แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์การตกแต่งด้านหน้าอาคารบริเวณชัน้ ล่าง• ควรตกแต่งโดยยึดรูปแบบของอาคารอนุรักษ์ ซ่ึงเป็นอาคารส่วนใหญ่ในย่าน• โดยท่ัวไปวสั ดทุ ี่น�ำ มาใช้ในการตกแตง่ จะเปน็ ประเภทไม้ เช่น วงกบ บานประตู เสา เปน็ ต้น• ประตทู างเข้าออกอาคารควรเปน็ วงกบไม้ บานไม้ กับกระจก• ควรมกี ารประดับอาคารดา้ นหนา้ ดว้ ยกระถางไม้ประดับ เพ่ือความสวยงามของอาคารและยา่ น• ป้ายร้านคา้ ควรมีรปู แบบและขนาดเหมาะสมกบั ขนาดและสดั ส่วนของอาคาร รวมท้งั ไมบ่ ดบังองคป์ ระกอบท่สี ำ�คญั ของอาคาร50
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์การตกแตง่ หน้าอาคารบรเิ วณดา้ นหน้าอาคารชนั้ บน• ควรปรับปรุงรูปแบบอาคารโดยยึดถือแนวทางการออกแบบตามอาคารอนุรักษ์ไว้โดยปราศจากสิ่งแปลกปลอมมาปิดทับด้านหน้า ช้ันบนของอาคาร เชน่ ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ เป็นตน้• วัสดไุ มเ้ ป็นวสั ดหุ น่งึ ทส่ี ว่ นใหญ่ใช้ในอาคารอนรุ กั ษ์ ดังน้นั การออกแบบอาคารโดยท่วั ไปควรที่จะนำ�วัสดดุ ังกล่าวมาใช้และควรใช้ ชา่ งไมท้ ม่ี ีฝมี อื และความเขา้ ใจในรายละเอยี ดของลวดลายต่างๆ 51
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์• การใช้วสั ดสุ มัยใหม่ เช่น วัสดุทดแทนไม้ ไม้เทียม ควรคำ�นึงถึงความเหมือนใหใ้ กล้เคียงกบั ลายไมจ้ ริง• อาคารส่วนใหญ่วัสดุไม้โทนสีเป็นสีธรรมชาติ (natural & earth tone) สว่ นผนังปูนจะใช้สีขาว และโทนสีธรรมชาติเชน่ กนั52
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์กนั สาดและส่วนคลมุ ทางเดนิการออกแบบกันสาดด้านหน้าของอาคารควรออกแบบให้สอดคล้องกับอาคารอนุรักษ์ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ กนั สาดแบบถาวร โครงสรา้ งไม้ มงุ ดว้ ยกระเบอ้ื งดนิ ขอและไมแ้ ปน้ เกลด็คลมุ ทางเดนิ และให้สามารถบังแดดและกนั ฝนแกผ่ ู้เดินเท้า กันสาดที่ทำ�ด้วยวัสดุใหม่ เช่น ผ้าใบ ควรจะใช้สีในโทนสีธรรมชาติ ไม่ควร ใ ช้ กั น ส า ด ผ้ า ใ บ ที่ มี สี สั น ฉู ด ฉ า ด ห รื อ ป้ายโฆษณา รวมท้ังมีขนาดและสัดส่วน ท่เี หมาะสมกบั ตัวอาคาร 53
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์แสงไฟประดบั อาคารโคมไฟแขวนหรือโคมกิ่งติดตั้งบริเวณด้านหน้าหรือทางเข้าอาคารควรมีความเหมาะสมกับรูปแบบ รูปทรงและขนาดของอาคาร เช่น โคมทที่ �ำ จากวัสดุไม้ เปน็ ตน้ แสงสว่างจากหลอดไฟควรเป็นหลอดที่ให้ แสงชนดิ แสงสอี ุ่น (Warm light) ซึ่งจะ ช่วยส่งเสริมบรรยากาศของอาคารไม้ไดด้ ี54
แนวทางการออกแบบอาคารใหม่ แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ในบริเวณพื้นที่วา่ ง 1 ก่อนท�ำ การปรับปรุง หลงั ทำ�การปรบั ปรุง 55
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ กอ่ นท�ำ การปรบั ปรงุแนวทางการออกแบบอาคารใหม่ในบริเวณพ้นื ทว่ี า่ ง 2 หลังทำ�การปรับปรงุ56
แนวทางการออกแบบอาคารใหม่ แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ในบริเวณพื้นที่วา่ ง 3 ก่อนท�ำ การปรับปรุง หลงั ทำ�การปรบั ปรุง 57
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ กอ่ นท�ำ การปรบั ปรงุแนวทางการออกแบบอาคารใหม่ในบริเวณพ้นื ทว่ี า่ ง 4 หลังทำ�การปรับปรงุ58
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ แนวทางการออกแบบส�ำ หรบั การจดั การสาธารณูปโภค และสิง่ อ�ำ นวยสะดวก บนถนนเจรญิ ราษฎร์ คมู่ อื ในสว่ นนส้ี �ำ หรบั เจา้ หน้าทีข่ องรัฐในสว่ นทีเ่ กย่ี วข้อง 59
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์แแนละวสทิ่งาองำ�กนาวรยอสอะกดแวบกบบสน�ำ ถหนรนบั เกจารริญจัดรกาษารฎสรา์ ธารณูปโภคลกั ษณะโดยทั่วไปของถนนเจรญิ ราษฎร์ ผิวการจราจรจะมีความคับแคบ มีความกว้างของชอ่ งทางจราจร 6.00 เมตร โดยประมาณเนื่องจากเป็นถนนและมีอาคารที่มีอายุมายาวนาน ในอดีตนั้นเส้นทางสัญจรน้ีใช้สำ�หรับเป็นทางเดินเท้าและทางล้อเกวียนอย่างไรก็ตาม การอนุรักษ์อาคารและส่ิงแวดล้อมของย่านถนนเจริญราษฎร์น้ันเป็นส่ิงสำ�คัญ ดังน้ัน การขยายเส้นทางให้กว้างข้ึนก็เป็นส่ิงที่เป็นไปได้ยาก เนื่องจากในย่านดังกล่าวส่วนใหญ่ยังคงมีอาคารที่มีคุณค่าสมควรได้รับการอนุรักษ์การเสริมสร้างบรรยากาศที่ดี และสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ก็น่าจะเป็นสิ่งที่ทางภาครัฐควรจะดำ�เนินการสนับสนุน เพ่ือให้ย่านถนนเจรญิ ราษฎรเ์ ปน็ ยา่ นท่คี วามสวยงาม สะอาด สะดวกและปลอดภัย สำ�หรบั ผูอ้ ย่อู าศยั และแขกผ้มู าเยือน แนวทางการออกแบบสำ�หรับการจัดการ สาธารณูปโภคและสิ่งอำ�นวยสะดวก บนถนนเจริญราษฎร์นั้นแบ่งออกเป็น ส่วนตา่ งๆ ดงั นี้ • ผวิ ถนนและทางเทา้ • อุปกรณ์อ�ำ นวยความสะดวก • ร้วั และการจดั สวน การปลกู ตน้ ไม้ • ปา้ ยต่างๆ60
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ผิวถนนและทางเทา้เน่อื งจากถนนเจรญิ ราษฎร์มีความกวา้ งของถนนไมม่ ากนัก ดังน้นั การจัดการออกแบบถนนและทางเท้าน้ัน ควรให้มีการออกแบบเน้นประโยชน์ใช้สอยในแต่ละส่วน เช่นส่วนหน่ึงแบ่งให้เป็นทางเท้า เพ่ืออำ�นวยความสะดวก สร้างบรรยากาศที่สวยงามและเพมิ่ ความปลอดภยั แกผ่ พู้ กั อาศยั ในยา่ นและผเู้ ข้ามาเยอื น โดยมขี อ้ เสนอแนะต่างๆ ดงั นี้• ภาครฐั ควรมีนโยบาย ท�ำ ถนนเจริญราษฎร์เปน็ ถนนปลอดภยั โดยการลดความเร็ว ของยวดยาน เน่ืองจากมถี นนทคี่ ับแคบ ที่ตั้งอาคารชิดติดกบั แนวถนน เกิดอบุ ตั ิเหตุ แก่ผู้พกั อาศัยและนักทอ่ งเทีย่ วได้ง่าย• ควรจดั ท�ำ ทางเทา้ ตลอดแนวถนนเจรญิ ราษฎรโ์ ดยใหม้ คี วามกวา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร ในชว่ งถนนแคบ• ผิวทางเทา้ ควรใชว้ ัสดทุ ีม่ ีความทนทาน เรียบแตไ่ มล่ ่ืน เชน่ หนิ คอนกรีต หรอื อิฐ ทม่ี ีผวิ และโทนสีธรรมชาตหิ รอื โทนน้ําตาล เปน็ ต้น• ควรออกแบบให้มีทางม้าลายคนขา้ มแบบยกระดับ เพ่ือให้ความส�ำ คญั แกผ่ ู้เดินเท้า• ติดต้งั และปรบั ปรุงโคมไฟถนนใหม่ใหส้ อดคล้องกบั ลักษณะของยา่ น• ควรปลกู ตน้ ไมย้ นื ตน้ และสวนหยอ่ มในบางบรเิ วณทมี่ พี นื้ ทกี่ วา้ งพอทสี่ ามารถปลกู ได้ เพ่อื เพ่มิ พื้นทีส่ ีเขียวแก่ย่าน 61
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์แนวทางการออกแบบสำ�หรบั การจัดการสาธารณปู โภคและสิง่ อ�ำ นวยสะดวกบนถนนเจรญิ ราษฎร์ บริเวณท่ี 162
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์แนวทางการออกแบบสำ�หรับการจดั การสาธารณูปโภคและส่งิ อ�ำ นวยสะดวกบนถนนเจรญิ ราษฎร์ บริเวณท่ี 2 63
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์แนวทางการออกแบบสำ�หรบั การจัดการสาธารณปู โภคและสิง่ อ�ำ นวยสะดวกบนถนนเจรญิ ราษฎร์ บริเวณท่ี 364
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ อุปกรณอ์ �ำ นวยความสะดวก เช่น เก้าอี้ โคมไฟถนน ถังขยะ ควร ออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพของย่าน เช่น รูปแบบ วัสดุท่ีมีความคงทน สัดส่วน ขนาดที่สอดคล้องกับพ้ืนที่ ไม่รกรงุ รงั เกะกะการสัญจรของยวดยาน และผเู้ ดนิ เท้าทจี่ อดรถจักรยานเพ่ือเป็นการส่งเสริมการใช้รถจักรยานเพื่อลดมลพิษ ลดการใช้พลังงาน และส่งเสริมการออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ ดังนั้น ควรจัดเตรียมบริเวณสำ�หรับจอดรถจักรยานให้มรี ะเบยี บและปลอดภัย 65
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์การจดั สวน การปลูกต้นไม้การปลูกต้นไม้ประดับตลอดแนวถนนเพ่ือให้ความสวยงามและความร่มร่ืนแก่ย่านและหน้าอาคาร การออกแบบควรคำ�นึงถึงบริเวณที่จะปลูกควรมีพ้ืนท่ีเพียงพอต่อการปลูกเช่น บริเวณเชิงสะพานนวรัฐ เชิงสะพานจันทร์สม เป็นต้น และควรมีการออกแบบกระถางหรอื กระบะสำ�หรับปลูกเพ่ือความเปน็ สัดสว่ นและงา่ ยตอ่ การบำ�รุงรักษา66
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ปา้ ยตา่ งๆควรออกแบบป้ายบอกทาง ช่ือสถานท่ี ร้านค้า และสิ่งสำ�คัญในย่านให้เหมาะสมกลมกลืนกับลักษณะเฉพาะของย่าน โดยภาครัฐควรเข้ามาเป็นศูนย์กลางในการดำ�เนนิ การ 67
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์โคมไฟประดบัเนอ่ื งจากถนนเจรญิ ราษฏร์ในบางช่วงมีความคับแคบ ดังน้นั การออกแบบโคมไฟถนนในชว่ งแคบอาจใช้โคมไฟชนิดยึดหรอื แขวนตดิกบั อาคาร บางชว่ งสามารถตง้ั เสาดวงโคมได้68
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ ภาคผนวก 69
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์กฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543)แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวงฉบับท่ี 58 (พ.ศ. 2546)และกฎกระทรวงฉบับท่ี 61 (พ.ศ. 2550)ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 5(3) และมาตรา 8(1) (7) และ (8) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522อันเป็นพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกบั การจำ�กัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซงึ่ มาตรา 29 ประกอบกบั มาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 48 มาตรา 49 และมาตรา 50 ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย บญั ญัติใหก้ ระทำ�ไดโ้ ดยอาศยั อำ�นาจตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยโดยค�ำ แนะน�ำ ของคณะกรรมการควบคมุ อาคารออกกฎกระทรวงไว้ดังตอ่ ไปนี้ข้อ 1 ในกฎกระทรวงน้ี “อาคารอยู่อาศัย” หมายความว่า อาคารซ่ึงโดยปกติบุคคลใช้อยู่อาศัยได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ไม่ว่าจะเป็นการอยู่อาศัยอย่างถาวรหรือชัว่ คราว “หอ้ งแถว” หมายความวา่ อาคารทก่ี อ่ สรา้ งตอ่ เนอื่ งกนั เปน็ แถวยาวตง้ั แตส่ องคหู าขนึ้ ไป มผี นงั แบง่ อาคารเปน็ คหู าและประกอบดว้ ยวสั ดุไม่ทนไฟเป็นส่วนใหญ่ “ตกึ แถว” หมายความวา่ อาคารทกี่ อ่ สรา้ งตอ่ เนอ่ื งกนั เปน็ แถวยาวตงั้ แตส่ องคหู าขน้ึ ไป มผี นงั แบง่ อาคารเปน็ คหู าและประกอบด้วยวสั ดุทนไฟเป็นส่วนใหญ่ “บ้านแถว” หมายความว่า ห้องแถวหรือตึกแถวท่ีใช้เป็นที่อยู่อาศัย ซึ่งมีที่ว่างด้านหน้าและด้านหลังระหว่างร้ัวหรือแนวเขตท่ีดินกบั ตวั อาคารแต่ละคหู า และมีความสูงไม่เกินสามช้ัน “บา้ นแฝด” หมายความว่า อาคารท่ีใชเ้ ปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั กอ่ สร้างตดิ ต่อกนั สองบ้าน มีผนงั แบ่งอาคารเป็นบ้าน มที ว่ี ่างระหว่างรว้ัหรอื แนวเขตทด่ี นิ กบั ตวั อาคารดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั และดา้ นขา้ งของแตล่ ะบา้ น และมที างเขา้ ออกของแตล่ ะบา้ นแยกจากกนั เปน็ สดั สว่ น “อาคารพาณิชย์” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพ่ือประโยชน์ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจ หรืออุตสาหกรรมที่ใช้เครอื่ งจกั รทมี่ กี �ำ ลงั การผลติ เทยี บไดน้ อ้ ยกวา่ 5 แรงมา้ และใหห้ มายความรวมถงึ อาคารอนื่ ใดทกี่ อ่ สรา้ งหา่ งจากถนนหรอื ทางสาธารณะไม่เกิน 20 เมตร ซง่ึ อาจใช้เปน็ อาคารเพ่อื ประโยชนใ์ นการพาณชิ ยกรรมได้70
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารท่ีใช้เพอื่ ประโยชน์ในการชุมนมุ คนไดโ้ ดยท่ัวไป เพ่ือกจิ กรรมทางราชการ การเมืองการศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาลสถานศกึ ษา หอสมุด สนามกฬี ากลางแจง้ สนามกฬี าในรม่ ตลาด หา้ งสรรพสินคา้ ศนู ย์การคา้ สถานบริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ทา่ จอดเรือ โปะ๊ จอดเรอื สสุ าน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เปน็ ต้น “อาคารพิเศษ” หมายความว่า อาคารท่ีต้องการมาตรฐานความม่ันคงแข็งแรง และความปลอดภัยเป็นพิเศษ เช่น อาคารดังตอ่ ไปนี้ (ก) โรงมหรสพ อัฒจนั ทร์ หอประชมุ หอสมุด หอศิลป์ พพิ ิธภัณฑสถาน หรือศาสนสถาน (ข) อเู่ รอื คานเรอื หรือทา่ จอดเรอื ส�ำ หรบั เรอื ขนาดใหญ่เกนิ 100 ตันกรอส (ค) อาคารหรอื สง่ิ ท่สี รา้ งข้นึ สงู เกนิ 15 เมตร หรอื สะพานหรืออาคารหรือโครงหลังคาช่วงหน่ึงเกิน 10 เมตร หรือมลี ักษณะโครงสรา้ งทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กิดภยนั ตรายตอ่ สาธารณชนได้ (ง) อาคารทีเ่ กบ็ วสั ดุไวไฟ วัสดุระเบดิ หรอื วัสดุกระจายแพรพ่ ษิ หรอื รังสตี ามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน “อาคารอยอู่ าศยั รวม” หมายความวา่ อาคารหรือสว่ นใดส่วนหน่ึงของอาคารท่ีใชเ้ ป็นที่อยอู่ าศัยส�ำ หรับหลายครอบครวั โดยแบง่ ออกเปน็ หน่วยแยกจากกันส�ำ หรับแต่ละครอบครัว “อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหน่ึงชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตรหรืออาคารที่มคี วามสูงตั้งแต่ 15.00 เมตรขึน้ ไป และมีพื้นท่ีรวมกนั ทกุ ช้นั หรอื ช้ันหนงึ่ ชั้นใดในหลังเดยี วกนั เกิน 1,000 ตารางเมตรแต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินท่ีก่อสร้างถึงพ้ืนดาดฟ้า สำ�หรับอาคารทรงจั่วหรือปัน้ หยาให้วดั จากระดับพนื้ ดนิ ท่ีก่อสร้างถึงยอดผนังของชน้ั สงู สดุ “สำ�นกั งาน” หมายความวา่ อาคารหรือส่วนหนึ่งสว่ นใดของอาคารท่ีใช้เปน็ สำ�นกั งานหรอื ท่ีท�ำ การ “คลงั สนิ คา้ ” หมายความวา่ อาคารหรอื สว่ นหนงึ่ สว่ นใดของอาคารที่ใชเ้ ปน็ ทส่ี �ำ หรบั เกบ็ สนิ คา้ หรอื สง่ิ ของเพอื่ ประโยชนท์ างการคา้ หรอื อตุ สาหกรรม “โรงงาน” หมายความวา่ อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารท่ีใช้เป็นโรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน “โรงมหรสพ” หมายความวา่ อาคารหรือส่วนหนงึ่ ส่วนใดของอาคารที่ใชเ้ ปน็ สถานทส่ี �ำ หรับฉายภาพยนตร์ แสดงละคร แสดงดนตรี หรอื แสดงมหรสพอนื่ ใด และมวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อเปิดให้สาธารณชนเข้าชมการแสดงนั้น โดยจะมีคา่ ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม “โรงแรม” หมายความวา่ อาคารหรือส่วนหนึง่ ส่วนใดของอาคารที่ใชเ้ ป็นโรงแรมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงแรม “ภัตตาคาร” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่ขายอาหารหรือเคร่ืองดื่ม โดยมีพื้นท่ีสำ�หรับต้ังโต๊ะอาหารไวบ้ รกิ ารภายในอาคารหรือภายนอกอาคาร 71
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ “วัสดถุ าวร” หมายความวา่ วสั ดุซ่งึ ตามปกติไม่แปลงสภาพได้งา่ ยโดยนา้ํ ไฟ หรอื ดนิ ฟา้ อากาศ “วัสดุทนไฟ” หมายความว่า วสั ดุกอ่ สรา้ งท่ีไม่เป็นเช้ือเพลงิ “พื้น” หมายความว่า พ้ืนที่ของอาคารท่ีบุคคลเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ภายในขอบเขตของคานหรือตงท่ีรับพ้ืน หรือภายในพ้ืนนัน้ หรือภายในขอบเขตของผนงั อาคารรวมทัง้ เฉลียงหรือระเบยี งดว้ ย “ฝา” หมายความวา่ สว่ นกอ่ สร้างในดา้ นตั้งซึง่ กน้ั แบ่งพ้นื ภายในอาคารให้เปน็ ห้องๆ “ผนัง” หมายความว่า ส่วนก่อสร้างในด้านตั้งซึ่งก้ันด้านนอกหรือระหว่างหน่วยของอาคารให้เป็นหลังหรือเป็นหน่วยแยกจากกัน “ผนังกันไฟ” หมายความว่า ผนังทึบที่ก่อด้วยอิฐธรรมดาหนาไม่น้อยกว่า 18 เซนติเมตร และไม่มีช่องท่ีให้ไฟหรือควันผ่านได้ หรือจะเป็นผนังทึบที่ทำ�ด้วยวัสดุทนไฟอย่างอ่ืนที่มีคุณสมบัติในการป้องกันไฟได้ดีไม่น้อยกว่าผนังที่ก่อด้วยอิฐธรรมดา หนา 18 เซนตเิ มตร ถ้าเปน็ ผนังคอนกรตี เสรมิ เหล็กต้องหนาไมน่ อ้ ยกว่า 12 เซนติเมตร “อิฐธรรมดา” หมายความวา่ ดินทที่ ำ�ขึ้นเปน็ แทง่ และไดเ้ ผาให้สกุ “หลงั คา” หมายความวา่ สิ่งปกคลุมส่วนบนของอาคารสำ�หรบั ป้องกนั แดดและฝน รวมทั้งโครงสรา้ งหรือสิ่งใดซงึ่ ประกอบขนึ้เพือ่ ยดึ เหนี่ยวสง่ิ ปกคลมุ น้ีใหม้ ่นั คงแข็งแรง “ดาดฟ้า” หมายความว่า พื้นส่วนบนสดุ ของอาคารท่ีไมม่ ีหลังคาปกคลมุ และบุคคลสามารถข้ึนไปใช้สอยได้ “ช่วงบันได” หมายความวา่ ระยะตั้งบนั ไดซงึ่ มขี น้ั ตอ่ เนื่องกันโดยตลอด “ลูกตงั้ ” หมายความวา่ ระยะต้งั ของขนั้ บันได “ลูกนอน” หมายความวา่ ระยะราบของขั้นบนั ได “ความกว้างสทุ ธิ” หมายความวา่ ความกว้างท่วี ดั จากจุดหนึ่งไปยงั อกี จุดหน่งึ โดยปราศจากส่งิ ใดๆ กีดขวาง “ทวี่ า่ ง” หมายความว่า พ้ืนทีอ่ ันปราศจากหลงั คาหรือสง่ิ ก่อสรา้ งปกคลุม ซง่ึ พน้ื ทด่ี ังกลา่ วอาจจะจัดใหเ้ ป็นบอ่ นาํ้ สระว่ายนาํ้ บอ่ พกั นํา้ เสีย ท่ีพักมลู ฝอย ที่พักรวมมูลฝอย หรือที่จอดรถ ทีอ่ ย่ภู ายนอกอาคารก็ได้ และใหห้ มายความรวมถึงพนื้ ทขี่ องสงิ่ กอ่ สรา้ งหรอื อาคารท่สี ูงจากระดบั พ้ืนดนิ ไม่เกนิ 1.20 เมตร และไม่มีหลงั คาหรือส่ิงกอ่ สร้างปกคลุมเหนือระดับนน้ั “ถนนสาธารณะ” หมายความวา่ ถนนทเ่ี ปดิ หรอื ยินยอมให้ประชาชนเขา้ ไปหรือใชเ้ ปน็ ทางสัญจรได้ ท้ังนี้ ไม่ว่าจะมีการเรยี กเก็บคา่ ตอบแทนหรือไม่72
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์หมวด 1 ลกั ษณะของอาคาร ข้อ 2 ห้องแถวหรือตึกแถวแต่ละคูหา ต้องมีความกว้างโดยวัดระยะตั้งฉากจากแนวศูนย์กลางของเสาด้านหนึ่งไปยังแนวศนู ย์กลางของเสาอกี ดา้ นหนึ่งไม่น้อยกว่า 4 เมตร มีความลกึ ของอาคารโดยวดั ระยะต้งั ฉากกบั แนวผนงั ด้านหนา้ ชัน้ ล่างไม่น้อยกว่า 4 เมตร และไมเ่ กนิ 24 เมตร มีพืน้ ท่ชี ั้นลา่ งแต่ละคหู าไมน่ อ้ ยกว่า 30 ตารางเมตร และตอ้ งมีประตใู ห้คนเขา้ ออกไดท้ ้ังด้านหนา้ และด้านหลงั ในกรณที คี่ วามลึกของอาคารเกิน 16 เมตร ต้องจัดให้มีท่วี า่ งอนั ปราศจากสิ่งปกคลุมขึ้นบริเวณหนง่ึ ท่ีระยะระหวา่ ง 12 เมตรถึง 16 เมตร โดยให้มีเนื้อที่ไมน่ ้อยกวา่ 10 ใน 100 ของพ้ืนท่ีช้ันลา่ งของอาคารนัน้ ห้องแถวหรือตึกแถวท่ีสร้างอยู่ริมถนนสาธารณะต้องให้ระดับพื้นช้ันล่างของห้องแถวหรือตึกแถวมีความสูง 10 เซนติเมตรจากระดับทางเท้าหนา้ อาคาร หรือมีความสงู 25 เซนตเิ มตรจากระดบั กงึ่ กลางถนนสาธารณะหน้าอาคาร แล้วแตก่ รณี ข้อ 3 บา้ นแถวแตล่ ะคหู าตอ้ งมคี วามกวา้ งโดยวดั ระยะตงั้ ฉากจากแนวศนู ยก์ ลางของเสาดา้ นหนงึ่ ไปยงั แนวศนู ยก์ ลางของเสาอีกดา้ นหนง่ึ ไมน่ อ้ ยกวา่ 4 เมตร มีความลกึ ของอาคารโดยวดั ระยะต้งั ฉากกับแนวผนงั ดา้ นหนา้ ชั้นลา่ งไมน่ อ้ ยกวา่ 4 เมตร และไมเ่ กิน24 เมตร และมีพนื้ ท่ชี นั้ ล่างแต่ละคหู าไม่นอ้ ยกวา่ 24 ตารางเมตร ในกรณีท่ีความลึกของอาคารเกิน 16 เมตร ต้องจดั ใหม้ ีทวี่ ่างอนั ปราศจากส่ิงปกคลุมข้นึ บรเิ วณหน่งึ ทรี่ ะยะระหวา่ ง 12 เมตรถงึ 16 เมตร โดยใหม้ ีเนอ้ื ท่ีไมน่ ้อยกวา่ 20 ใน 100 ของพืน้ ที่ชัน้ ล่างของอาคารนั้น ข้อ 4 ห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถวจะสร้างต่อเนื่องกันได้ไม่เกินสิบคูหา และมีความยาวของอาคารแถวหน่ึงๆ รวมกันไม่เกิน 40 เมตร โดยวัดระหว่างจุดศูนย์กลางของเสาแรกถึงจุดศูนย์กลางของเสาสุดท้าย ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของเดียวกัน และใช้โครงสรา้ งเดียวกนั หรอื แยกกันกต็ าม ข้อ 5 รั้วหรือกำ�แพงก้ันเขตที่อยู่มุมถนนสาธารณะท่ีมีความกว้างต้ังแต่ 3 เมตรขึ้นไป และมีมุมหักน้อยกว่า 135 องศา ตอ้ งปาดมมุ รวั้ หรอื ก�ำ แพงกน้ั เขตนน้ั โดยใหส้ ว่ นทป่ี าดมมุ มรี ะยะไมน่ อ้ ยกวา่ 4 เมตร และท�ำ มมุ กบั แนวถนนสาธารณะเปน็ มมุ เทา่ ๆ กนั ข้อ 6 สะพานสว่ นบคุ คลสำ�หรับรถยนต์ ตอ้ งมีทางเดินรถกวา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 3.50 เมตร และมีสว่ นลาดชนั ไม่เกนิ 10 ใน 100 สะพานที่ใช้เป็นทางสาธารณะสำ�หรับรถยนต์ ต้องมีทางเดินรถกว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตร มีส่วนลาดชันไม่เกิน 8 ใน 100มีทางเท้าสองข้างกว้างข้างละไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร เว้นแต่สะพานท่ีสร้างสำ�หรับรถยนต์โดยเฉพาะจะไม่มีทางเท้าก็ได้ และมีราวสะพานท่มี ่นั คงแขง็ แรงยาวตลอดตัวสะพานสองข้างดว้ ย ข้อ 7 ป้ายหรือสิง่ ทส่ี ร้างข้นึ สำ�หรบั ตดิ หรือตง้ั ปา้ ยทีอ่ าคารตอ้ งไมบ่ ังชอ่ งระบายอากาศ หนา้ ตา่ ง ประตู หรอื ทางหนีไฟ 73
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ ข้อ 8 ป้ายหรือส่ิงท่ีสร้างขึ้นสำ�หรับติดหรือตั้งป้ายบนหลังคาหรือดาดฟ้าของอาคารต้องไม่ล้ําออกนอกแนวผนังรอบนอกของอาคาร และส่วนบนสุดของป้ายหรือสิ่งที่สร้างข้ึนสำ�หรับติดหรือตั้งป้ายต้องสูงไม่เกิน 6 เมตรจากส่วนสูงสุดของหลังคาหรือดาดฟา้ ของอาคารทีต่ ิดตัง้ ป้ายน้นั ขอ้ 9 ป้ายท่ีย่ืนจากผนังอาคารให้ยื่นได้ไม่เกินแนวกันสาด และให้สูงได้ไม่เกิน 60 เซนติเมตร หรือมีพื้นที่ป้ายไม่เกิน2 ตารางเมตร ขอ้ 10 ป้ายท่ีติดตั้งเหนือกันสาดและไม่ได้ย่ืนจากผนังอาคาร ให้ติดตั้งได้โดยมีความสูงของป้ายไม่เกิน 60 เซนติเมตรวัดจากขอบบนของปลายกันสาดน้นั หรอื มพี ื้นทีป่ ้ายไมเ่ กิน 2 ตารางเมตร ข้อ 11 ป้ายทีต่ ิดต้ังใตก้ นั สาดให้ติดตัง้ แนบผนังอาคาร และตอ้ งสงู จากพนื้ ทางเทา้ นนั้ ไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร ขอ้ 12 ปา้ ยโฆษณาส�ำ หรบั โรงมหรสพใหต้ ดิ ตง้ั ขนานกบั ผนงั อาคารโรงมหรสพ แตจ่ ะยน่ื หา่ งจากผนงั ไดไ้ มเ่ กนิ 50 เซนตเิ มตรหรือหากตดิ ต้งั ป้ายบนกนั สาด จะต้องไมย่ น่ื ลาํ้ แนวปลายกนั สาดน้นั และความสงู ของป้ายทง้ั สองกรณีตอ้ งไม่เกนิ ความสูงของอาคาร ขอ้ 13 ป้ายที่ติดตั้งอยู่บนพ้ืนดินโดยตรง ต้องมีความสูงไม่เกินระยะท่ีวัดจากจุดที่ติดตั้งป้ายไปจนถึงก่ึงกลางถนนสาธารณะที่อยู่ใกลป้ า้ ยนน้ั ท่ีสุด และมีความยาวของป้ายไมเ่ กนิ 32 เมตรหมวด 2 ส่วนต่างๆ ของอาคารส่วนท่ี 1 วัสดขุ องอาคาร ข้อ 14 สิง่ ทสี่ ร้างขน้ึ ส�ำ หรบั ติดหรือตั้งปา้ ยทตี่ ดิ ต้งั บนพ้ืนดนิ โดยตรงใหท้ �ำ ดว้ ยวสั ดทุ นไฟท้งั หมด ข้อ 15 เสา คาน พ้ืน บันได และผนังของอาคารที่สูงต้ังแต่สามช้ันข้ึนไป โรงมหรสพ หอประชุม โรงงาน โรงแรมโรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสินค้า อาคารขนาดใหญ่ สถานบริการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานบริการ ทา่ อากาศยาน หรอื อุโมงค์ตอ้ งท�ำ ด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวสั ดทุ นไฟด้วย ขอ้ 16 ผนังของตึกแถวหรือบ้านแถว ต้องทำ�ด้วยวัสดุถาวรท่ีเป็นวัสดุทนไฟด้วย แต่ถ้าก่อด้วยอิฐธรรมดาหรือคอนกรีตไมเ่ สรมิ เหล็ก ผนังนี้ตอ้ งหนาไม่นอ้ ยกว่า 8 เซนติเมตร ข้อ 17 หอ้ งแถว ตกึ แถว หรอื บา้ นแถวทสี่ รา้ งตดิ ตอ่ กนั ใหม้ ผี นงั กนั ไฟทกุ ระยะไมเ่ กนิ หา้ คหู า ผนงั กนั ไฟตอ้ งสรา้ งตอ่ เนอ่ื งจากพน้ื ดนิ จนถงึ ระดบั ดาดฟา้ ทสี่ รา้ งดว้ ยวสั ดถุ าวรทเี่ ปน็ วสั ดทุ นไฟ กรณที เ่ี ปน็ หลงั คาสรา้ งดว้ ยวสั ดไุ มท่ นไฟใหม้ ผี นงั กนั ไฟสงู เหนอื หลงั คาไมน่ ้อยกว่า 30 เซนตเิ มตร ตามความลาดของหลงั คา ข้อ 18 ครวั ในอาคารตอ้ งมพี น้ื และผนังที่ทำ�ด้วยวัสดุถาวรทเ่ี ป็นวสั ดทุ นไฟ ส่วนฝาและเพดานนั้น หากไมไ่ ด้ท�ำ ด้วยวัสดถุ าวรที่เปน็ วัสดุทนไฟ ก็ใหบ้ ดุ ้วยวัสดุทนไฟ74
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์สว่ นที่ 2 พ้ืนทภี่ ายในอาคาร ข้อ 19 อาคารอย่อู าศัยรวมตอ้ งมีพ้นื ทภ่ี ายในแตล่ ะหนว่ ยท่ีใช้เพ่อื การอยอู่ าศยั ไมน่ อ้ ยกวา่ 20 ตารางเมตร ขอ้ 20 หอ้ งนอนในอาคารให้มีความกวา้ งดา้ นแคบที่สดุ ไมน่ อ้ ยกว่า 2.50 เมตร และมีพน้ื ที่ไม่น้อยกว่า 8 ตารางเมตร ข้อ 21 ช่องทางเดนิ ในอาคาร ตอ้ งมีความกว้างไมน่ อ้ ยกว่าตามทีก่ �ำ หนดไว้ดังต่อไปนี้ ประเภทอาคาร ความกวา้ ง 1. อาคารอยอู่ าศัย 1.00 เมตร 2. อาคารอยอู่ าศัยรวม หอพกั ตามกฎหมายว่าดว้ ยหอพัก สำ�นักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคาร พเิ ศษ 1.50 เมตร ข้อ 22 หอ้ งหรือส่วนของอาคารท่ีใชใ้ นการท�ำ กิจกรรมต่าง ๆ ตอ้ งมีระยะดงิ่ ไม่นอ้ ยกว่าตามที่ก�ำ หนดไวด้ งั ต่อไปนี้ ประเภทการใช้อาคาร ระยะดง่ิ 1. หอ้ งที่ใชเ้ ปน็ ทพี่ กั อาศยั บา้ นแถว หอ้ งพกั โรงแรม หอ้ งเรยี นนกั เรยี นอนบุ าล ครวั ส�ำ หรบั อาคารอยอู่ าศยั หอ้ งพกั คนไข้ พเิ ศษ ช่องทางเดินในอาคาร 2.60 เมตร 2. ห้องท่ีใชเ้ ปน็ ส�ำ นักงาน ห้องเรยี น หอ้ งอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน 3.00 เมตร 3. ห้องขายสินค้า ห้องประชมุ ห้องคนไขร้ วม คลงั สินคา้ โรงครัว ตลาด และอ่ืนๆ ท่ีคลา้ ยกัน 3.50 เมตร 4. ห้องแถว ตึกแถว 4.1 ช้นั ลา่ ง 3.50 เมตร 4.2 ต้งั แตช่ นั้ สองขึ้นไป 3.00 เมตร 5. ระเบยี ง 2.20 เมตร ระยะดงิ่ ตามวรรคหน่ึงใหว้ ัดจากพ้นื ถึงพน้ื ในกรณีของช้นั ใต้หลังคาให้วัดจากพ้นื ถงึ ยอดฝาหรอื ยอดผนังอาคาร และในกรณีของห้องหรือส่วนของอาคารท่ีอยู่ภายในโครงสร้างของหลังคา ให้วัดจากพื้นถึงยอดฝาหรือยอดผนังของห้องหรือส่วนของอาคารดงั กลา่ วท่ีไม่ใชโ่ ครงสรา้ งของหลงั คา ห้องในอาคารซ่ึงมรี ะยะดง่ิ ระหวา่ งพนื้ ถงึ พนื้ อกี ชน้ั หนง่ึ ตั้งแต่ 5 เมตรขึน้ ไป จะท�ำ พ้ืนช้นั ลอยในหอ้ งนัน้ ก็ได้ โดยพน้ื ชัน้ ลอยดังกล่าวน้ันต้องมีเนื้อที่ไม่เกินร้อยละส่ีสิบของเนื้อที่ห้อง ระยะด่ิงระหว่างพ้ืนชั้นลอยถึงพ้ืนอีกชั้นหน่ึงต้องไม่น้อยกว่า 2.40 เมตรและระยะด่งิ ระหว่างพืน้ ห้องถึงพนื้ ชน้ั ลอยต้องไมน่ ้อยกว่า 2.40 เมตร ด้วย หอ้ งนํ้า ห้องสว้ ม ตอ้ งมรี ะยะด่ิงระหว่างพ้ืนถึงเพดานไม่นอ้ ยกวา่ 2 เมตร 75
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์ส่วนที่ 3 บนั ไดของอาคาร ขอ้ 23 บนั ไดของอาคารอยอู่ าศยั ถา้ มตี อ้ งมอี ยา่ งนอ้ ยหนงึ่ บนั ไดทมี่ คี วามกวา้ งสทุ ธไิ มน่ อ้ ยกวา่ 80 เซนตเิ มตร ชว่ งหนง่ึ สงู ไมเ่ กนิ3 เมตร ลูกตง้ั สูงไมเ่ กนิ 20 เซนตเิ มตร ลูกนอนเมือ่ หกั สว่ นที่ขน้ั บนั ไดเหลอ่ื มกันออกแลว้ เหลอื ความกวา้ งไมน่ อ้ ยกว่า 22 เซนติเมตรและต้องมีพนื้ หนา้ บนั ไดมคี วามกว้างและยาวไมน่ ้อยกวา่ ความกวา้ งของบนั ได บันไดที่สูงเกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 3 เมตร หรือน้อยกว่านั้น และชานพักบันไดต้องมีความกว้างและยาวไมน่ อ้ ยกว่าความกวา้ งของบันได ระยะดิง่ จากขน้ั บนั ไดหรือชานพกั บันไดถึงส่วนต่ําสุดของอาคารที่อยเู่ หนือข้นึ ไปต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า 1.90 เมตร ข้อ 24 บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สำ�นักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์โรงงาน และ อาคารพเิ ศษ ส�ำ หรบั ที่ใช้กับชนั้ ทมี่ ีพ้นื ท่ีอาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกนั ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ตอ้ งมีความกว้างสุทธิไมน่ ้อยกวา่ 1.20 เมตร แตส่ ำ�หรบั บนั ไดของอาคารดังกลา่ วท่ีใช้กับชัน้ ทีม่ พี ้นื ทอ่ี าคารชั้นเหนอื ขึ้นไปรวมกนั เกนิ 300 ตารางเมตรต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันไดและแตล่ ะบันไดต้องมีความกวา้ งสุทธิไม่นอ้ ยกวา่ 1.20 เมตร บนั ไดของอาคารที่ใชเ้ ปน็ ทช่ี มุ นมุ ของคนจ�ำ นวนมาก เชน่ บนั ไดหอ้ งประชมุ หรอื หอ้ งบรรยายทม่ี พี น้ื ทรี่ วมกนั ตง้ั แต่500 ตารางเมตรขน้ึ ไป หรือบันไดหอ้ งรับประทานอาหารหรอื สถานบรกิ ารทม่ี ีพ้นื ที่รวมกันตัง้ แต่ 1,000 ตารางเมตรขึน้ ไป หรือบันไดของแต่ละชั้นของอาคารน้ันท่ีมีพ้ืนที่รวมกันต้ังแต่ 2,000 ตารางเมตรข้ึนไป ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันไดถา้ มบี ันไดเดียวต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร บันไดท่สี ูงเกนิ 4 เมตร ต้องมชี านพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรือนอ้ ยกวา่ นัน้ และระยะด่ิงจากขนั้ บนั ไดหรือชานพกั บนั ไดถึงส่วนตํา่ สดุ ของอาคารทอ่ี ย่เู หนือข้ึนไปตอ้ งสูงไม่นอ้ ยกวา่ 2.10 เมตร ชานพกั บนั ไดและพนื้ หนา้ บนั ไดตอ้ งมคี วามกวา้ งและความยาวไมน่ อ้ ยกวา่ ความกวา้ งสทุ ธขิ องบนั ได เวน้ แตบ่ นั ไดทมี่ คี วามกวา้ งสทุ ธิเกนิ 2 เมตร ชานพกั บันไดและพืน้ หน้าบันไดจะมคี วามยาวไม่เกนิ 2 เมตรก็ได้ บนั ไดตามวรรคหนงึ่ และวรรคสองตอ้ งมลี กู ตง้ั สงู ไมเ่ กนิ 18 เซนตเิ มตร ลกู นอนเมอื่ หกั สว่ นทข่ี นั้ บนั ไดเหลอ่ื มกนั ออกแลว้ เหลอืความกวา้ งไม่น้อยกวา่ 25 เซนตเิ มตร และตอ้ งมีราวบันไดกันตก บนั ไดทีม่ คี วามกว้างสทุ ธเิ กนิ 6 เมตร และช่วงบันไดสูงเกนิ 1 เมตรต้องมรี าวบนั ไดทั้งสองข้าง บรเิ วณจมูกบันไดตอ้ งมวี ัสดุกนั ล่นื ขอ้ 25 บันไดตามข้อ 24 จะตอ้ งมีระยะหา่ งไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสดุ บนพืน้ ชน้ั นนั้ ขอ้ 26 บันไดตามขอ้ 23 และขอ้ 24 ที่เป็นแนวโคง้ เกิน 90 องศา จะไม่มชี านพักบันไดกไ็ ด้ แตต่ อ้ งมีความกว้างเฉล่ียของลกู นอนไมน่ อ้ ยกวา่ 22 เซนตเิ มตร ส�ำ หรบั บันไดตามข้อ 23 และไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร สำ�หรับบนั ไดตามขอ้ 2476
แนวทางออกแบบสถาปตั ยกรรมย่านถนนเจรญิ ราษฏร์สว่ นท่ี 4 บันไดหนีไฟ ขอ้ 27 อาคารที่สูงต้ังแต่สี่ชั้นข้ึนไปและสูงไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารท่ีสูงสามช้ันและมีดาดฟ้าเหนือช้ันท่ีสามท่ีมีพ้ืนท่ีเกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมบี ันไดของอาคารตามปกติแล้ว ต้องมบี ันไดหนีไฟท่ที �ำ ดว้ ยวัสดทุ นไฟอยา่ งนอ้ ยหน่ึงแหง่ และต้องมีทางเดินไปยงั บันไดหนีไฟน้ันไดโ้ ดยไมม่ ีส่งิ กีดขวาง ข้อ 28 บันไดหนีไฟต้องมีความลาดชันน้อยกว่า 60 องศา เว้นแต่ตึกแถวและบ้านแถวที่สูงไม่เกินสี่ชั้น ให้มีบันไดหนีไฟทม่ี คี วามลาดชันเกิน 60 องศาได้ และตอ้ งมีชานพักบันไดทุกชั้น ข้อ 29 บนั ไดหนีไฟภายนอกอาคารตอ้ งมคี วามกวา้ งสทุ ธไิ มน่ อ้ ยกว่า 60 เซนตเิ มตร และตอ้ งมผี นงั สว่ นทบี่ นั ไดหนีไฟพาดผา่ นเป็นผนังทึบก่อสร้างด้วยวสั ดถุ าวรทเ่ี ปน็ วสั ดุทนไฟ บันไดหนีไฟตามวรรคหน่ึง ถ้าทอดไม่ถึงพ้ืนช้ันล่างของอาคารต้องมีบันไดโลหะท่ีสามารถเลื่อนหรือยืดหรือหย่อนลงมาจนถงึ พ้นื ชน้ั ลา่ งได้ ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร มีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟก้ันโดยรอบเว้นแต่ส่วนที่เป็นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารได้โดยแต่ละช้นั ต้องมีช่องระบายอากาศท่เี ปิดสภู่ ายนอกอาคารได้มีพนื้ ทรี่ วมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.4 ตารางเมตร กับต้องมแี สงสวา่ งใหเ้ พียงพอทั้งกลางวันและกลางคนื ขอ้ 31 ประตูหนีไฟต้องท�ำ ด้วยวสั ดุทนไฟ มคี วามกวา้ งสทุ ธไิ ม่น้อยกว่า 80 เซนตเิ มตร สงู ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.90 เมตร และตอ้ งท�ำ เปน็ บานเปิดชนดิ ผลักออกสู่ภายนอกเท่านนั้ กบั ตอ้ งติดอปุ กรณ์ชนิดทีบ่ ังคบั ใหบ้ านประตูปิดได้เอง และตอ้ งสามารถเปิดออกได้โดยสะดวกตลอดเวลา ประตหู รอื ทางออกสู่บันไดหนีไฟตอ้ งไม่มีธรณีหรือขอบกัน้ ขอ้ 32 พน้ื หนา้ บนั ไดหนีไฟต้องกวา้ งไมน่ อ้ ยกว่าความกวา้ งของบนั ไดและอีกดา้ นหน่งึ กวา้ งไมน่ อ้ ยกว่า 1.50 เมตรหมวด 3 ที่ว่างภายนอกอาคาร ขอ้ 33 อาคารแต่ละหลงั หรอื หน่วยตอ้ งมที ่ีวา่ งตามท่ีกำ�หนดดงั ต่อไปนี้ (1) อาคารอยอู่ าศัย และอาคารอยู่อาศัยรวม ตอ้ งมีท่ีว่างไม่นอ้ ยกว่า 30 ใน 100 ส่วนของพ้ืนท่ีช้นั ใดชนั้ หน่งึ ท่มี ากทส่ี ดุ ของ อาคาร (2) ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอ่ืนซึ่งไม่ได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัย ต้องมีท่ีว่าง ไม่นอ้ ยกว่า 10 ใน 100 ส่วน ของพื้นท่ีชน้ั ใดชั้นหนงึ่ ทีม่ ากท่ีสดุ ของอาคาร แตถ่ า้ อาคารดังกล่าวใชเ้ ปน็ ท่อี ยู่อาศยั ดว้ ยตอ้ งมี ทีว่ า่ งตาม (1) 77
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ ขอ้ 34 ห้องแถวหรือตึกแถวซึ่งด้านหน้าไม่ติดริมถนนสาธารณะ ต้องมีท่ีว่างด้านหน้าอาคารกว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตรโดยไม่ใหม้ ีส่วนใดของอาคารยน่ื ลํ้าเขา้ ไปในพืน้ ท่ีดังกลา่ ว ห้องแถวหรือตึกแถว ตอ้ งมีทีว่ า่ งด้านหลงั อาคารกวา้ งไมน่ ้อยกวา่ 3 เมตร เพอ่ื ใชต้ ดิ ต่อถงึ กัน โดยไม่ใหม้ ีส่วนใดของอาคารยน่ื ลาํ้ เข้าไปในพน้ื ท่ดี งั กลา่ ว เว้นแตก่ ารสร้างบนั ไดหนีไฟภายนอกอาคารที่ยืน่ ลา้ํ ไม่เกนิ 1.40 เมตร ระหวา่ งแถวดา้ นข้างของหอ้ งแถวหรือตึกแถวทีส่ ร้างถึงสิบคหู า หรอื มคี วามยาวรวมกนั ถงึ 40 เมตร ตอ้ งมที ว่ี ่างระหวา่ งแถวดา้ นขา้ งของห้องแถวหรอื ตกึ แถวนน้ั กว้างไม่น้อยกว่า 4 เมตร เป็นชอ่ งตลอดความลึกของห้องแถวหรอื ตกึ แถว เพือ่ เชอ่ื มกับท่ีว่างหลังอาคาร หอ้ งแถวหรอื ตกึ แถวที่สรา้ งตดิ ตอ่ กันไมถ่ งึ สบิ คูหา หรอื มีความยาวรวมกนั ไม่ถงึ 40 เมตร แตม่ ที ่วี ่างระหวา่ งแถวดา้ นขา้ งของหอ้ งแถวหรอื ตกึ แถวนนั้ กวา้ งนอ้ ยกวา่ 4 เมตร ไม่ใหถ้ อื วา่ เปน็ ทว่ี า่ งระหวา่ งแถวดา้ นขา้ งของหอ้ งแถวหรอื ตกึ แถว แต่ใหถ้ อื วา่ หอ้ งแถวหรอื ตกึ แถวนน้ั สร้างตอ่ เนือ่ งเปน็ แถวเดยี วกนั ที่ว่างตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม จะก่อสร้างอาคาร ร้ัว กำ�แพง หรือสิ่งก่อสร้างอ่ืนใด หรือจัดให้เป็นบ่อน้ํา สระว่ายนาํ้ ที่พักมูลฝอย หรอื ที่พกั รวมมลู ฝอยไมไ่ ด้ ห้องแถวหรือตึกแถวที่มีด้านข้างใกล้เขตท่ีดินของผู้อ่ืน ต้องมีที่ว่างระหว่างด้านข้างของห้องแถวหรือตึกแถวกับเขตที่ดินของผู้อื่นนั้นกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร เว้นแต่ห้องแถวหรือตึกแถวท่ีก่อสร้างขึ้นทดแทนอาคารเดิมโดยมีพื้นท่ีไม่มากกว่าพ้ืนท่ีของอาคารเดิมและมคี วามสูงไม่เกนิ 15 เมตร ขอ้ 35 ห้องแถวหรือตึกแถวท่ีมีที่ว่างหลังอาคารตามข้อ 34 วรรคสอง และได้ร่นแนวอาคารตามข้อ 41 แล้ว ไม่ต้องมีทีว่ ่างตามข้อ 33(1) และ (2) อกี ข้อ 36 บ้านแถวต้องมีท่ีว่างด้านหน้าระหว่างรั้วหรือแนวเขตท่ีดินกับแนวผนังอาคารกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตร และต้องมีที่ว่างด้านหลงั อาคารระหว่างรว้ั หรอื แนวเขตท่ีดินกบั แนวผนงั อาคารกวา้ งไมน่ อ้ ยกว่า 2 เมตร ระหว่างแถวด้านขา้ งของบ้านแถวที่สร้างถึงสิบคูหา หรอื มคี วามยาวรวมกนั ถงึ 40 เมตร ตอ้ งมที ีว่ า่ งระหวา่ งแถวด้านขา้ งของบ้านแถวนั้นกว้างไมน่ ้อยกว่า 4 เมตร เป็นชอ่ งตลอดความลกึ ของบ้านแถว บ้านแถวที่สร้างติดต่อกันไม่ถึงสิบคูหา หรือมีความยาวรวมกันไม่ถึง 40 เมตร แต่มีท่ีว่างระหว่างแถวด้านข้างของบ้านแถวนั้นกว้างน้อยกว่า 4 เมตร ไม่ให้ถือว่าเป็นท่ีว่างระหว่างแถวด้านข้างของบ้านแถว แต่ให้ถือว่าบ้านแถวนั้นสร้างต่อเนื่องเป็นแถวเดียวกนั ขอ้ 37 บ้านแฝดต้องมีท่ีว่างด้านหน้าและด้านหลังระหว่างรั้วหรือแนวเขตท่ีดินกับแนวผนังอาคารกว้างไม่น้อยกว่า 3 เมตรและ 2 เมตร ตามลำ�ดับ และมีที่ว่างดา้ นขา้ งกว้างไมน่ อ้ ยกวา่ 2 เมตร78
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ ขอ้ 38 คลงั สินค้าทีม่ พี น้ื ที่ของอาคารทกุ ชั้นรวมกันตัง้ แต่ 100 ตารางเมตร แตไ่ ม่เกิน 500 ตารางเมตร ต้องมที ี่วา่ งห่างแนวเขตทด่ี นิ ท่ีใชก้ อ่ สรา้ งอาคารนนั้ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 เมตร สองดา้ น สว่ นด้านอื่นต้องมที วี่ ่างห่างแนวเขตท่ีดนิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เมตร คลังสินค้าที่มีพ้ืนท่ีของอาคารทุกชั้นรวมกันเกิน 500 ตารางเมตร ต้องมีที่ว่างห่างแนวเขตที่ดินที่ใช้ก่อสร้างอาคารน้ันไมน่ อ้ ยกวา่ 10 เมตร สองด้าน ส่วนด้านอน่ื ตอ้ งมที ีว่ า่ งหา่ งจากแนวเขตทด่ี นิ ไม่น้อยกวา่ 5 เมตร ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่อาคารคลังสินค้าที่อยู่ในเขตพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เว้นแต่ด้านที่อยู่ติดต่อกับเขตที่ดินท่ีอยู่นอกเขตพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมซง่ึ จดั ตงั้ ขนึ้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย ใหม้ ที ว่ี า่ งหา่ งแนวเขตทด่ี นิ ท่ีใชก้ อ่ สรา้ งอาคารนนั้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 เมตร ขอ้ 39 โรงงานท่ีมีพื้นท่ีที่ใช้ประกอบกิจการของอาคารทุกช้ันรวมกันตั้งแต่ 200 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตารางเมตรตอ้ งมีท่วี ่างห่างแนวเขตท่ีดินที่ใช้ก่อสร้างอาคารนั้นไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เมตร จำ�นวนสองด้านโดยผนงั อาคารท้ังสองด้านนี้ใหท้ �ำ เปน็ ผนังทบึ ดว้ ยอฐิ หรือคอนกรีตยกเว้นประตหู นีไฟ สว่ นดา้ นทีเ่ หลือใหม้ ีที่วา่ งไม่น้อยกวา่ 6 เมตร โรงงานที่มีพื้นที่ที่ใช้ประกอบกิจการของอาคารทุกชั้นรวมกันต้ังแต่ 500 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตรตอ้ งมีทว่ี า่ งหา่ งแนวเขตทด่ี ินที่ใชก้ ่อสรา้ งอาคารนัน้ ไมน่ ้อยกวา่ 6 เมตร ทกุ ดา้ น โรงงานทม่ี พี น้ื ทที่ ี่ใชป้ ระกอบกจิ การของอาคารทกุ ชน้ั รวมกนั เกนิ 1,000 ตารางเมตร ตอ้ งมที วี่ า่ งหา่ งแนวเขตทด่ี นิ ท่ีใชก้ อ่ สรา้ งอาคารนนั้ ไม่น้อยกวา่ 10 เมตร ทกุ ดา้ น ความในวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสามมิให้ใช้บังคับแก่อาคารโรงงานที่อยู่ในเขตพื้นท่ีนิคมอุตสาหกรรมซึ่งจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เว้นแต่ด้านที่อยู่ติดต่อกับเขตที่ดินที่อยู่นอกเขตพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมซึ่งจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้มีที่ว่างห่างแนวเขตที่ดินที่ใช้ก่อสร้างอาคารนน้ั ไม่นอ้ ยกวา่ 10 เมตรหมวด 4 แนวอาคารและระยะตา่ งๆ ของอาคาร ขอ้ 40 การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารหรือส่วนของอาคารจะต้องไม่ลํ้าเข้าไปในท่ีสาธารณะ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานซึ่งมอี ำ�นาจหนา้ ท่ดี ูแลรกั ษาทส่ี าธารณะน้ัน ขอ้ 41 อาคารท่ีก่อสรา้ งหรือดดั แปลงใกลถ้ นนสาธารณะท่ีมคี วามกวา้ งนอ้ ยกว่า 6 เมตร ให้รน่ แนวอาคารหา่ งจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร 79
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจริญราษฏร์ อาคารทีส่ งู เกินสองชน้ั หรือเกนิ 8 เมตร ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ป้ายหรือส่งิ ที่สรา้ งขึน้ ส�ำ หรบั ตดิ หรือต้ังป้าย หรอื คลังสินคา้ ที่กอ่ สรา้ งหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะ (1) ถ้าถนนสาธารณะน้ันมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 6 เมตร (2) ถา้ ถนนสาธารณะนนั้ มีความกว้างตง้ั แต่ 10 เมตรข้นึ ไป แตไ่ มเ่ กิน 20 เมตร ให้ร่นแนวอาคารหา่ งจากเขตถนนสาธารณะ อยา่ งนอ้ ย 1 ใน 10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ (3) ถา้ ถนนสาธารณะน้ันมคี วามกวา้ งเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารหา่ งจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้อย 2 เมตร ขอ้ 42 อาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งนํ้าสาธารณะ เช่น แม่นํ้า คู คลอง ลำ�ราง หรือลำ�กระโดง ถ้าแหล่งนํ้าสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งนํ้าสาธารณะน้ันไม่น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหลง่ น้ําสาธารณะนนั้ มีความกวา้ งตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ต้องรน่ แนวอาคารให้หา่ งจากเขตแหลง่ น้ําสาธารณะนนั้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 เมตร ส�ำ หรบั อาคารทีก่ ่อสรา้ งหรือดดั แปลงใกลแ้ หล่งน้ําสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บงึ ทะเลสาบ หรือทะเล ตอ้ งรน่ แนวอาคารให้หา่ งจากเขตแหลง่ นํ้าสาธารณะน้นั ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 เมตร ท้ังนี้ เว้นแต่ สะพาน เขือ่ น ร้วั ท่อระบายนา้ํ ท่าเรอื ปา้ ย อ่เู รอื คานเรอื หรือทีว่ า่ งท่ีใช้เปน็ ทีจ่ อดรถไม่ต้องร่นแนวอาคาร ขอ้ 43 ให้อาคารทสี่ ร้างตามข้อ 41 และขอ้ 42 ตอ้ งมีสว่ นตา่ํ สดุ ของกนั สาดหรือสว่ นย่ืนสถาปตั ยกรรมสูงจากระดับทางเทา้ไม่น้อยกว่า 3.25 เมตร ท้ังนี้ ไม่นับส่วนตบแต่งท่ีย่ืนจากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมีท่อรับน้ําจากกันสาดหรือหลังคาตอ่ แนบหรือฝงั ในผนงั หรอื เสาอาคารลงสูท่ อ่ สาธารณะหรอื บอ่ พัก ข้อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบ วัดจากจุดน้ันไปตั้งฉากกับแนวเขตด้านตรงขา้ มของถนนสาธารณะท่อี ยู่ใกล้อาคารนนั้ ท่ีสุด ความสงู ของอาคารใหว้ ดั แนวดงิ่ จากระดบั ถนนหรอื ระดบั พน้ื ดนิ ทกี่ อ่ สรา้ งขน้ึ ไปถงึ สว่ นของอาคารทสี่ งู ทสี่ ดุ ส�ำ หรบั อาคารทรงจ่ัวหรอื ป้นั หยาให้วัดถงึ ยอดผนงั ของชัน้ สงู สุด ข้อ 45 อาคารหลงั เดยี วกนั ซ่งึ มถี นนสาธารณะสองสายขนาดไมเ่ ทา่ กนั ขนาบอยู่เม่อื ระยะระหว่างถนนสาธารณะ สองสายนน้ัไม่เกนิ 60 เมตร และส่วนกว้างของอาคารตามแนวถนนสาธารณะทีก่ วา้ งกว่าไม่เกนิ 60 เมตร ความสูงของอาคาร ณ จดุ ใดต้องไมเ่ กินสองเทา่ ของระยะราบท่ีใกล้ทสี่ ดุ จากจุดน้นั ไปตัง้ ฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของสายทกี่ วา้ งกว่า ขอ้ 46 อาคารหลงั เดยี วกนั ซงึ่ อยทู่ มี่ มุ ถนนสาธารณะสองสายขนาดไมเ่ ทา่ กนั ความสงู ของอาคาร ณ จดุ ใดตอ้ งไมเ่ กนิ สองเทา่ของระยะราบท่ีใกลท้ สี่ ุด จากจุดน้นั ไปตง้ั ฉากกับแนวเขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของสายท่ีกว้างกว่า และความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไมเ่ กนิ 60 เมตร ส�ำ หรับอาคารซง่ึ เปน็ หอ้ งแถวหรอื ตกึ แถว ความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าตอ้ งไมเ่ กนิ 15 เมตร80
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมย่านถนนเจริญราษฏร์ ข้อ 47 รว้ั หรอื ก�ำ แพงท่สี ร้างขน้ึ ติดตอ่ หรอื ห่างจากถนนสาธารณะน้อยกว่าความสงู ของรั้ว ใหก้ อ่ สร้างได้สูงไมเ่ กนิ 3 เมตรเหนอื ระดบั ทางเท้าหรือถนนสาธารณะ ข้อ 48 การกอ่ สรา้ งอาคารในทดี่ นิ เจ้าของเดยี วกนั ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี (1) ผนงั ของอาคารด้านทม่ี ีหนา้ ตา่ ง ประตู ช่องระบายอากาศหรอื ช่องแสง หรอื ระเบียงของอาคาร ต้องมีระยะห่างจากผนงั ของอาคารอ่นื ด้านท่ีมหี น้าต่าง ประตู ชอ่ งระบายอากาศหรือชอ่ งแสงหรือระเบียงของอาคาร ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) อาคารท่ีมีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรือระเบียงของอาคารต้องอยู่ห่างจากผนังหรือระเบียงของอาคารอื่น ท่มี ีความสงู ไมเ่ กิน 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 4 เมตร (ข) อาคารท่ีมีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ผนังหรือระเบียงของอาคารต้องอยู่ห่างจากผนังหรือระเบียงของอาคารอ่ืน ท่มี คี วามสงู เกนิ 9 เมตร แตไ่ มถ่ ึง 23 เมตร ไมน่ ้อยกว่า 5 เมตร (ค) อาคารที่มีความสูงเกนิ 9 เมตร แตไ่ ม่ถงึ 23 เมตร ผนงั หรือระเบยี งของอาคารต้องอยู่ห่างจากผนงั หรือระเบยี ง ของอาคารอืน่ ทีม่ คี วามสงู เกนิ 9 เมตร แต่ไม่ถงึ 23 เมตร ไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร (2) ผนังของอาคารด้านท่ีเป็นผนังทึบต้องมีระยะห่างจากผนังของอาคารอ่ืนด้านที่มีหน้าต่าง ประตู ช่อง ระบายอากาศ หรอื ช่องแสง หรือระเบยี งของอาคาร ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารต้องอยู่ห่างจากผนังหรือระเบียงของอาคารอื่นท่ีมีความสูง ไม่เกนิ 9 เมตร ไมน่ ้อยกว่า 2 เมตร (ข) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารต้องอยู่ห่างจากผนังหรือระเบียงของอาคารอื่นที่มีความสูง เกนิ 9 เมตร แต่ไมถ่ ึง 23 เมตร ไม่น้อยกวา่ 3 เมตร (ค) อาคารทม่ี คี วามสงู เกนิ 15 เมตร แต่ไมถ่ งึ 23 เมตร ผนังของอาคารตอ้ งอย่หู ่างจากผนงั หรอื ระเบยี งของอาคารอ่ืน ที่มคี วามสูงไม่เกนิ 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 2.50 เมตร (ง) อาคารทีม่ คี วามสงู เกิน 15 เมตร แต่ไมถ่ งึ 23 เมตร ผนังของอาคารต้องอย่หู ่างจากผนังหรอื ระเบียงของอาคารอนื่ ทีม่ คี วามสูงเกนิ 9 เมตร แตไ่ มถ่ งึ 23 เมตร ไมน่ ้อยกวา่ 3.50 เมตร (3) ผนังของอาคารท่ีมีความสูงเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้านท่ีเป็นผนังทึบต้องอยู่ห่างจากผนังของอาคารอ่ืน ท่มี ีความสูงเกนิ 15 เมตร แตไ่ มถ่ ึง 23 เมตร ด้านท่ีเป็นผนงั ทบึ ไมน่ อ้ ยกว่า 1 เมตร สำ�หรับอาคารท่มี ีลักษณะตาม (2) และ (3) ผนังของดาดฟ้าของอาคารด้านท่ีอยู่ใกล้กับอาคารอื่นให้ทำ�การก่อสร้างเป็นผนังทึบสูงจากพื้นดาดฟ้าไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร 81
แนวทางออกแบบสถาปัตยกรรมยา่ นถนนเจรญิ ราษฏร์ ขอ้ 49 การกอ่ สร้างอาคารในบรเิ วณด้านขา้ งของห้องแถวหรือตกึ แถว (1) ถา้ หอ้ งแถวหรอื ตกึ แถวนนั้ มจี �ำ นวนรวมกนั ไดต้ งั้ แตส่ บิ คหู า หรอื มคี วามยาวรวมกนั ไดต้ งั้ แต่ 40 เมตร ขนึ้ ไป และอาคารท่ี จะสร้างขนึ้ เปน็ ห้องแถวหรือตกึ แถว หอ้ งแถวหรือตึกแถวทีจ่ ะสรา้ งขน้ึ ตอ้ งห่างจากผนังด้านขา้ งของห้องแถว หรือตกึ แถวเดิม ไมน่ อ้ ยกวา่ 4 เมตร แต่ถา้ เป็นอาคารอ่นื ตอ้ งหา่ งจากผนงั ด้านขา้ งของหอ้ งแถวหรอื ตึกแถวเดิมไมน่ ้อยกว่า 2 เมตร (2) ถา้ หอ้ งแถวหรอื ตกึ แถวนนั้ มจี �ำ นวนไมถ่ งึ สบิ คหู าและมคี วามยาวรวมกนั ไมถ่ งึ 40 เมตร อาคารทสี่ รา้ งขน้ึ จะตอ้ งหา่ งจากผนงั ดา้ นข้างของห้องแถวหรอื ตกึ แถวนนั้ ไมน่ ้อยกวา่ 2 เมตร เวน้ แต่การสร้างห้องแถวหรอื ตกึ แถวต่อจากห้องแถวหรอื ตึกแถวเดิม ตามข้อ 4 ขอ้ 50 ผนังของอาคารท่ีมีหน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรือช่องแสง หรือระเบียงของอาคารต้องมีระยะห่างจากแนวเขตทด่ี ิน ดังน้ี (1) อาคารทมี่ คี วามสงู ไมเ่ กนิ 9 เมตร ผนงั หรือระเบยี งตอ้ งอยู่ห่างเขตทด่ี ินไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร (2) อาคารทม่ี คี วามสูงเกิน 9 เมตร แตไ่ มถ่ งึ 23 เมตร ผนงั หรือระเบียงตอ้ งอยู่ห่างเขตท่ดี นิ ไมน่ ้อยกว่า 3 เมตร ผนงั ของอาคารที่อยู่ห่างเขตทด่ี ินนอ้ ยกว่าตามที่กำ�หนดไว้ใน (1) หรอื (2) ต้องอยู่หา่ งจากเขตท่ีดินไมน่ อ้ ยกว่า 50 เซนติเมตรเว้นแต่จะก่อสร้างชิดเขตท่ีดินและอาคารดังกล่าวจะก่อสร้างได้สูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารท่ีอยู่ชิดเขตท่ีดิน หรือห่างจากเขตที่ดินน้อยกว่าที่ระบุไว้ใน (1) หรือ (2) ต้องก่อสร้างเป็นผนังทึบ และดาดฟ้าของอาคารด้านน้ันให้ทำ�ผนังทึบสูงจากดาดฟ้าไมน่ ้อยกวา่ 1.80 เมตร ในกรณีก่อสรา้ งชดิ เขตทีด่ ินต้องไดร้ ับความยนิ ยอมเปน็ หนังสือจากเจา้ ของท่ดี ินข้างเคยี งด้านน้นั ด้วยใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 พินจิ จารุสมบัติ รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยหมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบับนี้ คอื โดยทีเ่ ป็นการสมควรกำ�หนดลกั ษณะ แบบ รปู ทรง สัดส่วน เนอื้ ที่ ที่ตั้งของอาคาร ระดบั เนอื้ ท่ขี องที่วา่ งภายนอกอาคารหรอืแนวอาคาร และระยะหรือระดับระหวา่ งอาคารกับอาคารหรือเขตทีด่ ินของผูอ้ น่ื หรอื ระหว่างอาคารกบั ถนน ทางเท้าหรือทีส่ าธารณะ เพ่ือประโยชนแ์ หง่ ความม่นั คงแขง็ แรง ความปลอดภยัการป้องกันอัคคีภัย การสาธารณสขุ การรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม การผงั เมอื ง การสถาปตั ยกรรม และการอ�ำ นวยความสะดวกแกก่ ารจราจร ประกอบกบั มาตรา 8(1) (7) และ (8)แหง่ พระราชบญั ญตั ิควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 ไดบ้ ญั ญัติใหก้ ารก�ำ หนดดงั กลา่ วต้องเป็นไปตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง จงึ จำ�เป็นตอ้ งออกกฎกระทรวงน้ี ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 117 ตอนท่ี 75 ก วันท่ี 7 สงิ หาคม 2543 กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 61 (พ.ศ. 2550) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ 124 ตอนท่ี 17 ก วนั ท่ี 26 มนี าคม 255082
สำ�นักงานกรุงเทพฯ สำ�นกั งานเชยี งใหม่สถาบนั ศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่637/1 อาคารพรอ้ มพนั ธ์ุ ชั้น 4 ยนู ติ 4/2 (อาคารสถาบันวจิ ัยสงั คม)ถ.ลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม. 10900 239 ถ.หว้ ยแก้ว อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ 50200โทรศพั ท์ 0 2938 8826 โทรสาร 0 2938 8864 โทรศพั ท์ 0 5394 2594 โทรสาร 0 5394 2698 www.tuhpp.net
Search