื่ สารแหง่ ประเทศไทยเสียก่อน
แบ่งตามหนา้ ท่ีของคอมพิวเตอร์2. 1. เครือขา่ ยแบบเพยี ร์ทูเพยี ร์(PEER TO PEER NETWORK) เป็นการเชื่อมต่อเคร่ือง คอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื่อง จะสามารถ แบ่งทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไฟล์หรือเคร่ืองพิมพ์ซ่ึงกันและกัน ภายในเครือข่าย ได้เครื่องแต่ละเค รื่อง จะทางานในลกั ษณะที่ทดั เทียมกนั ไม่มี เครื่องใดเคร่ืองหนงึ่ เป็นเครื่องหลกั การเชื่อมต่อแบบนีม้ กั ทาในระบบ ท่ีมีขนาด เลก็ ๆ การเชื่อมต่อแบบนี ้มีจดุ อ่อนในเรื่อง ของระบบรักษาความปลอดภยั แตถ่ ้าเป็น เครือข่ายขนาดเลก็ และ เป็ นงานท่ีไม่มีข้อมลูที่เป็นความลบั มากนกั
2.2. เครือขา่ ยแบบไคลเอนตเ์ ซิร์ฟเวอร์(CLIENT/SERVER NETWORK) ภายในระบบเครือข่ายแตจ่ ะมีเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึง ที่ทาหน้าที่เป็นเคร่ือง Server ที่ทาหน้าท่ีให้บริการทรัพยากรต่างๆ ให้กบั เครื่อง Client หรือเคร่ืองที่ขอใช้บริการ ซ่ึงอาจจะ ต้องเป็นเครื่องท่ีมี ประสิทธิภาพท่ีคอ่ นข้างสงู ถึงจะทาให้การให้บริการมีประสิทธิภาพตามไป ด้วยข้อดีของระบบเครือข่าย Client-Server เป็นระบบที่มีการรักษาความปลอดภยั สงู กว่า ดแู ลรักษาง่ายและสะดวกมีการกาหนดสิทธิการเข้าใช้ทรัพยากรต่างๆให้กบั เคร่ืองผู้ขอใช้บริการ หรือเคร่ือง Client
แบ่งตามระดบั ความปลอดภยั ของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์ อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายสาธารณะหรืออินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายท่ีครอบคลุมทั่วโลก ซ่ึงมีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆ เครื่องเช่ือมต่อเข้ากบั ระบบ อินเทอร์เน็ตมีผ้ใู ช้ทว่ั โลกหลายร้อยล้านคน และผ้ใู ช้เหล่านีส้ ามารถแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร กนั ได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็นอปุ สรรค
อินทราเน็ต (INTRANET) เครือข่ายส่วนบุคคลหรือตรงกันข้ามกับ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายส่วน บุคคลท่ีใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ท่ีทาให้ อินทราเน็ตทางานได้อินทราเน็ตเป็นเครือข่ายท่ี องค์กรสร้างขึน้ สาหรับให้พนกั งานขององค์กร ใช้เท่านนั้ การแชร์ข้อมลู จะอยเู่ ฉพาะใน อินทราเนต็ เทา่ นนั้
ความหมายของการส่ือสารขอ้ มูล การสอ่ื สารข้อมลู หมายถึง การโอนถ่าย (Transmission) ข้อมลู หรือการแลกเปล่ียนข้อมลู ระหว่างต้นทางกบั ปลายทาง โดยใช้อปุ กรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกส์หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซง่ึ มีตวั กลาง เชน่ ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์สาหรับควบคมุ การสง่ และการไหลของข้อมลู จากต้นทางไปยงั ปลายทาง นอกจากนีอ้ าจจะมีผ้รู ับผิดชอบในการกาหนดกฎเกณฑ์ในการส่งหรือรับข้อมลู ตามรูปแบบที่ต้องการองคป์ ระกอบพ้นื ฐานของระบบส่ือสารขอ้ มูล1. ผ้สู ง่ หรืออปุ กรณ์สง่ ข้อมลู (Sender) ข้อมลู ตา่ งๆ ท่ีอย่ตู ้นทางจะต้องจดั เตรียมนาเข้าสอู่ ปุ กรณ์สาหรับสง่ข้อมลู ซง่ึ ได้แก่เครื่องพิมพ์ หรืออปุ กรณ์ควบคมุ ต่าง ๆ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ซง่ึ ข้อมลู เหล่านนั้ ถกู เปล่ียนให้อย่ใู นรูปแบบที่สามารถสง่ ข้อมลู นนั้ ได้ก่อน
2. ผ้รู ับหรืออุปกรณ์รับข้อมลู (Receiver) ข้อมลู ท่ีถูกส่งจากอุปกรณ์ส่งข้อมูลต้นทาง เมื่อไปถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์สาหรับ รับข้อมูลเหล่านัน้ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อุปกรณ์เหล่านีไ้ ด้แก่ เครื่องพิมพ์ คอมพิวเตอร์ จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม ฯลฯ3. ข่าวสาร (Message) เป็นรายละเอียดซงึ่ อย่ใู นรูปแบบตา่ ง ๆ 3.1 ข้อมลู (Data) เป็นรายละเอียดของสิง่ ตา่ ง ๆ ซงึ่ ถกู สร้างและจดั เก็บด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบแนน่ อน 3.2 ข้อความ (Text) อย่ใู นรูปของเอกสารหรือตวั อกั ขระ 3.3 รูปภาพ (Image) เป็นข่าวสารท่อี ยใู่ นรูปของภาพกราฟิ กแบบตา่ ง ๆ 3.4 เสียง (Voice) อย่ใู นรูปของเสยี งพดู เสียงดนตรี หรือเสยี งอ่ืน ๆ4. ซอฟต์แวร์ (Software) การส่งข้อมลู ผ่านคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีโปรแกรมสาหรับดาเนินการ และควบคมุ การส่งข้อมลู เพื่อให้ได้ข้อมลู ตามที่กาหนดไว้ ได้แก่ Novell’s Netware, UNIX, Windows NT, Windows2003 ฯลฯ
5. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็ นข้อกาหนดสาหรับการส่ือสารเพ่อื ให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกนั ได้ ซ่งึ มหี ลายชนิดให้6. ตัวกลาง (Medium)เป็ นตัวกลางหรือส่ือกลางท่ีทาหน้าท่ีนาข่าวสารในรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งต้นทางไปยังผู้รับ หรืออุปกรณ์รับปลายทาง ซ่ึงมีหลายรูปแบบได้แก่ สายไป ขดลวด สายเคเบิลสายไฟเบอร์ออฟตกิ ตวั กลางอาจจะอย่ใู นรูปของคล่ืนท่สี ่งผ่านทางอากาศ เช่น คล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนดาวเทียมหรือคล่ืนวิทยุ เป็ นต้น
การสื่อสารโทรคมนาคม การติดต่อสื่อสารด้วยการรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างตวั ประมวลผล โดยผ่านสื่อกลางที่เช่ือมต้นทางและปลายทางที่ห่างกนั โดยใช้อปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรือระเบียบวิธีการท่ีกาหนดขึน้ ในแต่ละอปุ กรณ์เทคโนโลยีการส่ือสารโทรคมนาคมในช่วงต้นประกอบด้วยสญั ญาณภาพ เช่น ไฟสญั ญาณ, สญั ญาณควนั , โทรเลข,สญั ญาณธงและ เคร่ืองส่งสญั ญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ตวั อย่างอื่นๆของการสื่อสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทันสมยั ได่แก่ข้อความเสียงเช่นกลอง, แตรและนกหวีด เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่โทรเลข, โทรศพั ท์และ โทรพิมพ์, เครือข่าย, วิทยุ, เคร่ืองส่งไมโครเวฟ, ใยแก้วนาแสง, ดาวเทียมสอื่ สารและอินเทอร์เน็ต
การใชเ้ ทคโนโลยกี ารสื่อสาร การส่ือสารข้อมลู และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบนั ได้ตะหนกั ถึง ความสาคญั ในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ซงึ ้ การประยกุ ต์เทคโนโลยีการส่ือสารในองค์การมีดงั นี ้โทรสาร (Facsimile หรือ Fax) เป็นการสง่ ข้อมลู ซงึ่ อาจเป็นข้อความท่ีเขียนขนึ ้ ด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครื่องคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ที่มีอุปกรณ์ท่ีเรียกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยงั เคร่ืองรับโทรสาร
วอยซ์เมล (Voice Mail) เป็นการสง่ ข้อความเป็นเสียงพดู ให้กลายเป็นข้อความอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ เครือข่ายการส่ือสารข้อความจะถกู บนั ทกึ ไว้ในอปุ กรณ์บนั ทกึ เสียง เมื่อผ้รู ับเปิดฟังข้อความดงั กลา่ วก็จะถกู แปลงกลบั ไปอยู่ในรูปแบบของเสียง พดูตามเดมิการประชมุ ทางไกลอิเลก็ ทรอนิกส์ (Video Conferencing) เป็นการ ส่อื สารข้อมลู โดยการสง่ ภาพและเสียงจากฝ่ายหนง่ึ ไปยงั อกี ฝ่ายหนง่ึ ในการใช้ VideoConferencing จะต้องมีอปุ กรณ์สาหรับการบนั ทกึ ภาพและอปุ กรณ์บนั ทกึ เสียง โดยที่ภาพและเสียงที่สง่ ไปนนั้ อาจเป็นภาพเคลือ่ นไหวท่ีมีเสียงประกอบได้
การระบตุ าแหนง่ ด้วยดาวเทียม (Global Positioning Systems : GPSs) เป็นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบตุ าแหนง่ ของคน สตั ว์ หรือสง่ิ ของที่เป็นเปา้ หมายของระบบ การวเิ คราะห์ตาแหนง่ ทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบตุ าแหนง่ ปัจจบุ นั มีการนาไปใช้ในระบบการเดนิ เรือ เครื่องบนิกรุ๊ปแวร์ (groupware) เป็นโปรแกรมประยกุ ต์ที่ชว่ ยสนบั สนนุ การทางานของกลมุ่ บคุ คลให้สามารถทางาน ร่วมกนั การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกนั โดยผา่ นระบบเครือข่ายการโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer : EFT) ปัจจบุ นั ผ้ใู ช้สามารถชาระคา่ สนิ ค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ จากบญั ชีธนาคารที่ให้บริการโอนเงินอตั โนมตั ิด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารท่ีทนั สมยั กิจกรรมที่ประยกุ ต์ใช้กนั เป็นประจา ได้แก่ การโอนเงินผ่านทางตู้ ATM
การแลกเปลีย่ นข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI) เป็นระบบแลกเปลี่ยนข้อมลู เชิงทางอิเลก็ ทรอนิกส์ระหวา่ งองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสงั่ สินค้า ใบสง่ ของ ใบเรียกเก็บเงินโทรศพั ท์ (Telephone) จดั เป็นอปุ กรณ์ที่นิยมใช้งานมากที่สดุ และเปลี่ยนมาเป็นรูปแบบของระบบดิจิตอลในบางพืน้ ท่ีมากขนึ ้ตามลาดบั เพ่อื รองรับการสอื่ สารข้อมลู ความเร็วสงู โดยการใช้บริการโครงข่ายโทรศพั ท์เพ่ือการสื่อสารนนั้ มีราคาถกู เป็นท่ีนิยมและสามารถเช่ือมตอ่ ได้ระยะไกล
ความน่าเชื่อถือของระบบเครือขา่ ยความถ่ขี องความล้มเหลว เครือขา่ ยทกุ ระบบมีโอกาสลม่ ได้เสมอ อย่างไรก็ตามเครือข่ายท่ีได้รับการออกแบบที่ดี หากเครือข่ายเกิดข้อขดั ข้องหรือล้มเหลวด้วยประการใดก็ตาม ควรสง่ ผลกระทบตอ่ ผ้ใู ช้งานให้น้อยที่สดุ เท่าท่ีเป็นไปได้และหากเครือข่ายมีความถี่ในการล้มเหลวอย่บู อ่ ยครัง้ นน่ั หมายถึงเครือข่ายนนั่ มีความนา่ เชื่อถือต่าระยะเวลาในการก้คู นื ระยะเวลาในการก้คู นื ระบบ กรณีเครือขา่ ยลม่ หรือเกิดข้อขดั ข้องใด ๆ หากการก้คู นื ระบบสามารถแก้ไขได้ด้วยระยะเวลาอนั สนั้ ยอ่ มดกี วา่ การก้คู นื ระบบที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการก้คู ืนหมายถงึ การกู้ระบบให้กลบั คนืสภาพเดมิ ท่ีสามารถใช้งานได้ รวมถึงการก้คู ืนข้อมลู กรณีที่ข้อมลู เกิดความสญู เสยี ล้มเหลวอย่บู ่อยครัง้ นน่ั หมายถึงเครือข่ายนน่ั มีความน่าเช่ือถือต่า
ระยะเวลาในการกู้คนื ระยะเวลาในการก้คู นื ระบบ กรณีเครือขา่ ยลม่ หรือเกิดข้อขดั ข้องใด ๆ หากการก้คู ืนระบบสามารถแก้ไขได้ด้วยระยะเวลาอนั สนั้ ยอ่ มดีกวา่ การก้คู นื ระบบท่ีต้องใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการก้คู นื หมายถึงการกู้ระบบให้กลบั คนืสภาพเดมิ ที่สามารถใช้งานได้ รวมถึงการก้คู นื ข้อมลู กรณีท่ีข้อมลู เกิดความสญู เสยีความคงทนต่อข้อผิดพลาด เครือขา่ ยท่ีดจี ะต้องมีระบบปอ้ งกนั ภยั ตา่ ง ๆ ท่ีอาจเกิดขนึ ้ จากเหตกุ ารณ์ใด ๆ ที่ไมค่ าดคดิ ได้เสมอไม่วา่ จะเป็นระบบไฟฟา้ รวมถงึ ภยั ธรรมชาตทิ ี่ไมส่ ามารถคาดการณ์ลว่ งหน้าได้ ดงั นนั้ ระบบเครือขา่ ยที่ดจี งึ ต้องได้รับการออกแบบให้มีระบบสารองข้อมลู ท่ีนา่ เช่ือถือ รวมถึงอปุ กรณ์สาคญั ของระบบ หากทางานขดั ข้อง อปุ กรณ์ตวั แทนสารถทางานแทนได้ทนั ที เป็นต้น
1.แบบจาลอง OSI MODELการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบเครือข่ายในยุคแรกจะมีลกั ษณะเฉพาะตวั ตาม บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เครือข่ายนนั้ ๆ ทาให้เกิดปัญหาความเข้ากันได้ของอปุ กรณ์ท่ีผลิตจากต่างบริษัทกัน ดงั นนั้ หน่วยงานมาตรฐานสากล(International Organization for Standardization) หรือ ISO จงึ ได้กาหนดโครงสร้างมาตรฐานในการรับ-ส่งข้อมลู ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เป็นแบบเดียว เพ่ือให้ใช้งานร่วมกนั ได้ เรียกว่า แบบจาลองOSI Model (Open Systems Interconnection model) เพื่อใช้เป็นแบบอ้างอิงในการผลิต ทาให้อปุ กรณ์เครือข่ายต่างบริษัทกันสามารถใช้งานร่วมกนั ได้โดยไม่มีปัญหา แบบจาลอง OSI Model จะแบ่งการเชื่อมตอ่ ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ออกเป็นชนั้ ย่อยๆ จานวน 7 ชนั้ (Layer) ดงั รูป
1.1 APPLICATION LAYER ทาหน้าที่ในการเชื่อมตอ่ ข้อมลู ระหวา่ งผ้ใู ช้งานกบั โปรแกรมใช้งาน โดยจะแบง่ คาสงั่ ตา่ งๆ ที่ผ้ใู ช้กาหนดผ่านทางเมนู หรือการคลิกเมาส์ ส่งให้โปรแกรมใช้งาน ซง่ึ โปรแกรมใช้งานจะไปเรียกฟังก์ชนั ที่ให้บริการจากระบบปฏิบตั กิ ารอีกตอ่ หนง่ึ ดงั นนั้ คาสง่ั หรือข้อมลู ท่ีผ้ใู ช้สง่ มาให้จะต้องถกู ต้องตามกฎเกณฑ์ของระบบปฏิบตั ิการนนั้ ๆ หากมีข้อผิดพลาดฟังก์ชน่ั ที่เรียกใช้งานก็จะแจ้งกลบั มายงั โปรแกรม และ โปรแกรมใช้งานก็จะแสดงข้อความการผิดพลาดให้ กบั ผ้ใู ช้อีกต่อหน่ึง ลกั ษณะการทางานส่วนใหญ่ในชนั้ นีไ้ ด้แก่ การระบตุ าแหน่งของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง การกาหนดลิทธิ ในการเข้าถงึ ข้อมลู ตวั อย่างเชน่ การเข้าใช้งานในระบบ E-Mail การถ่ายโอนไฟล์ในเครือข่าย
1.2 PRESENTATION LAYERเป็นชนั้ ที่ทาหน้าท่ีเป็นสว่ นติดตอ่ ระหวา่ งชนั้ Application และ Session ให้เข้าใจกนั โดยจะเป็นการสร้างขบวนการยอ่ ยๆ ในการทางานระหวา่ งกนั และ จดั รูปแบบการนาเสนอข้อมลู ในการส่อื สารให้เข้าใจกนั ได้ เช่น การแปลงรหสั ข้อมลู การเข้ารหสั (Encrypt) และ ถอดรหสั ข้อมลู (Decrypt)1.3 SESSION LAYER เป็นชนั้ ทีท่ าหน้าท่สี ร้างสว่ นตดิ ตอ่ (Session) ในการสอ่ื สารข้อมลู โดยกาหนดจงั หวะในการรับ-สง่ ข้อมลู วา่ จะทางานในแบบผลดั กนั สง่ (Half Duplex)หรือ สง่ รับพร้อมกนั (Full Duplex) โดยจะสร้างเป็นสว่ นของชดุ ข้อมลู โต้ตอบกนั1.4 TRANSPORT LAYER ทาหน้าที่แบ่งข้อมลู ที่มขี นาดใหญ่เกินมาตรฐานการรับ-สง่ ออกเป็นสว่ นย่อยๆ ให้เหมาะสมกบั การทางานทางฮาร์ดแวร์ของอปุ กรณ์ในระบบเครือข่ายตามมาตรฐานที่ใช้งาน
1.5 NETWORK LAYER ทาหน้าที่เชื่อมตอ่ และกาหนดเส้นทางในการรับสง่ ข้อมลู ผ่านระบบเครือข่าย โดยจะนาข้อมูลในชนั้ บนท่ีส่งมาในรูปของ Package หรือ Frame ซงึ่ มีเพียงแอดเดรสของผ้รู ับ – ผ้สู ง่ ลาดบั การรับ – สง่ ข้อมลู และส่วนของข้อมลู นอกจากนีย้ งั ทาหน้าที่ในการสถาการเช่ือมต่อในครัง้ แรก (Call Setup) และ การยกเลิกการติดต่อ (CallClearing)1.6 DATA LINK LAYERทาหน้าท่ีในการจดั เตรียมข้อมลู ในการเช่ือมต่อให้กบั อปุ กรณ์ทางฮาร์ดแวร์ โดยหลังจากท่ีได้รับข้อมลู จากชนั้ Network Layer ที่กาหนดเส้นทางในการตดิ ตอ่ มาให้ ก็จะทาการสร้างคาสงั่ ท่ีจะใช้ควบคมุฮาร์ดแวร์ในการติดต่อ และทาการตรวจสอบข้อผิดพลาดในการรับ-ส่งข้อมลู เพื่อให้ข้อมลู ที่รับ-ส่งกนั ตรงกบั มาตรฐานการรับ-สง่ ข้อมลู ในระดบั ฮาร์ดแวร์ เช่น มาตรฐานอีเธอร์เนต็ (Ethernet) มาตรฐานโทเคน็ ริง (Token Ring) ฯลฯ
1.7 PHYSICAL LAYER เป็นชนั้ ล่างสดุ ของแบบจาลอง OSI Model และเป็นชนั้ ท่ีมีการเชื่อมต่อจริงทางกายภาพ ในชนั้ นีจ้ ะเป็นสว่ นท่ีใช้กาหนดคณุ สมบตั ิทางกายภาพของอปุ กรณ์ที่จะนามาเชื่อมต่อกนั เช่น จะใช้ขวั้ ตอ่ สญั ญาณแบบใด ใช้การรับ-ส่งข้อมลู แบบใด ความเร็วในการรับ-ส่งข้อมลู ที่จะใช้เป็นเท่าใด ข้อมลู ในชนั้ นีจ้ ะอย่ใู นรูปของสัญญาณทางไฟฟ้าแบบดิจิตอลคือมีระดบั สญั ญาณ 0 หรือ 1 หากมีปัญหาในการรับ-ส่งข้อมูลทางฮาร์ดแวร์ เช่น สายรับ-ส่งข้อมูลขาด หรืออุปกรณ์ในเครือข่ายชารุดเสียหาย ก็จาทาการตรวจสอบและส่งข้อมลู ความผิดพลาดไปให้ชนั้ อ่ืนๆ ที่ อยู่เหนือขึน้ ไปรับทราบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: