Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1 การสื่อสารของมนุษย์

ใบความรู้ที่ 1 การสื่อสารของมนุษย์

Published by K Note Book, 2021-06-18 07:14:19

Description: ใบความรู้ที่ 1 การสื่อสารของมนุษย์

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ที่ 1 การสอ่ื สารของมนุษย์ การส่ือสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต มนุษย์จาเป็นต้องติดต่อส่ือสารกันอยู่ตลอดเวลา การ ส่ือสารจึงเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหน่ึงนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ การสื่อสารมี บทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์มาก การส่ือสารมีความสาคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน ซึ่งได้ชื่อว่าเป็น ยคุ โลกาภวิ ตั น์ เป็นยคุ ของข้อมลู ข่าวสาร การสือ่ สารมีประโยชน์ทั้งในแง่บคุ คลและสังคม การสอื่ สารทาให้คน มีความรู้และโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น การส่ือสารเป็นกระบวนการท่ีทาให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่างไม่ หยุดย้ัง ทาให้มนุษย์สามารถสืบทอดพัฒนา เรียนรู้ และรับรู้วัฒนธรรมของตนเองและสังคมได้ การส่ือสาร เป็นปจั จัยสาคญั ในการพัฒนาประเทศ สรา้ งสรรค์ความเจริญกา้ วหนา้ แก่ชมุ ชน และสงั คมในทกุ ด้าน 1.1 ความหมายของการส่ือสาร คาวา่ การส่อื สาร (communications) มที ่ีมาจากรากศัพทภ์ าษาลาตินวา่ communis หมายถงึ ความ เหมือนกันหรือร่วมกัน การสอ่ื สาร (communication) หมายถึงกระบวนการถา่ ยทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรูส้ ึก ความคดิ เหน็ ความต้องการจากผู้สง่ สารโดยผ่านส่ือต่าง ๆ ท่อี าจเป็นการพูด การเขียน สญั ลักษณ์อนื่ ใด การแสดงหรือการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ไปยงั ผูร้ บั สาร ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการส่ือสาร ที่แตกต่างกนั ไปตามความเหมาะสม หรือความจาเปน็ ของตนเองและคู่ส่อื สาร โดยมวี ัตถปุ ระสงคใ์ ห้เกิดการ รบั รรู้ ่วมกนั และมีปฏิกิรยิ าตอบสนองต่อกนั บรบิ ททางการสอื่ สารท่ีเหมาะสมเป็น ปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้การ สือ่ สารสมั ฤทธิ์ผล 1.2 องค์ประกอบของการส่อื สาร การสื่อสาร มี 3 องค์ประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ บคุ คลสองฝ่าย สาร สือ่ บุคคลสองฝ่าย คือ ผูส้ ง่ สาร ไดแ้ ก่ผู้พดู ผเู้ ขยี น หรอื ผู้แสดงความม่งุ หมาย และผรู้ ับสาร อนั ได้แก่ ผฟู้ งั ผู้อา่ น หรอื ผู้รบั ความมุ่งหมาย สาร คอื เรอื่ งราวทตี่ อ้ งการใหร้ ับรู้ ไดแ้ ก่ ข้อมลู ท่เี ป็นความรู้ ประสบการณ์ และความคิดของผสู้ ่อื สาร สอ่ื คือ วธิ กี ารตดิ ตอ่ ใหข้ ้อมูลหรอื เร่อื งราวตา่ ง ๆ ถงึ ผู้รับสาร อาจใช้อุปกรณ์ชว่ ยนาสาร เช่น เคร่อื งรับ โทรศัพท์ ตวั อักษร วีดิทศั น์ เคร่อื งรบั โทรสาร เครื่องขยายเสยี ง รวมท้งั สถานที่และบรรยากาศบริเวณ โดยรอบ ขณะมีการสง่ สาร – รบั สาร

1.3 ภาษาทใ่ี ช้ในการส่ือสาร ภาษา คือ สัญลักษณ์ท่ีกาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดในการส่ือความเข้าใจระหว่างกันของ คนในสังคม ช่วยสร้างความเข้าใจอันดีตอ่ กัน ช่วยสร้างความสัมพันธข์ องคน ในสังคม ถ้าคนในสังคมพูดกัน ด้วย ถ้อยคาท่ีดีจะช่วยให้คนในสังคมอยู่กันอย่างปกติสุข ถ้าพูดกันด้วยถ้อยคาไม่ดี จะทาให้เกิดความ บาดหมางน้าใจกัน ภาษาจึงมีส่วนช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์ ของคนในสังคม ภาษาเป็นสมบัติของสังคม ภาษาที่ใชใ้ นการส่ือสารมี 2 ประเภท คอื วจั นภาษาและอวัจนภาษา 1.3.1 วัจนภาษา (verbal language) วัจนภาษา หมายถึง ภาษาถ้อยคา ได้แก่ คาพูดหรือตัวอักษรท่ีกาหนดใชร้ ่วมกันในสงั คม ซึง่ หมาย รวมทง้ั เสยี ง และลายลกั ษณ์อกั ษร ภาษาถอ้ ยคาเป็นภาษาทมี่ นุษยส์ รา้ งข้ึนอย่างมรี ะบบ มีหลักเกณฑท์ าง ภาษา หรอื ไวยากรณ์ซ่ึงคนในสังคมตอ้ งเรียนรแู้ ละใชภ้ าษาในการฟงั พดู อา่ น เขียนและคดิ การใช้ วจั นภาษาในการส่ือสารต้องคานึงถึงความชดั เจนถกู ต้องตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับลกั ษณะการ ส่อื สาร ลกั ษณะงานเป้าหมายสอ่ื และผ้รู บั สาร วจั นภาษาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ภ าษาพูด ภ าษาพูดเป็นภ าษาท่ีมนุษย์เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคาเพ่ือสื่อสารกับ ผู้อื่น นักภาษาศาสตร์ถือว่าภาษาพูดเป็นภาษาท่ีแท้จริงของมนุษย์ ส่วนภาษาเขียนเป็นเพียงวิวัฒนาการข้ัน หน่ึงของภาษาเท่านั้น มนุษย์ได้ใช้ภาษาพูดติดต่อสื่อสารกับผู้อ่ืนอยู่เสมอ ทั้งในเร่ืองส่วนตัว สังคม และ หน้าทีก่ ารงาน ภาษาพดู จงึ สามารถสร้างความรัก ความเข้าใจ และชว่ ยแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ ในสงั คมมนุษย์ได้ มากมาย ภาษาเขียน ภาษาเขียนเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้อักษรเป็นเคร่ืองหมายแทนเสียงพูดในการ ส่ือสาร ภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ของการพูด ภาษาเขียนนั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ึนมาเพื่อใช้บันทึก ภาษาพดู เป็นตวั แทนของภาษาพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ แมน้ กั ภาษาศาสตรจ์ ะถอื ว่าภาษาเขยี นมิใช่ภาษาทแี่ ท้จริง ของมนุษย์ แต่ภาษาเขียนเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการส่ือสารของมนุษย์ มาเป็นเวลาช้านาน มนุษย์ใช้ภาษา เขียนส่ือสารทั้งในส่วนตัว สังคม และหน้าที่การงาน ภาษาเขียนสร้างความรัก ความเข้าใจ และช่วย แก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์ได้มากมายหากมนุษย์รู้จักเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และ สถานการณ์ 1.3.2 อวัจนภาษา (non-verbal language) อวจั นภาษา หมายถึง เปน็ การส่อื สารโดยไม่ใชถ้ ้อยคา ท้ังท่เี ปน็ ภาษาพูดและภาษาเขยี น เป็น ภาษาทมี่ นุษย์ใช้สอ่ื สารกัน โดยใช้อากัปกริ ยิ า ท่าทาง น้าเสียง สายตาหรอื ใชว้ ัตถุ การใชส้ ัญญาณ และ สง่ิ แวดล้อมตา่ ง ๆ หรอื แสดงออกทางด้านอื่นที่สามารถรับรู้กนั ได้ สามารถแปลความหมายไดแ้ ละทาความ เขา้ ใจต่อกนั ได้ เชน่ สายตา (เนตรภาษา) การแสดงออกทางสายตา เช่น การสบตากันระหว่างผู้ส่งสารและผู้รับสารก็มี ส่วนช่วยในการตีความหมาย เช่น การสบตาแสดงออกถึงความจริงใจ การหรี่ตาแสดงออกถึงความ สงสัย ความไม่แน่ใจ ฯลฯ การแสดงออกทางสายตาจะต้องสอดคล้องกับการแสดงออกทางสีหน้า การ แสดงออกทางสีหน้าและสายตาจะชว่ ยเสริมวัจนภาษาใหม้ ีน้าหนักยิง่ ข้นึ และใช้แทนวจั นภาษาไดอ้ ยา่ งดี

กิริยาท่าทาง (อาการภาษา) การแสดงกิริยาท่าทางของบุคคล สามารถสื่อความหมายได้โดยไม่ต้อง ใช้คาพูด หรือใช้เสริมคาพูดให้มีน้าหนักมากขึ้นได้ ได้แก่ กิริยาท่าทาง การเคล่ือนไหวร่างกายและ อากปั กริ ิยาท่าทางตา่ ง ๆ สามารถสอ่ื ความหมายไดม้ ากมาย เช่น การเคลอื่ นไหวมอื การโบกมือ การส่าย หน้า การพยกั หน้า การยกไหล่ การยิม้ ประกอบ การพูด การยกั ไหล่ การยกั คิว้ อาการน่งิ ฯลฯ น้าเสียง (ปริภาษา) เป็นอวัจนภาษาที่แฝงอยู่ในภาษาพูด ได้แก่ สาเนียงของผู้พูด ระดับเสียงสูง ต่า การเปล่งเสียง จังหวะการพูด ความดังความค่อยของเสียงพูด การตะโกน การกระซิบ น้าเสียงช่วย บอกอารมณ์และความรู้สึก นอกจากน้ียังช่วยแปลความหมายของคาพูด เช่น การใช้เสียงเน้นหนักเบา การ เว้นจังหวะ การทอดเสียง ส่ิงเหล่านี้ทาให้คาพูดเด่นชัดขึ้น การพูดเร็ว ๆ รัว ๆ การพูดที่หยุดเป็นช่วง ๆ แสดงให้เหน็ ถงึ อารมณก์ ลัว หรอื ตืน่ เต้นของผู้พดู เปน็ ต้น สิ่งของหรือวัตถุ (วัตถุภาษา) ส่ิงของหรือวัตถุต่าง ๆ ท่ีบุคคลเลือกใช้ เช่น ของใช้ เคร่ืองประดับ เส้ือผ้า กระเป๋า รองเท้า นาฬิกา ปากกา แว่นตา เป็นต้น ส่ิงเหล่านเี้ ป็นอวัจนภาษาทส่ี อ่ื ความหมายไดท้ ัง้ ส้นิ เนือทหี่ รอื ชอ่ งวา่ ง (เทศภาษา) ช่องวา่ งของสถานทห่ี รอื ระยะใกล้ไกลท่ีบุคคลส่อื สารกัน เปน็ อวจั น ภาษาท่ีส่ือสารให้เข้าใจได้ เช่น ระยะห่างของหญิงชาย พระกับสตรี คนกับสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ คนสองคนน่ัง ชดิ กนั บนม้านงั่ ตวั เดยี วกนั ยอ่ มสือ่ สารให้เขา้ ใจได้วา่ ทัง้ สองคนมคี วามสนทิ สนมเป็นพเิ ศษ เปน็ ต้น กาลเวลา (กาลภาษา) หมายถึง การสื่อความหมายโดยให้เวลามีบทบาทสาคัญ เวลาแต่ละช่วงมี ความหมายในตัว คนแต่ละคน และคนต่างวัฒนธรรมจะมีความคิดและความหมายเกี่ยวกับเวลาแตกต่าง กัน เช่น การตรงต่อเวลาวัฒนธรรมตะวันตกถือว่ามีความสาคัญมาก การไม่ตรงต่อเวลานัดหมายเป็นการ แสดงความดูถกู เปน็ ต้น การสัมผัส (สัมผัสภ าษา) หมายถึง อวัจนภ าษาท่ีแสดงออกโ ดยการสัมผ้สเพื่อสื่อ ความรู้สึก อารมณ์ ความปรารถนาในใจของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร เช่น การจับมือ การ แลบล้ิน การลูบ ศีรษะ การโอบกอด การตบไหล่ ซึ่งสัมพันธ์กับวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่นคนไทยถือมิให้เด็กสัมผัสส่วน หัวของผู้ใหญ่ เปน็ ต้น 1.4 อุปสรรคของการส่อื สารและวธิ ีแกไ้ ข การสื่อสารด้วยภาษาพดู หรือภาษาเขียนย่อมเกดิ ปัญหาในการสื่อสารได้ อุปสรรคของการสือ่ สารและ วธิ แี กไ้ ขมีดังนี้ 1. อุปสรรคของการสื่อสาร : ผูส้ ง่ สาร-ผู้รับสาร ขาดพนื้ ความรแู้ ละประสบการณ์ในเรือ่ งท่ีจะ สือ่ สาร ไม่สนใจ มที ัศนคติไม่ดี วธิ แี กไ้ ข : ศกึ ษาข้อมลู ความรู้ในเรอื่ งนัน้ ๆ อย่างถอ่ งแท้ ทาใจใหเ้ ป็นกลาง ปรบั ทัศนคติและ อารมณ์ใหม้ ั่นคง เพ่ือเปดิ ใจให้พรอ้ มรบั สาร 2. อปุ สรรคของการสอื่ สาร : สาร มคี วามซับซ้อน เยนิ่ เย้อ หรอื มีลักษณะขดั แย้งกนั เอง วิธีแก้ไข : เลือกใช้ให้เหมาะสมแก่กลุ่มบุคคลเป้าหมายท่ีต้องการ วิธีการเดียวกัน ย่อมไม่สามารถ เสนอใหบ้ ุคคลหลากหลายระดบั ความรู้ อาชพี และประสบการณ์ มคี วามเข้าใจไดเ้ ท่าเทยี มกนั

3. อุปสรรคของการส่ือสาร : ภาษา ท่ใี ชใ้ นการสอ่ื สารไม่ตรงประเดน็ ใชภ้ าษาผดิ ระดับ วิธแี ก้ไข : ใช้ถอ้ ยคาชัดเจน ไม่ใชศ้ ัพท์หรือคายากโดยไม่จาเปน็ ใชป้ ระโยคสั้นกะทดั รัด เข้าใจ ง่าย 4. อุปสรรคของการส่ือสาร : สื่อนาสารขัดข้อง ทาให้ผู้รบั สารไมส่ ามารถรับสารไดห้ รือรับไม่สะดวก วธิ แี กไ้ ข : ใหเ้ ลอื กสถานท่ีใหมใ่ หเ้ หมาะสม ใช้ส่ือตา่ ง ๆ เพื่อใหก้ ารสง่ สารน่าสนใจ และช่วยให้ เขา้ ใจได้งา่ ยขึ้น 5. อปุ สรรคของการส่ือสาร : กาลเทศะและสภาพแวดล้อม ทไ่ี มถ่ ูกต้อง ไมเ่ หมาะสม เช่น มเี สยี ง รบกวน ดกึ เกนิ ไป รอ้ นจัด กาลงั ยุ่ง ฯลฯ ทาใหก้ ารส่ือสารไมส่ ัมฤทธิผล วธิ แี ก้ไข : ใหต้ ระหนกั ในคา 3 คา คอื T O P ดงั น้ี เวลา (Time) การกาหนดเวลาใหพ้ อดีไมม่ ากไมน่ ้อยเกนิ ไป จุดม่งุ หมาย (Object) พูดใหเ้ ข้าใจตรงประเดน็ ใช้ศลิ ปะในการพูด สถานท่ี (Place) พิจารณาสถานทใ่ี นการส่ือสาร ในกรณีทีเ่ ปน็ เรือ่ งสว่ นตัวไมเ่ หมาะท่จี ะส่ือสารตอ่ หนา้ บคุ คลท่สี าม ที่มา https://kingkarnk288.wordpress.com

ใบงานที่ 1 การสื่อสารของมนุษย์ ค้าชีแจง ใหน้ ักเรียนทาผงั มโนทัศน์ (mind map) เร่ืองการสื่อสารของมนุษยล์ งในกระดาษน้ี พรอ้ มระบายสี ตกแต่งให้สวยงาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook