Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักฐานทางประวัติศาสตร์ #เรียนกับครูบลูมิ้นท์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ #เรียนกับครูบลูมิ้นท์

Published by Kru Arraya, 2021-05-20 09:07:25

Description: หลักฐานทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ คอื รอ่ งรอยการกระทา การพดู การเขยี น การ ประดษิ ฐ์ การอยู่อาศยั ของมนุษย์ หรือ ลกึ ไปกว่าท่ีปรากฏอย่ภู ายนอก คือ ความคดิ ความอา่ น โลกทัศน์ ความรสู้ กึ ประเพณปี ฏบิ ัตขิ องมนุษย์ในอดีต สง่ิ ที่มนษุ ยจ์ ับตอ้ ง และท้งิ รอ่ งรอยไว้ กล่าวไดว้ ่าอะไรกต็ ามท่มี าเกีย่ วพันกบั มนุษย์ หรอื มนษุ ยเ์ ขา้ ไป เกี่ยวพนั สามารถใช้เปน็ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ไดท้ ง้ั ส้นิ จดตามนะคะเดก็ ๆ

ประเภทหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ 1 แบ่งตามลาดบั ความสาคญั หลกั ฐานช้นั ตน้ หลักฐานชนั้ รอง แบง่ ตามลักษณะ 2 หลกั ฐานท่ีเป็นลายลกั ษณ์อักษร หลกั ฐานที่ไม่เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร

หลักฐานชั้นตน้ หลักฐานปฐมภมู ิ หมายถงึ หลกั ฐานทเ่ี กิดขึ้นในช่วงเวลาที่เกิด เหตกุ ารณ์น้นั หรอื จากผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เหตุการณ์นั้นโดยตรง เชน่ ภาพถา่ ย เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชข้ องมนุษยโ์ บราณ บนั ทกึ ประจาวัน จดหมาย คูนา้ คันดินของเมอื งโบราณ ศลิ าจารกึ เปน็ ต้น หลกั ฐานช้ันรอง หลักฐานทตุ ยิ ภมู ิ หมายถึง หลกั ฐานท่เี ป็นขอ้ มลู ผู้เขยี นหรอื รวบรวมไว้ภายหลงั จากทเ่ี หตกุ ารน้ัน ๆ เกิดขน้ึ แล้ว โดยเรียบเรยี งจาก หลกั ฐานช้ันตน้ หรือ เขียนขึ้นจากคาบอกดลา่ ตอ่ ๆ กนั มา หลักฐานช้นั รองจงึ มคี วามน่าเชอื่ ถือนอ้ ยกว่าหลักฐานช้ันตน้

อยูใ่ น หลักฐานทีเ่ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ท้งั หลกั ฐาน ชั้นต้นและ หลักฐานทีม่ กี ารบนั ทึกเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรลงบนวสั ดุทีค่ งทน หลักฐาน เช่น แผ่นหนิ ใบลาน กระดาษ เปน็ ต้น โดยสามารถแบง่ ออกเป็นศิลา จารกึ พระราชพงศาวดาร ตานาน หนังสอื ราชการ เอกสารสว่ นบุคคล ชน้ั รอง บันทกึ ของชาวต่างชาติ จดหมายเหตุ เปน็ ต้น หลกั ฐานทไ่ี ม่เป็นลายลกั ษณ์อักษร หลกั ฐานทีส่ ่งิ ทม่ี นุษย์สร้างขน้ึ ทงั้ หมดท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไดแ้ ก่ สิ่งกอ่ สร้าง โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปการแสดง คาบอกเลา่ นาฏศิลป์ ตนตรี จติ รกรรม ฯลฯ

หลักฐานช้นั ต้น = หลกั ฐานรว่ มสมัย เกดิ ข้ึนในช่วงเวลาท่ีเกดิ เหตกุ ารณ์ หลักฐานทไ่ี ด้จากการบนั ทกึ จากคาบอกเลา่ ของพูดพบเหน็ หรือ ผ้ทู ี่อยใู่ นเหตุการณ์ หลักฐานชั้นต้น หลักฐานทีเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร หลักฐานท่ีไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร

ตัวอย่างของหลักฐานชน้ั ต้น จารึก จากรึกเกดิ จากการจารกึ เป็นตวั อกั ษรเป็น แผน่ ศลิ าหรือแผ่นหนิ ตัวอย่าง ศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ จารึกพ่อขุน รามคาแหงมหาราช (เปน็ จารกึ ทีจ่ ารึกอกั ษรไทยสมัย สุโขทัยเอาไว้โดยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช มอี ายถุ งึ ๗๐๐ ป)ี

ตัวอยา่ งของหลกั ฐานชั้นตน้ พงศาวดาร เป็นเอกสารทบี่ ันทกึ เรอ่ื งราว เหตุการณใ์ นอดตี ที่เกยี่ วกับพระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั รยิ ท์ ปี่ กครองอาณาจักร หรอื เหตกุ ารณ์ทเี่ ก่ยี วกับอาณาจักรน้ัน ๆ

ตัวอยา่ งของหลักฐานชัน้ ตน้ จดหมายเหตุ เปน็ บนั ทกึ หรอื รายงานเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดขน้ึ ณ ช่วงเวลาหน่งึ ๆ ในอดตี เพ่ือบันทกึ เหตุการณ์ สาคัญของบา้ นเมอื ง วิถชี วี ิต ความเป็นอยู่ รวมถึง ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กิดขึ้น ตวั อยา่ ง จดหมายเหตุหลวงอดุ มสมบตั ิ

ตัวอยา่ งของหลกั ฐานช้ันตน้ รูปถา่ ย รูปถา่ ยถูกบันทกึ ขึน้ ในช่วงเวลาเดยี วกับ เหตุการณ์ ตัวอยา่ ง ภาพถ่ายสถานีรถไฟหัวลาโพงใน อดีต เมื่อประมาณปี พ.ศ.2445

ตวั อยา่ งของหลักฐานชน้ั ต้น รปู ถา่ ย ทอดพระเนตรหลมุ ขดุ คน้ ท่แี หลง่ โบราณคดบี ้านเชียง ทรงเปดิ พพิ ธิ ภัณฑส์ ถานแห่งชาติเจา้ สามพระยา จ.อุดรธานี เมอื่ พ.ศ. 2515 จ.พระนครศรอี ยุธยา เม่อื พ.ศ. 2504

โบราณสถาน ตัวอยา่ งของหลักฐานช้นั ตน้ ราวพุทธศตวรรษท่ี 16 สมยั พระเจา้ สุรยิ วรมันท่ี 1 สงิ่ ทเ่ี คล่อื นทไี่ มไ่ ด้ มอี ายุ กว่า ๑๐๐ ปขี ึน้ ไป และเปน็ ประโยชนใ์ นทางศลิ ปะ ประวตั ศิ าสตร์ หรอื โบราณคดี เชน่ วดั เจดยี ์ วหิ าร กาแพงเมือง อุทยานประวตั ิศาสตรพ์ ิมาย จังหวัดนครราชสีมา

โบราณสถาน ตวั อย่างของหลกั ฐานช้นั ตน้ ปราสาทหินพนมรุ้ง อุทยานประวตั ศิ าสตร์พนมรงุ้ จงั หวดั บรุ รี มั ย์

โบราณวตั ถุ ตวั อย่างของหลักฐานช้ันตน้ เนือ้ ดินสขี าว นวล ไมม่ ีการตกแตง่ ลวดลาย มีการตกแต่งดว้ ยการเขียนลวดลายสี แดง เครื่องป้ันดนิ เผาบา้ นเชียงสมยั กลาง สที ่ีใช้เขยี นเรยี กวา่ “สีดนิ เทศ” (อายุประมาณ 3,000 – 2,300 ป)ี เครือ่ งป้นั ดนิ เผาบ้านเชียงสมยั ปลาย (อายุประมาณ 2,300 – 1,800 ป)ี

หลกั ฐานชั้นรอง = หลกั ฐานที่เกดิ ข้ึนภายหลงั เหตกุ ารณ์ เกิดจากผทู้ ่ไี ม่ได้มีส่วนร่วมภายในเหตกุ าณ์ แตไ่ ด้รบั ร้หู รือทราบในภายหลงั จงึ ไดส้ รา้ งหลกั ฐานนัน้ ขึน้ โดยใช้ขอ้ มลู ทไี่ ดศ้ กึ ษาจากหลักฐานชั้นต้น อนุสาวรยี ์ ตานาน เรือ่ งเลา่ ในทอ้ งถ่นิ คาบอกเล่า หนังสอื แบบเรยี น

ตัวอยา่ งของหลักฐานช้ันรอง ตานาน เร่อื งเลา่ ต่อ ๆ กันมา แลว้ เรยี บเรยี งเปน็ ลาย ลักษณ์อกั ษรในภายหลงั ตัวอย่าง ตานานกอ่ งข้าวน้อยฆา่ แมใ่ นจังหวดั ยโสธร

ตานานกอ่ งขา้ วนอ้ ยฆ่าแมใ่ นจงั หวดั ยโสธร

พระธาตุกอ่ งขา้ วน้อยเป็น พระธาตกุ อ่ งขา้ วน้อย หลักฐานชัน้ ต้น หรอื ช้ันรอง ? พระธาตเุ ป็น หลักฐานชั้นต้น แตต่ านานกอ่ ง ข้าวนอ้ ยฆา่ แม่ เปน็ หลกั ฐานชั้น รอง ตานานก่องขา้ วนอ้ ยฆา่ แม่ในจังหวดั ยโสธร

ตัวอยา่ งของหลักฐานชน้ั รอง อนเุ สาวรีย์ รูปปั้น หรอื สงิ่ ก่อสร้าง เชน่ อาคาร เป็นตน้ ทีส่ รา้ งไว้เป็นทีร่ ะลกึ อนุสาวรยี ์ประชาธิปไตย ถงึ บุคคล หรือเหตุการณ์สาคัญ ตัวอย่าง อนุเสาวรยี ์ ประชาธิปไตยสร้างขนึ้ เปน็ ท่ีระลกึ ถงึ เหตกุ ารณ์เปลยี่ นแปลงการปกครอง จากระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์เป็น ระบอบประชาธปิ ไตย การกอ่ สร้าง อนสุ าวรียป์ ระชาธปิ ไตยเรม่ิ ข้นึ ใน วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2482


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook