Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit1

Unit1

Published by ดาว เพชรบูรณ์, 2019-11-16 02:55:32

Description: ความหมายของQC

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 1 การควบคุมคุณภาพ

เตรียมหน่วยการสอน ( UNIT LESSON PREPARATION ) วชิ า การควบคุมคุณภาพ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หัวเร่ือง – หัวข้อย่อย เมื่อนกั เรียนเรียนจบบทเรียนน้ีแลว้ จะสามารถ : ระบบการควบคุมคุณภาพในงานการผลิต 1. อธิบายความหมายของการควบคุมคุณภาพไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. บอกถึงปัจจยั ท่ีตอ้ งคานึงในการออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีมี - ระบบการควบคุมคุณภาพ คุณภาพไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งอยา่ งนอ้ ย 4 ปัจจยั - การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต 3. อธิบายประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อยา่ งนอ้ ย 3 ขอ้ รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหสั เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผู้เรียน หนงั สือ (นาท)ี บทนา (5) [5] สวสั ดีคะ่ นกั เรียนทุกคน เมื่อสัปดาห์ที่แลว้ เราได้ ผ้สู อน : ยนื หนา้ ห้องกล่าวทกั ทายผเู้ รียน รู้จกั กนั แลว้ นะคะ สัปดาห์น้ีเราเริ่มเรียนกนั ดีกวา่ วชิ าที่ เกริ่นนาเน้ือหาเลก็ นอ้ ย ครูสอนนะคะคือวชิ า Quality Control หรือ การควบคุม ผ้เู รียน : ต้งั ใจฟังและมีปฏิสัมพนั ธ์ที่ดี คุณภาพนน่ั เองนะคะ ปัจจุบนั การแขง่ ขนั ของตลาดการ คา้ เป็นไปอยา่ งสูง ความตอ้ งการของผบู้ ริโภคก็มีหลาก หลายและเปล่ียนแปลงรวดเร็ว ในสภาวะการตลาดที่ แข่งขนั กนั มาก ผลิตภณั ฑท์ ่ีมีคุณภาพเป็นที่ตอ้ งการของ ผบู้ ริโภคเท่าน้นั ที่จะยนื หยดั อยใู่ นตลาดได้

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผู้เรียน หนงั สือ (นาท)ี เนอื้ หา ระบบการควบคุมคุณภาพ ผู้สอน : อธิบายถึงความหมายของคุณภาพ คุณภาพคืออะไร? ผู้เรียน : ฟังและจดบนั ทึก ถา้ เราถามผบู้ ริโภควา่ “คุณเลือกซ้ือของอยา่ งไร” ผู้สอน : มีการต้งั คาถามแก่ผเู้ รียน คาตอบส่วนใหญจ่ ะออกมาในทานอง “ของดี ราคาถูก” ผ้เู รียน : ช่วยกนั ตอบคาถาม ซ่ึงคาน้ีเป็นปัญหาใหญ่ของผผู้ ลิต เพราะคาวา่ “ของดี” หมายถึงอะไร และราคาเท่าไรจึงจะเรียกวา่ “ของถูก” A (10) ดงั น้นั ก่อนท่ีผผู้ ลิตจะผลิตสินคา้ อะไรออกมาตอ้ งรู้ (1) [15] ความตอ้ งการของผบู้ ริโภคกลุ่มเป้ าหมายวา่ คุณภาพ สินคา้ ที่ผบู้ ริโภคตอ้ งการน้นั มีคุณสมบตั ิอยา่ งไร และ พยายามผลิตสินคา้ ใหม้ ีคุณสมบตั ิตามท่ีผบู้ ริโภค ตอ้ งการออกมา โดยพยายามผลิตใหไ้ ดต้ น้ ทุนที่ต่า ที่สุด ซ่ึงหมายความวา่ ผผู้ ลิตสามารถขายสินคา้ ในราคา ท่ีถูกได้ ดว้ ยเหตุน้ีเอง “คุณภาพ” จึงหมายถึงคุณสมบตั ิ ตา่ งๆ ที่มีอยใู่ นตวั สินคา้ น้นั ถา้ คุณสมบตั ิเหล่าน้นั ถูกใจผบู้ ริโภคมาก แสดงวา่ สินคา้ น้นั มีคุณภาพสูง ถา้ ถูกใจนอ้ ยกม็ ีคุณภาพต่า คุณภาพของสินคา้ จึงมีระดบั การควบคุมคุณภาพทว่ั ท้งั องคก์ ร ผู้สอน : อธิบายถึงการควบคุมคุณภาพทวั่ คุณภาพหมายถึงคุณสมบตั ิต่างๆ ท่ีมีอยใู่ นตวั สินคา้ ท้งั องคก์ ร ผู้เรียน : ฟังและจดบนั ทึก ถา้ เราตอ้ งการขายสินคา้ ได้ คงตอ้ งทาใหค้ ุณสมบตั ิท่ีมี อยใู่ นตวั สินคา้ เป็นที่พงึ พอใจของผบู้ ริโภคในระดบั ดี นอกจากคานึงถึงความพึงพอใจของผบู้ ริโภคแลว้ สาหรับอุตสาหกรรมการผลิตยงั ตอ้ งคานึงถึงความพงึ พอใจของผทู้ างานดว้ ย ตอ้ งจดั สภาวะของการทางาน ใหผ้ ทู้ างานมีความพึงพอใจ มีความปลอดภยั ท้งั ไมม่ ี มลพษิ ต่อส่ิงแวดลอ้ มอีกดว้ ย ยงั ตอ้ งทาไดด้ ว้ ยตน้ ทุนที่ ต่า ดงั น้นั การควบคุมคุณภาพจึงหมายถึง “การกระทา

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผู้เรียน หนงั สือ (นาท)ี

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผู้สอน / ผู้เรียน หนังสือ (นาท)ี การระบุลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑเ์ พอ่ื ให้เกิด อ่านมีลกั ษณะตา่ งกนั ความเขา้ ใจระหวา่ งผอู้ อกแบบและผผู้ ลิตน้นั ตอ้ งระบุ ผู้เรียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก รายละเอียดของชิ้นส่วนทุกๆ ชิ้นที่ตอ้ งผลิต ความ ละเอียดอ่อนและความซบั ซอ้ นจึงมีมาก เพื่อให้ผลผลิต สาเร็จรูปสามารถแสดงสมรรถนะและมีลกั ษณะตามที่ ไดบ้ อกไวก้ บั ผบู้ ริโภค ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นจึงตอ้ งระบุ A (8) ลกั ษณะเฉพาะวา่ มีสมรรถนะอยา่ งไร การระบุ (3-4) [44] ลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑใ์ หผ้ บู้ ริโภคอ่าน มกั ใช้ คาพดู ท่ีเขา้ ใจง่ายและใชภ้ าพของจริงใหด้ ู ระบุ ลกั ษณะเฉพาะกวา้ งๆ ของผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูปเทา่ น้นั ลกั ษณะเฉพาะจึงเป็นมาตรฐานของการผลิตและเป็น ตวั ช้ีถึงระดบั คุณภาพของผลิตภณั ฑน์ ้นั ไดด้ ว้ ย ลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑแ์ บง่ ได้ 3 ระดบั คือ ระดบั โรงงาน ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ การ ผลิตจึงตอ้ งผลิตใหไ้ ดร้ ะดบั คุณภาพตามความตอ้ งการ ของตลาดที่จะนาผลิตภณั ฑน์ ้นั ไปจาหน่าย การออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีมีคุณภาพ ผ้สู อน: อธิบายเร่ืองการออกแบบผลิตภณั ฑ์ ผอู้ อกแบบผลิตภณั ฑต์ อ้ งคานึงถึงความตอ้ งการ ท่ีมีคุณภาพ ผู้เรียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก ของบุคคล 2 ฝ่ ายคือ ผบู้ ริโภคและผผู้ ลิต ดงั น้นั การ ออกแบบผลิตภณั ฑจ์ ึงตอ้ งคานึงถึงปัจจยั ตา่ งๆ 8 ประการ ดงั ต่อไปน้ี 1. สมรรถนะ ส่ิงที่สาคญั และเป็นพ้นื ฐานที่สุดของ คุณภาพผลิตภณั ฑ์ คือการประเมินระดบั สมรรถนะ ของผลิตภณั ฑว์ า่ สามารถทางานไดใ้ นระดบั ท่ีถูกใจ ผบู้ ริโภคตอ้ งการมากนอ้ ยเพียงใด สมรรถนะเป็นส่ิงท่ี ผบู้ ริโภคพงึ ประสงคท์ ี่จะให้ผลิตภณั ฑท์ างานใหเ้ ขาได้ สาเร็จถูกตอ้ งแมน่ ยาและเรียบร้อย สมรรถนะเป็นส่ิงท่ี



รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผู้เรียน หนังสือ (นาท)ี สามารถประเมินหรือวดั ผลได้ ก่อนตดั สินใจพฒั นา สมรรถนะของผลิตภณั ฑใ์ หไ้ ปในแนวทางได ตอ้ ง A (36) สารวจความตอ้ งการของผบู้ ริโภควา่ สนใจจะได้ (4-6) [80] ผลิตภณั ฑท์ ี่มีสมรรถนะดีในดา้ นใด และระดบั ไหน มิฉะน้นั จะเสียเวลาเปล่า อาจทาใหก้ ารพฒั นา ผลิตภณั ฑล์ ่าชา้ กวา่ คู่แข่ง 2. ความมน่ั ใจได้ ผบู้ ริโภคมุง่ หวงั ผลิตภณั ฑท์ ่ีซ้ือ สามารถทางานไดโ้ ดยไม่เสียในช่วงระยะเวลาหน่ึง ผลิตภณั ฑท์ ี่ออกแบบมาไมด่ ี มีการเสียเกิดข้ึน ผบู้ ริโภคตอ้ งเสียเวลา เสียคา่ ใชจ้ า่ ย เสียอารมณ์ บางคร้ังอาจเป็นอนั ตรายต่อผใู้ ชเ้ องดว้ ย ดงั น้นั ผลิตภณั ฑท์ ่ีจะออกสู่ตลาด ควรผา่ นข้นั ตอนการ ตรวจสอบตา่ งๆ เพ่ือสร้างความมนั่ ใจตอ่ ผบู้ ริโภค 3. ซ่อมแซมไดง้ ่าย เมื่อผลิตภณั ฑเ์ สีย การซ่อมแซมได้ ง่ายแลว้ สามารถใชง้ านไดด้ ีเหมือนเดิมเป็ นสิ่งท่ีมี คุณคา่ มาก ถา้ ผอู้ อกแบบไมค่ านึงถึงความยากลาบาก ในการซ่อมแซมก็จะเป็นภาระแก่ผบู้ ริโภคเป็นอยา่ ง มาก 4. ความประทบั ใจเมื่อไดเ้ ป็ นเจา้ ของ ถา้ ออกแบบ ผลิตภณั ฑใ์ หส้ ะดุดตา ใหป้ ระทบั ใจเมื่อเห็นยงิ่ ใชง้ าน ไดส้ ะดวก คล่องแคล่ว กเ็ พิม่ ความเช่ือถือให้แก่ ผบู้ ริโภค อยากไดเ้ ป็ นเจา้ ของ การออกแบบเพอ่ื ให้เกิด ความประทบั ใจแก่ผพู้ บเห็น ควรพจิ ารณาปัจจยั เพิม่ เติมดงั น้ี ก. รูปร่าง ใหม้ ีรูปร่างสวยงามเขา้ กบั สมยั นิยม ข. วสั ดุ เลือกวสั ดุท่ีแลดูสวยงามตามสมยั นิยม ค. สี เลือกใชส้ ีใหเ้ หมาะกบั ผบู้ ริโภคส่วนใหญ่ หรือมี

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหสั เวลา กจิ กรรมผู้สอน / ผู้เรียน หนังสือ (นาท)ี ซ่ึงใหไ้ ดม้ าถึงคุณสมบตั ิของสินคา้ อนั พงึ ประสงค์ เป็ น ท่ีพึงพอใจของผบู้ ริโภค ผทู้ างาน มีความปลอดภยั และ ผู้สอน : อธิบายถึงความหมายของคุณภาพ ไม่เป็นพิษตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม ดว้ ยตน้ ทุนต่า” ใน ผู้เรียน : ฟังและจดบนั ทึก อุตสาหกรรมการผลิต ผบู้ ริโภคนอกจากหมายถึงผซู้ ้ือ ผู้สอน : มีการต้งั คาถามแก่ผเู้ รียน หรือผใู้ ชส้ ินคา้ โดยตรงแลว้ ยงั หมายถึงผรู้ ับช่วงงาน ผ้เู รียน : ช่วยกนั ตอบคาถาม ต่อดว้ ย ภารกิจในการควบคุมคุณภาพจึงเป็นหนา้ ท่ีของ ทุกคนในองคก์ ร ไม่วา่ จะเป็นฝ่ ายผลิต ฝ่ ายสนบั สนุน A (10) การผลิต ฝ่ ายบริหารหรือการตลาด ภารกิจในการ (1) [15] ควบคุมคุณภาพจึงไมม่ ีที่สิ้นสุด มีวงจรเป็นลกั ษณะ บนั ไดเวยี น ซ่ึงตอ้ งพฒั นาสินคา้ ใหม้ ีคุณภาพสูงข้ึน เป็นที่พงึ พอใจของผบู้ ริโภคและของผทู้ างาน โดยมี ตน้ ทุนท่ีต่า และไมเ่ ป็นพิษต่อสิ่งแวดลอ้ ม ลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑ์ ลกั ษณะเฉพาะหรือมาตรฐานของผลิตภณั ฑเ์ ป็ น เครื่องมือสาคญั ในการเช่ือมโยงใหผ้ อู้ อกแบบผผู้ ลิต และผบู้ ริโภคมีความเขา้ ใจตรงกนั ถึงคุณสมบตั ิของ ผลิตภณั ฑ์ นอกจากน้ียงั เป็นตวั บง่ ถึงระดบั คุณภาพ ของผลิตภณั ฑ์อีกดว้ ย ผ้สู อน : อธิบายถึงการควบคุมคุณภาพทวั่ ลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑแ์ บง่ ออกเป็น 2 ดา้ น ดงั น้ี ท้งั องคก์ ร 1. ลกั ษณะเฉพาะทางดา้ นสมรรถนะ ไดแ้ ก่คาอธิบาย ผ้เู รียน : ฟังและจดบนั ทึก วา่ ผลิตภณั ฑน์ ้นั มีขอบเขตของการทางานเป็นอยา่ งไร เช่น เครื่องชง่ั ไฟฟ้ าน้ีบอกคา่ เป็นตวั เลข 2. ลกั ษณะเฉพาะทางดา้ นแบบ ไดแ้ ก่แผนผงั และ คาอธิบายที่แสดงวา่ ผลิตภณั ฑม์ ีรูปร่าง ขนาดอยา่ งไร ทาดว้ ยวสั ดุอะไร เป็นตน้ การระบุลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑใ์ หก้ บั ผผู้ ลิตและ ผบู้ ริโภคอ่านมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหสั เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผ้เู รียน หนงั สือ (นาท)ี หลากหลายสีใหเ้ ลือก ง. เน้ือผิว จดั ทาเน้ือใหส้ ะดุดตา ทาความสะอาดไดง้ ่าย ไม่เสียหายง่ายเม่ือถูกกระทบกระแทก จ. ใชง้ านง่าย ออกแบบใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั สรีรวทิ ยา ทาใหใ้ ชง้ านสะดวก ไมเ่ มื่อยลา้ ง่าย ออกแบบใหใ้ ชง้ าน ง่ายไม่ตอ้ งเสียเวลาในการศึกษาวธิ ีการใชผ้ ลิตภณั ฑ์ นาน 5. ความปลอดภยั ผบู้ ริโภคคานึงถึงความปลอดภยั มาก ข้ึน มีกฎหมายตา่ งๆ ออกมาบงั คบั อีกตา่ งหาก ผอู้ อกแบบจึงตอ้ งมีความรับผดิ ชอบในดา้ นความ ปลอดภยั ของผใู้ ชผ้ ลิตภณั ฑด์ ว้ ย 6. คา่ ใชจ้ า่ ย คา่ ใชจ้ า่ ยสาหรับผลิตภณั ฑเ์ ป็นปัจจยั ที่ สาคญั มากที่ตอ้ งพจิ ารณาในการพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่ คา่ ใชจ้ า่ ยน้ีไม่เพียงแตค่ า่ ใชจ้ ่ายของผบู้ ริโภคท่ีนา ผลิตภณั ฑน์ ้ีไปใชง้ านเท่าน้นั แต่รวมไปถึงค่าใชจ้ ่าย ของผผู้ ลิตในการผลิตสินคา้ ตวั น้ีข้ึนมา การออกแบบท่ี ดีจะตอ้ งทาใหท้ ้งั สองฝ่ ายประหยดั ค่าใชจ้ ่ายไดม้ าก ท่ีสุด 7. ความทนั สมยั ผลิตภณั ฑท์ ี่ประสบความสาเร็จ นอกจากมีจุดอ่อนนอ้ ยท่ีสุดแลว้ ยงั ตอ้ งออกสู่ตลาดให้ ไดใ้ นเวลาท่ีเหมาะสมอีกดว้ ย การออกสู่ตลาดของ ผลิตภณั ฑเ์ ร็วหรือชา้ เกินไป เป็นผลเสียตอ่ ตวั ผลิตภณั ฑเ์ อง 8. การผลิตไดง้ ่าย ผลิตภณั ฑ์ที่ออกแบบใหมค่ วรผลิต ไดง้ ่าย ทาใหไ้ มเ่ สียเวลาและค่าใชจ้ ่ายปัจจุบนั ผลิตภณั ฑแ์ ละกระบวนการผลิตมกั มีความ สลบั ซบั ซอ้ นมาก การออกแบบผลิตภณั ฑใ์ หม่เพอ่ื ให้ ผลิตไดง้ ่าย จึงตอ้ งอาศยั ทีมงานจากหลายๆ ฝ่ ายมาช่วย

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผู้สอน / ผู้เรียน หนงั สือ (นาท)ี กนั ใหค้ วามคิดเห็นในตอนออกแบบ เคล็ดลบั อยา่ งหน่ึงของการออกแบบผลิตภณั ฑใ์ ห้ ผลิตไดง้ ่าย คือ ออกแบบใหม้ ีชิ้นส่วนนอ้ ยท่ีสุด พิกดั ความเผอื่ ของแต่ละชิ้นส่วนตอ้ งไมม่ ากหรือนอ้ ย เกินไป ผู้สอน: อธิบายการควบคุมคุณภาพใน การควบคุมคุณภาพในระบบการผลติ ระบบการผลิต ผ้เู รียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก ระบบการผลิตคือระบบที่เก่ียวขอ้ งกบั การ สร้างสรรคส์ ่ิงตา่ งๆ ใหม้ ีคุณคา่ ข้ึนมา โดยการใชป้ ัจจยั การผลิต อนั ไดแ้ ก่ คน วตั ถุดิบ พลงั งาน เครื่องจกั ร A (11) วธิ ีการ โดยมีผบู้ ริหารงานทาหนา้ ที่วางแผนและ (6) [91] ควบคุมการผลิต เพ่ือใหง้ านดาเนินไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ระบบการผลิตแบง่ ออกเป็น 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ วตั ถุดิบ กระบวนการผลิต และผลิตภณั ฑ์ สาเร็จรูป การควบคุมคุณภาพในระบบกรผลิตจึงตอ้ ง ควบคุมท้งั 3 ข้นั ตอนของระบบการผลิต ผ้สู อน: อธิบายการกาหนดมาตรฐานในการ การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิตตอ้ งกาหนด ควบคุมคุณภาพ มาตรฐานต่างๆ ข้ึนมาก่อน ผ้เู รียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก 1. กาหนดมาตรฐานของคุณภาพ ไดแ้ ก่ มาตรฐานของ วตั ถุดิบแตล่ ะชนิด มาตรฐานของกระบวนการผลิตแต่ ละข้นั ตอน มาตรฐานของผลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตไดใ้ นแต่ละ ข้นั ตอน มาตรฐานของผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูปวา่ มีลกั ษณะ เป็นอยา่ งไร 2. กาหนดมาตรฐานของการตรวจสอบ ไดแ้ ก่ วธิ ีการ A (16) ตรวจสอบวตั ถุดิบ กระบวนการผลิต ผลิตภณั ฑ์ (6-7) [107] สาเร็จรูปวา่ ตอ้ งทาอยา่ งไร 3. กาหนดมาตรฐานของวธิ ีการสุ่มตวั อยา่ ง การ ตรวจสอบอาจทาไดโ้ ดยการตรวจ 100% หรือการสุ่ม ตวั อยา่ ง ถา้ สุ่มตวั อยา่ งตอ้ งมีการกาหนดจุดสุ่มตวั อยา่ ง

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหัส เวลา กจิ กรรมผู้สอน / ผู้เรียน หนงั สือ (นาท)ี ขนาดของตวั อยา่ ง การยอมรับหรือปฏิเสธสิ่งท่ีตรวจ A (26) (7-9) [133] เมื่อไร อยา่ งไร นนั่ คือตอ้ งมีแผนการสุ่มตวั อยา่ ง มาตรการต่างๆ ในการควบคุมคุณภาพในระบบการ ผู้สอน: อธิบายถึงมาตรการต่างๆ ในการ ผลิต ควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต แบ่งออกเป็น 2 มาตรการใหญๆ่ ดงั น้ี ผู้เรียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก ก. มาตรการที่ตอ้ งทาเป็นประจาในกระบวนการผลิต เป็นมาตรการที่ทาเพอ่ื ใหผ้ ลิตภณั ฑม์ ีคุณภาพตรง ตามที่ตอ้ งการ คุณสมบตั ิสม่าเสมอ โดยมีของเสียนอ้ ย ที่สุดไดแ้ ก่ 1. ทาการควบคุมวตั ถุดิบ 2. ทาการควบคุมกระบวนการผลิต 3. ตรวจสอบผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูป ข. มาตรการเพ่อื การปรับปรุงหรือพฒั นา เป็นมาตรการ ที่ทาเพอื่ การปรับปรุงหรือพฒั นาผลิตภณั ฑไ์ มใ่ หม้ ีของ เสียหรือลดปริมาณของเสียไดแ้ ก่ 1. การจดั เกบ็ สถิติการผลิต เก็บขอ้ มลู ปัญหาของ ผลิตภณั ฑ์ 2. วเิ คราะห์หาตน้ เหตุของปัญหา จุดต่างๆ ท่ีมกั จะมีการตรวจสอบ ไดแ้ ก่ 1. ข้นั การเก็บหรือพกั เพราะสะดวกในการตรวจ 2. ตรวจก่อนที่จะถึงข้นั ทาใหเ้ กิดการเสียหายแก่ ชิ้นส่วนและเคร่ืองจกั ร 3. ตรวจตรงจุดที่มีการต้งั เคร่ืองใหม่หรือเริ่มเดินเคร่ือง ใหม่ ลกั ษณะการตรวจสอบอาจแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 แบบคือ 1. แบบตรวจตามตวั แปร 2. แบบตรวจวา่ ดีหรือเสีย 3. การตรวจตามจานวนตาหนิ

รายละเอยี ดเนือ้ หา วธิ ีการสอน รหสั เวลา กจิ กรรมผ้สู อน / ผ้เู รียน หนงั สือ (นาท)ี เป้ าหมายของการตรวจสอบ คือ พยายามรักษาคุณภาพ ใหอ้ ยใู่ นระดบั มาตรฐานที่กาหนดไวแ้ ละหากไม่ ผู้สอน: อธิบายการอ่านประโยชน์ท่ีไดร้ ับ A (16) สามารถจะทาการตรวจไดค้ รบถว้ นสมบรู ณ์แบบ จากการควบคุมคุณภาพ (9) [149] เนื่องจากไม่มีเวลาหรือไม่คุม้ ที่จะทาก็พยายามควบคุม ผู้เรียน : ฟังบรรยาย จดบนั ทึก คุณภาพใหผ้ นั แปรอยใู่ นขอบเขตอนั หน่ึงท่ีพอจะ (31) ยอมรับได้ ผู้สอน: สรุปเน้ือหาและใหก้ ารบา้ น [180] ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการควบคุมคุณภาพ ผ้เู รียน : ร่วมสรุปกบั ผสู้ อน และจด ก. ลดคา่ ใชจ้ า่ ยภายในโรงงาน โรงงานที่มีระบบการ การบา้ นลงในสมุด ควบคุมคุณภาพท่ีเหมาะสม สามารถลดค่าใชจ้ า่ ย เหล่าน้ีลงได้ คือ 1. ทาใหเ้ กิดของเสียนอ้ ยลง เป็นการลดค่าความ เสียหายลง 2. ลดคา่ ใชจ้ ่ายที่ตอ้ งทางานซ่อม ทาใหไ้ ม่ตอ้ งทางาน ซ้าซอ้ น 3. ไม่ตอ้ งลดเกรดของสินคา้ จึงขายไดใ้ นราคาที่ต้งั ไว้ ทาใหไ้ ม่ขาดรายได้ 4. ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการแยกผลิตภณั ฑ์ 5. ไมต่ อ้ งหยดุ การผลิต ทาให้ไม่ตอ้ งเสียเวลา ไมต่ อ้ ง เสียคา่ แรงงานและคา่ เครื่องจกั รไปโดยเปล่าประโยชน์ ข. ลดค่าใชจ้ า่ ยภายนอกโรงงาน 1. ลดการถูกตอ่ วา่ และเปลี่ยนสินคา้ จากผบู้ ริโภค 2. ทาใหช้ ่ือเสียงขององคก์ รดีข้ึน 3. ทาใหข้ ายสินคา้ ไดต้ ามราคาที่กาหนด สรุป

1) สรุปเนือ้ หา คุณภาพ หมายถึง คุณสมบตั ิตา่ งๆ ที่มีอยใู่ นตวั สินคา้ น้นั และการควบคุมคุณภาพทว่ั ท้งั องคก์ รเป็ นหนา้ ท่ีของทุก คนในองคก์ ร ไมว่ า่ จะเป็นฝ่ ายผลิต ฝ่ ายสนบั สนุนการผลิต ฝ่ ายบริหารหรือการตลาด ตอ้ งพฒั นาสินคา้ ใหม้ ีคุณภาพสูงข้ึน เป็นท่ีพึงพอใจของผบู้ ริโภคและของผทู้ างาน โดยมีตน้ ทุนที่ต่าและไมม่ ีพษิ ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ลกั ษณะของผลิตภณั ฑ์ แบ่งออกเป็น 2 ดา้ น 1. ลกั ษณะเฉพาะทางดา้ นสมรรถนะ 2. ลกั ษณะเฉพาะทางดา้ นแบบ การระบุลกั ษณะเฉพาะของผลิตภณั ฑใ์ หก้ บั ผผู้ ลิตและผบู้ ริโภคอา่ นมีลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั เพอื่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจระหวา่ ง ผอู้ อกแบบและผผู้ ลิตน้นั ตอ้ งระบุรายละเอียดของชิ้นส่วนทุกๆ ชิ้นที่ตอ้ งผลิต ความละเอียดอ่อนและความซบั ซอ้ นจึงมี มาก เพ่อื ใหผ้ ลผลิตสาเร็จรูปสามารถแสดงมารรถนะและมีลกั ษณะตามท่ีไดบ้ อกไวก้ บั ผบู้ ริโภค ชิ้นส่วนแตล่ ะชิ้นจึงตอ้ ง ระบุลกั ษณะ การระบุลกั ษณะของผลิตภณั ฑม์ กั ใชค้ าพดู ที่เขา้ ใจง่ายและใชภ้ าพของจริงใหด้ ู ลกั ษณะเฉพาะจึงเป็น มาตรฐานของการผลิตและเป็ นตวั ช้ีถึงระดบั คุณภาพของผลิตภณั ฑน์ ้นั ไดด้ ว้ ยลกั ษณะเฉพาะแบง่ ได้ 3 ระดบั คือ ระดบั โรงงาน ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ การออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีมีคุณภาพ ผอู้ อกแบบผลิตภณั ฑ์ตอ้ งคานึงถึงความตอ้ งการของบุคคล 2 ฝ่ ายคือ ผบู้ ริโภคและ ผผู้ ลิต ดงั น้นั ผอู้ อกแบบผลิตภณั ฑจ์ ึงตอ้ งคานึงถึงปัจจยั ต่างๆ 8 ประการ ดงั ต่อไปน้ี 1. สมรรถนะ 2. ความมน่ั ใจได้ 3. ซ่อมแซมไดง้ ่าย 4. ความประทบั ใจเม่ือไดเ้ ป็ นเจา้ ของ 5. ความปลอดภยั 6. คา่ ใชจ้ า่ ย 7. ความทนั สมยั 8. การผลิตไดง้ ่าย การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต ระบบการผลิตแบ่งออกเป็ น 3 ข้นั ตอนไดแ้ ก่ วตั ถุดิบ กระบวนการผลิต และ ผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูป การควบคุมคุณภาพในระบบการผลิตตอ้ งกาหนดมาตรฐานตา่ งๆ ข้ึนมาก่อน ไดแ้ ก่ 1. กาหนดมาตรฐานของคุณภาพ 2. กาหนดมาตรฐานการตรวจสอบ 3. กาหนดมาตรฐานของวธิ ีการสุ่มตวั อยา่ ง มาตรการตา่ งๆ ในการควบคุมคุณภาพในระบบการผลิต แบง่ ออกเป็ น 2 มาตรการใหญ่ๆ ดงั น้ี ก. มาตรการที่ตอ้ งทาเป็นประจาในกระบวนการผลิต เป็นมาตรการท่ีทาเพอ่ื ให้ผลิตภณั ฑ์มีคุณภาพตรงตามที่ ตอ้ งการ คุณสมบตั ิสม่าเสมอ โดยมีของเสียนอ้ ยท่ีสุดไดแ้ ก่

1. ทาการควบคุมวตั ถุดิบ 2. ทาการควบคุมกระบวนการผลิต 3. ตรวจสอบผลิตภณั ฑส์ าเร็จรูป ข. มาตรการเพื่อการปรับปรุงหรือพฒั นา 1. การจดั เก็บสถิติการผลิต เก็บขอ้ มลู ปัญหาของผลิตภณั ฑ์ 2. วเิ คราะห์หาตน้ เหตุของปัญหา จุดต่างๆ ที่มกั จะมีการตรวจสอบ ไดแ้ ก่ 1. ข้นั การเก็บหรือพกั เพราะสะดวกในการตรวจ 2. ตรวจก่อนท่ีจะถึงข้นั ทาใหเ้ กิดการเสียหายแก่ชิ้นส่วนและเครื่องจกั ร 3. ตรวจตรงจุดที่มีการต้งั เครื่องใหมห่ รือเร่ิมเดินเคร่ืองใหม่ ลกั ษณะการตรวจสอบอาจแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 แบบ คือ 1. แบบตรวจตามตวั แปร 2. แบบตรวจวา่ ดีหรือเสีย 3. การตรวจตามจานวนตาหนิ เป้ าหมายของการตรวจสอบ คือ พยายามรักษาคุณภาพให้อยใู่ นระดบั มาตรฐานท่ีกาหนดไวแ้ ละหากไม่สามารถจะทา การตรวจไดค้ รบถว้ นสมบรู ณ์แบบ เน่ืองจากไมม่ ีเวลาหรือไม่คุม้ ที่จะทาก็พยายามควบคุมคุณภาพใหผ้ นั แปรอยใู่ น ขอบเขตอนั หน่ึงท่ีพอจะยอมรับได้ ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการควบคุมคุณภาพ ก. ลดค่าใชจ้ า่ ยภายในโรงงาน 1. ทาใหเ้ กิดของเสียนอ้ ยลง เป็ นการลดคา่ ความเสียหายลง 2. ลดคา่ ใชจ้ ่ายที่ตอ้ งทางานซ่อม ทาใหไ้ ม่ตอ้ งทางานซ้าซอ้ น 3. ไม่ตอ้ งลดเกรดของสินคา้ จึงขายไดใ้ นราคาท่ีต้งั ไวท้ าใหไ้ มข่ าดรายได้ 4. ลดค่าใชจ้ า่ ยในการแยกผลิตภณั ฑ์ 5. ไม่ตอ้ งหยดุ การผลิต ทาใหไ้ มเ่ สียเวลาเสียคา่ แรงาน และคา่ เคร่ืองจกั รไปโดยเปล่าประโยชน์ ข. ลดค่าใชจ้ ่ายภายนอกโรงงาน 1. ลดการถูกตอ่ วา่ และเปล่ียนสินคา้ จากผบู้ ริโภค ทาใหไ้ มเ่ สียชื่อเสียงไมเ่ สียค่าสินคา้ ที่ถูกเปล่ียน 2. ทาใหช้ ื่อเสียงขององคก์ รดีข้ึน ทาใหย้ หี่ อ้ หรือตราสินคา้ เป็นท่ีน่าเช่ือถือ สินคา้ จึงขายง่ายข้ึน 3. ทาใหข้ ายสินคา้ ไดต้ ามราคาที่กาหนด จึงไดก้ าไรตามที่วางเป้ าหมายไว้

2) ข้อสังเกตการสอน ผู้สอน ผู้เรียน ก่อนการสอน : ผสู้ อน มีการพูดคุยกบั ผเู้ รียนก่อน ก่อนการสอน : มีความพร้อมในการเรียน และมีอุปกรณ์ จะนาเขา้ สู่บทเรียน การเรียน เช่น ปากกา สมุด หนงั สือ เป็นตน้ ระหว่างการสอน : ผสู้ อนมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผูเ้ รียน ระหวา่ งการสอน : ต้งั ใจฟังผสู้ อนและจดบนั ทึก มีการสงั เกตผเู้ รียนมีความสนใจมากนอ้ ยแคไ่ หน หลงั สอนเสร็จ : ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการตอบคาถาม หรือ หลังสอนเสร็จ : สรุปเน้ือหาอย่างย่อ มีการต้ัง ซกั ถามขอ้ สงสยั และเขา้ ใจเน้ือหาที่ไดเ้ รียน คาถามและให้ผเู้ รียนช่วยกนั ตอบ หรือเปิ ดโอกาส ใหผ้ เู้ รียนซกั ถามเม่ืออยากทราบขอ้ มูลเพิม่ เติม 3) คาถาม –คาตอบ คาถาม : คุณภาพคืออะไร? (ข) ตอบ : คุณสมบตั ิต่างๆ ท่ีมีอยใู่ นตวั สินคา้ น้นั คาถาม : ปัจจยั อะไรบา้ งท่ีตอ้ งคานึงในการออกแบบผลิตภณั ฑใ์ ห้มีคุณภาพ? (จ) ตอบ : 1.สมรรถนะ 2.ความมน่ั ใจได้ 3.ซ่อมแซมไดง้ ่าย 4.ความประทบั ใจเม่ือไดเ้ ป็นเจา้ ของ 5.ความปลอดภยั 6.คา่ ใชจ้ ่าย 7.ความทนั สมยั 8.การผลิตไดง้ ่าย คาถาม : การควบคุมคุณภาพมีประโยชน์อยา่ งไรบา้ ง? (จ) ตอบ : ก.ลดค่าใชจ้ า่ ยภายในโรงงาน

1.ทาใหเ้ กิดของเสียนอ้ ยลง เป็นการลดค่าความเสียหายลง 2.ลดค่าใชจ้ า่ ยท่ีตอ้ งทางานซ่อม ทาใหไ้ ม่ตอ้ งทางานซ้าซอ้ น 3.ไม่ตอ้ งลดเกรดของสินคา้ จึงขายไดใ้ นราคาท่ีต้งั ไวท้ าใหไ้ มข่ าดรายได้ 4.ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการแยกผลิตภณั ฑ์ 5.ไม่ตอ้ งหยดุ การผลิต ทาใหไ้ ม่เสียเวลาเสียคา่ แรงาน และคา่ เคร่ืองจกั รไปโดยเปล่าประโยชน์ ข.ลดค่าใชจ้ า่ ยภายนอกโรงงาน 1.ลดการถูกต่อวา่ และเปล่ียนสินคา้ จากผบู้ ริโภค ทาใหไ้ ม่เสียช่ือเสียงไม่เสียคา่ สินคา้ ที่ถูกเปล่ียน 2.ทาใหช้ ื่อเสียงขององคก์ รดีข้ึน ทาใหย้ หี่ ้อหรือตราสินคา้ เป็นท่ีน่าเช่ือถือ สินคา้ จึงขายง่ายข้ึน 3.ทาใหข้ ายสินคา้ ไดต้ ามราคาที่กาหนด จึงไดก้ าไรตามท่ีวางเป้ าหมายไว้ 4) หมายเหตุ 1. อ้างองิ รหัส A : รศ. เกษม พิพฒั น์ปัญญานุกลู , 2541, การควบคุมคุณภาพ QUALITY CONTROL, กรุงเทพ : ประกอบเม ไตร, หนา้ 1-11. 2. สัญลกั ษณ์ (จ) = จา (ข) = เขา้ ใจ 3. เคร่ืองมอื อปุ กรณ์และอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการสอน 1) กระดานไวทบ์ อร์ด 2) ปากกาไวทบ์ อร์ดสีแดงและสีน้าเงิน 3) โปรเจคเตอร์ 4) เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์ 5) หนงั สือ 6) คอมพวิ เตอร์โนต้ บุก๊ 7) ชีทประกอบการเรียน

5) บันทกึ หลงั การสอน ……………………………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………....................................... ……………………………………………………………………………………………....................................... ผบู้ นั ทึก ..........................................................




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook