รายงานผลการดำเนินการของหลกั สตู ร (มคอ.๗) หลักสูตรพุทธศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.๒๕๖๔) ประจำปี กำรศกึ ษำ ๒๕๖๕ บัณฑติ ศึกษา วิทยาลัยสงฆส์ ุรินทร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์
หมวด สารบัญ ๑ 1 หมวด 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1 หมวด 2 1. หลกั สตู ร 1 2. ระดับคุณวฒุ ิ 1 หมวด 3 3. อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร 1 หมวด 4 4. วันที่รายงาน 1 5. ปกี ารศกึ ษาทีร่ ายงาน 2 6. สถานท่ีต้งั 2 ข้อมูลเชิงสถติ ิ 2 1. จำนวนนกั ศึกษาชั้นปีที่ 1 ท่ีรบั เขา้ ในปกี ารศกึ ษาทรี่ ายงาน 2 2. จำนวนนักศึกษาทส่ี ำเรจ็ การศึกษาในปีทร่ี ายงาน 3. รายละเอยี ดเกย่ี วกบั อตั ราการสำเร็จการศกึ ษา 2 4. จำนวนและรอ้ ยละนักศึกษาที่สอบผา่ นตามแผนการศึกษาของ 2 หลกั สตู รในแตล่ ะปี 2 5. อัตราการเปลีย่ นแปลงจำนวนนกั ศึกษาในแตล่ ะปีการศึกษา 2 ๓ (คิดจากนักศึกษาร่นุ 2) 3 6. ปจั จยั /สาเหตทุ ม่ี ผี ลกระทบต่อจำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา 7. ภาวการณ์ไดง้ านทำของบัณฑิตภายในระยะ 1 ปี หลงั สำเร็จการศกึ ษา 3 8. การวเิ คราะหผ์ ลท่ีได้ การเปล่ยี นแปลงท่ีมผี ลกระทบตอ่ หลักสตู ร 3 1. การเปล่ยี นแปลงภายในสถาบัน (ถา้ มี) ท่ีมผี ลกระทบต่อหลักสูตร 4 4 ในชว่ ง 2 ปที ีผ่ า่ นมา ๕ 2. การเปลย่ี นแปลงภายนอกสถาบนั (ถ้ามี) ทม่ี ีผลกระทบต่อหลักสตู ร ๕ ในชว่ ง 2 ปีทีผ่ ่านมา ๖ ขอ้ มูลสรุปรายวิชาของหลักสูตร ๖ 1. สรุปผลกระบวนวชิ าทเี่ ปดิ สอนในภาคการศึกษา/ปีการศึกษา ๖ 2. การวิเคราะห์กระบวนวิชาท่ีมีผลการเรียนไมป่ กติ ๖ 3. การเปิดกระบวนวชิ าในภาคหรือปีการศกึ ษา ๖ หมวด 5 การบริหารหลักสตู ร หมวด 6 สรุปการประเมินหลักสูตร 1. การประเมินจากผู้ที่กำลงั จะสำเร็จการศกึ ษา (รายงานตามปที ีส่ ำรวจ) 2. การประเมินจากผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง 3. การประเมินคุณภาพหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ฯิ
หมวด 7 คุณภาพของการสอน ๑๐ 1. การประเมินกระบวนวชิ าทเ่ี ปิดสอนในปีทีร่ ายงาน ๑๑ หมวด 8 2. ประสิทธผิ ลของกลยทุ ธก์ ารสอน ๑๑ หมวด 9 3. การปฐมนเิ ทศอาจารย์ใหม่ ๑๓ 4. กิจกรรมการพัฒนาวชิ าชีพของอาจารยแ์ ละบุคลากรสายสนับสนุน ๑๑ ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเกย่ี วกับคณุ ภาพหลักสตู รจากผปู้ ระเมนิ อิสระ 1๔ 1. ขอ้ คิดเหน็ หรือสาระทีไ่ ดร้ ับการเสนอแนะจากผูป้ ระเมิน 1๔ 2. การนำไปดำเนินการเพ่อื การวางแผนหรือปรบั ปรงุ หลกั สูตร 1๔ แผนการดำเนนิ การเพอ่ื พฒั นาหลกั สูตร ๑๕ 1. ความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ งานตามแผนทเี่ สนอในรายงาน ๑๕ ของปที ่ีผา่ นมา ๑๕ 2. ขอ้ เสนอในการพัฒนาหลกั สตู ร ๑๕ 3. แผนปฏิบตั ิการใหม่สำหรับปีการศึกษาถดั ไป (ระบปุ ีการศึกษา)
รายงานผลการดำเนนิ การของหลกั สตู ร ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ชื่อสถาบนั อดุ มศกึ ษา : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา : บัณฑติ ศึกษา วิทยาลยั สงฆส์ ุรนิ ทร์ วิทยาเขตสรุ ินทร์ หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. หลักสูตร : พุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา 2. ระดบั คณุ วุฒ:ิ ปริญญาเอก 3. อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร ชือ่ คณุ วฒุ ิ เลขประจำตวั ประชาชน ๑.พระราชวมิ ลโมลี, ผศ.ดร. - พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) 3-3209-00219-XX-X -อ.ม. (บาลแี ละสนั สกฤต) -พธ.บ.(สงั คมวทิ ยา) -น.บ. (นติ ศิ าสตร)์ -ป.ธ.๙ ๒.พระอธิการเวียง กิตตฺ วิ ณโฺ ณ,ดร. - Ph.D. (Pali &Buddhist Studies) 3-3209-01179-XX-X - M.A. (Pali Literature) - พธ.บ. (การสอนสงั คมศึกษา) ๓.ดร.ธนรฐั สะอาดเอีย่ ม - Ph.D. (Buddhist Studies) 3-3205-00810-XX-X - M.Phil. (Buddhist Studies) - M.A. (Buddhist Studies) - ร.บ. (ทฤษฎีและเทคนิคทางรฐั ศาสตร์) -พธ.บ. (สงั คมศกึ ษา) 4. วนั ทร่ี ายงาน 3๑ พฤษภาคม 25๖๖ 5. ปกี ารศึกษาทร่ี ายงาน 256๕ 6. สถานท่ีตั้ง อาคารพระพรหมบณั ฑิต ชั้น ๓ หอ้ ง ๔๓๔ สำนกั งานหลักสตู รพทุ ธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ตำบลนอกเมอื ง อำเภอเมอื งสรุ นิ ทร์จังหวัดสรุ ินทร์ 3200๐
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๒ หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เชิงสถติ ิ 1. จำนวนนักศึกษาชน้ั ปีที่ 1 ที่รับเข้าในปกี ารศึกษาท่รี ายงาน จำนวน ๘ รปู /คน 2. จำนวนนักศึกษาท่ีสำเร็จการศึกษาในปที ี่รายงาน จำนวน - รูป/คน 2.1 จำนวนนกั ศึกษาทสี่ ำเร็จการศกึ ษาก่อนกำหนดเวลาของหลกั สูตร จำนวน - รูป/คน 2.2 จำนวนนกั ศกึ ษาทส่ี ำเร็จการศกึ ษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร จำนวน - รูป/คน 2.3 จำนวนนกั ศกึ ษาทีส่ ำเร็จการศกึ ษาหลังกำหนดเวลาของหลกั สตู ร จำนวน - รปู /คน 2.4 จำนวนนกั ศึกษาที่สำเรจ็ การศึกษาในวชิ าเอกตา่ งๆ (ระบ)ุ จำนวน - รปู /คน 3. รายละเอียดเกี่ยวกับอตั ราการสำเร็จการศึกษา ร้อยละของนักศึกษาทสี่ ำเร็จการศกึ ษาตามหลักสตู ร 0.00 4. จำนวนและรอ้ ยละนิสิตที่สอบผ่านตามแผนการศึกษาของหลกั สตู รในแต่ละปี รนุ่ /ปที ่เี ข้า 25๖๔ ปกี ารศึกษา (จำนวนคนรบั จรงิ ) หมายเหตุ 25๖๕ 256๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ รุ่นที่ ๒ / ปี ๑ ๘ รนุ่ ท่ี ๑ / ปี ๒ ๒๐ ---- ---- ตกคา้ ง - ---- ---- รวม ๒๐ จบ - ร้อยละนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน กำหนดการศึกษา(คำนวณจากจำนวน นักศึกษาปีที่ 2 ของแตล่ ะรุ่น) 5. อัตราการเปลย่ี นแปลงจำนวนนิสิตในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา (คดิ จากนกั ศึกษารุ่น 2) นสิ ติ ชั้นปีท่ี 1 ที่เรียนต่อช้นั ปีที่ 2 ๗๕ % 6. ปจั จัย/สาเหตุท่ีมผี ลกระทบตอ่ จำนวนนสิ ิตตามแผนการศึกษา - เนื่องจากปญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคโควิน-๑๙ ส่งผลให้นิสติ และผ้สู นใจในการศกึ ษาหลายท่าน ประสบปัญหาทุนค่าธรรมเนียมการศึกษา และผู้ที่ลงทะเบียนแล้ว ก็ไม่สามารถเดินทางมาเรียนได้ตามที่ หลักสูตรกำหนด 7. ภาวะการไดง้ านทำของบัณฑิตภายในระยะ 1 ปีหลงั สำเรจ็ การศึกษา - วนั ทสี่ ำรวจ - - จำนวนแบบสอบถามท่สี ่ง - ฉบับ - จำนวนแบบสอบถามท่ีตอบกลับ - ฉบบั - ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถามกลบั – หมายเหตุ: หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ไม่มีการประเมินในส่วนของบัณฑิตที่มีงานทำ และหลักสูตรพุทธ ศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา วิทยาลยั สงฆ์สรุ ินทร์ วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ยังไม่มีบัณฑิตผู้สำเร็จ การศกึ ษา เนอื่ งจากหลักสูตรพึ่งเปิดไดเ้ พยี ง ๒ ปีเท่าน้นั
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๓ การกระจายภาวะการไดง้ านทำเทยี บกับจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม การได้ ได้งานทำแล้ว ไมป่ ระสงคจ์ ะทำงาน ยงั ไมไ่ ด้งานทำ งานทำ ตรงสาขาที่ ไมต่ รงสาขาท่ี ศึกษาต่อ สาเหตอุ ืน่ - - เรียน เรยี น จำนวน - - - - รอ้ ยละของ - - -- ผู้ตอบกลับ * ร้อยละใหค้ ิดจากจำนวนแบบสอบถามของผตู้ อบกลับ 8. การวเิ คราะหผ์ ลทไ่ี ด้ - หมวดท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงทม่ี ีผลกระทบตอ่ หลักสตู ร 1. การเปล่ียนแปลงภายในสถาบัน (ถา้ มี) ที่มีผลกระทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปที ่ีผา่ นมา -ไม่มี เน่ืองจากหน่วยงานต้นสังกัดของหลักสูตรฯ ยังไม่มีหลักสูตรใดเปิดทำการเรียนการสอนใน ระดบั ดุษฎีบัณฑติ จึงยงั ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ หลกั สตู รแต่อย่างใด 2. การเปลี่ยนแปลงภายนอกสถาบนั (ถา้ มี) ที่มผี ลกระทบต่อหลักสตู รในชว่ ง 2 ปที ี่ผ่านมา - ในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา มีการเปิดหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนในสาขาที่ใกล้เคียงกันมากใน สถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชน โดยเฉพาะวิทยาลัยสงฆ์ และวิทยาเขต ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ในเขตอีสานตอนล่าง อันประกอบด้วย วิทยาเขตนครราชสีมา เปิดหลักสูตรระดับ มหาบัณฑิต ๒ สาขา คือ (๑) พระพุทธศาสนา (๒) ปรัชญา วิทยาเขตอุบลราชธานี เปิดหลักสูตรระดับ มหาบัณฑิต ๑ สาขา คอื พระพทุ ธศาสนา วทิ ยาลยั สงฆบ์ ุรีรัมย์ เปดิ หลกั สูตรระดับมหาบัณฑติ ๒ สาขา คือ (๑) พระพุทธศาสนา (๒) ปรัชญาวิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ เปิดหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต ๑ สาขา คือ พระพุทธศาสนา วทิ ยาสงฆ์ร้อยเอ็ดเปิดหลักสตู รระดับมหาบัณฑิต ๑ สาขา คือ พระพุทธศาสนา ผลกระทบ ตอ่ หลักสูตร คอื ทำใหป้ รมิ าณนิสิตสมคั รเรยี นในหลักสตู รนอ้ ยลง - ในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยทั่วไป ในเขตพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ และใกล้เคียง ได้เปิดโอกาส ใหพ้ ระภิกษสุ ามเณรสามารถสมัครเรยี นในระดับบัณฑติ ศึกษา ในสาขาตา่ ง ๆ อาทิเช่น มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ผลกระทบต่อหลักสูตร คือ ทำให้ปริมาณนิสิตสมัครเรียนใน หลกั สตู รนอ้ ยลง
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๔ หมวดที่ 4 ขอ้ มลู สรุปกระบวนวิชาของหลกั สตู ร ๑.สรปุ ผลกระบวนวิชาท่เี ปดิ สอนในภาคการศึกษา/ปีการศึกษา ชนั้ ปีที่ ๑ (รุ่นที่ ๒/๒๕๖๕) ภาค/ปี การกระจายระดับคะแนน จำนวน จำนวน การศกึ ษา นศ. ท่ี นศ. ท่ี ลง ชอ่ื กระบวนวิชา เรียน สอบผ่าน ๑/๒๕๖๕ A A- B+ B C C D I S U ++ 801101 - ๔ - - ---๓ ๑ ๘ ๘ ๗ สัมมนาพระไตรปฎิ กและอรรถกถา ๕ ๕ 800102 ๑ ๒ - - ---๔ - ๑ ๘ ๕ พระพทุ ธศาสนากบั ศาสตร์แห่งการตีความ ๔ ๒ ๒ - - --- - ๑ ๓ ๘ สัมมนาวิทยานนิพนธแ์ ละงานนพิ นธ์ 801105 ๒ ๒ - - --- - ๑ ๓ ๘ สมั มนาพระไตรปฎิ กและงานนิพนธ์ ๒/๒๕๖๕ 801203 ระเบียบวิธีวจิ ัยชัน้ สูง 801207 สมั มนาหลักพทุ ธธรรม ๒ ๑ ๒ --- - - - ๕ 801208 สัมมนาพระพุทธศาสนากบั วทิ ยาการ ๕ - - - - - - - - ๓ ๘ สมยั ใหม่ 801323 สัมมนาอารยธรรมพนมดงรัก ๓ - ๑ - --- - - - ๔
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๕ ชนั้ ปีท่ี ๒ (รนุ่ ที่ ๑/๒๕๖๔) ภาค/ปี การกระจายระดับคะแนน จำนวน จำนวน การศกึ ษา นศ. ท่ี นศ. ท่ี ลง ชอื่ กระบวนวิชา เรียน สอบผา่ น ๑/๒๕๖๕ A A- B+ B C C D+ I S U + ๘๐๑ ๓๐๙ พระพุทธศาสนากับศาสตร์ของการใช้ - - - - - - - - ๘ - ๘ ๘ เหตุผล ๘๐๑ ๓๒๔ ขอมศกึ ษา ๔ ๔ - - -- - - - - ๘ ๘ ๘๐๑ ๒๑๒ สัมมนาพระพุทธศาสนากับการพฒั นาท่ี - - - - - - - - ๖ ๓ ๙ ๖ ยง่ั ยนื ๒/๒๕๖๕ -ไม่มีวิชาเรียนในภาคเรยี นน้ี 2. การวิเคราะห์กระบวนวิชาทีม่ ผี ลการเรียนไม่ปกติ 2.1 รหัสและชื่อกระบวนวิชา ความไม่ปกติท่ีพบ รหัส ๘๐๑ ๒๐๘ สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิทยาการ -มนี สิ ติ มผี ลการเรียนไม่สมบรู ณ์คิดตดิ I จำนวน ๖ รปู สมยั ใหม่ การดำเนนิ การตรวจสอบ - แจ้งให้นิสิต ผู้มีผลการเรียนไม่สมบูรณ์ (ติด I) ติดต่อพบอาจารย์ผู้บรรยายประจำรายวิชา (เพ่ือ ดำเนนิ การแก้ไขผลการเรียนใหส้ มบูรณ์ เหตผุ ลที่ทำให้เกดิ ความไม่ปกติจากข้อกำหนดหรือเกณฑท์ ต่ี ้งั ไว้ - ดำเนินการตรวจสอบแลว้ พบว่า นิสิตไม่ได้ส่งงานอาจารยผ์ ู้บรรยายตามกรอบระยะเวลาทีก่ ำหนดใน มคอ.3 มาตรการแก้ไขท่ีไดด้ ำเนนิ การแลว้ (หากจำเป็น) - แจง้ นิสติ ให้ดำเนนิ การสง่ งานตามที่อาจารยผ์ ูบ้ รรยายได้มอบหมายให้เสรจ็ สน้ิ ก่อนรับการประเมินประกนั คณุ ภาพการศึกษาในระดบั หลักสตู ร และก่อนเปิดภาคเรยี น ตามลำดบั
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๖ 3. การเปดิ กระบวนวิชาในภาคหรอื ปกี ารศกึ ษา 3.1 กระบวนวชิ าทไี่ ม่ได้เปิดตามแผนการศกึ ษาและเหตุผลทไี่ ม่ไดเ้ ปดิ รหสั และช่ือกระบวนวชิ า คำอธบิ าย มาตรการทดแทนท่ไี ด้ ดำเนินการ (ถา้ ม)ี -ไมม่ ี -ไม่มี -ไมม่ ี 3.2 วิธีแกไ้ ขกรณที ม่ี กี ารสอนเนื้อหาในกระบวนวชิ าไม่ครบถว้ น รายวชิ า สาระหรอื หัวข้อท่ีขาด สาเหตทุ ี่ไมไ่ ด้สอน -ไมม่ ี -ไม่มี -ไม่มี การแกไ้ ขท่ไี ด้ดำเนินการแล้ว -ไมม่ ี หมวดท่ี 5 การบรหิ ารหลกั สตู ร ปญั หาในการบริหารหลกั สตู ร ผลกระทบของปญั หา แนวทางการป้องกันและแก้ไข ต่อสัมฤทธผิ ลตาม ปญั หาในอนาคต วัตถุประสงค์ของหลักสูตร การเชิญอาจารย์พเิ ศษ การสร้างขั้นตอนที่ไม่จำเป็น/ทำ ควรสร้างขั้นตอนให้น้อยลง ให้ ให้การดำเนินการล้าช้า/เพิ่ม เกิดความคลอ่ งตวั ภาระงานให้กบั คณาจารย์ การแจ้งผลการเรียนล้าช้าในบาง ทำให้นิสิตไม่สามารถทราบผล แจ้งอาจารย์ผู้บรรยายประจำ รายวิชา (วชิ าศึกษางานสำคญั การเรียน / และไม่สามารถทำให้ รายวิชาทราบ เพื่อหาแนว ทางพระพุทธศาสนา รหัส 606 นิสิตสำหรับการศึกษาตามกรอบ ทางแก้ไข 208 ) ระยะเวลาทก่ี ำหนด การดำเนินการดา้ นวิทยานพิ นธ์ นิสิตไม่จบภายใน 2 ปี ตามที่ คณาจารย์ประจำ/รับผิดชอบ หลักสูตรกำหนดทำให้เป็นภาระ หลักสูตรควรกำกับติตามให้ กับอาจารย์ที่ปรึกษาที่จะรับนิสิต เป็นไปตามท่ีหลกั สูตรกำหนด เพ่ิม
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๗ หมวดท่ี 6 สรปุ การประเมนิ หลกั สตู ร 1. การประเมินจากผทู้ ่ีกำลังจะสำเร็จการศกึ ษา (รายงานตามปีทีส่ ำรวจ) วนั ทส่ี ำรวจ[คลกิ พิมพ]์ 1.1. ขอ้ วิพากษ์ทีส่ ำคญั จากผลการประเมิน ข้อคดิ เห็นของคณาจารยต์ อ่ ผลการประเมนิ จุดอ่อน [คลกิ พิมพ]์ [คลกิ พิมพ์] จดุ แข็ง [คลกิ พิมพ์] 1.2 ขอ้ เสนอการเปลี่ยนแปลงในหลกั สตู รจากผลการประเมนิ ข้อ 1.1 [คลิกพิมพ]์ 2. การประเมนิ จากผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้อง [คลกิ พิมพ]์ 2.1 ขอ้ วิพากษท์ ี่สำคญั จากผลการประเมิน ข้อคิดเหน็ ของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน จุดอ่อน [คลิกพิมพ์] [คลิกพิมพ์] จุดแข็ง [คลิกพิมพ์] 2.2 ขอ้ เสนอการเปล่ยี นแปลงในหลกั สตู รจากผลการประเมินข้อ 2.1 [คลกิ พิมพ]์ 3. การประเมินคุณภาพหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิฯ 3.1 ระบบการประเมินและการใหช้ ่วงคะแนนที่ใช้ในการประเมินการเรียนการสอนและการ ประเมินอ่ืนๆที่ใชก้ ับการประเมนิ หลักสูตร ตวั บ่งช้ีผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators)ของหลักสูตร ชนดิ ของตัวบง่ ชี้ : กระบวนการ เกณฑ์มาตรฐาน : ระดับ ดชั นบี ่งชีผ้ ลการดำเนนิ งาน ปีท่ี ปีที่ 2 ปีท่ี 3 ปีท่ี 4 ปที ่ี 5 1 1. อาจารย์ประจำหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 80%มี ส่วนร่วมในการประชุมวางแผน ติดตาม และ ทบทวนการดำเนนิ การของหลักสูตร 2. มีการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ. 2) ที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาในทุก ประเด็น 3. มีรายละเอียดของกระบวนวิชา (มคอ. 3) และ ของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 4) ตาม
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๘ ดชั นีบ่งชีผ้ ลการดำเนนิ งาน ปที ่ี ปที ่ี 2 ปีท่ี 3 ปีที่ 4 ปีท่ี 5 1 แบบฟอร์มของ สกอ. ก่อนการเปิดสอน ครบ ทุก กระบวนวิชา 4. มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของ กระบวนวิชา (มคอ. 5) และของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ. 6) ตามแบบฟอร์มของ สกอ. ภายใน 30 วนั หลังส้นิ สุดภาคการศึกษาท่ีเปิดสอน ครบ 100% 5. มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของ หลักสูตร (มคอ. 7) ตามแบบฟอร์มของ สกอ. ภายใน 60 วัน หลังสน้ิ สุดปีการศึกษา 6. มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ นักศึกษาในกระบวนวิชา ไม่น้อยกว่า 25% ของ กระบวนวิชาท่ีรบั ผดิ ชอบที่เปดิ สอนในแตล่ ะปี 7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานในปี กอ่ นหน้า ไมน่ ้อยกวา่ 80% ของแผน 8. อาจารย์ใหม่ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำ ด้านการจดั การเรยี นการสอนทกุ คน 9. อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนา อย่าง น้อยปลี ะ 1 คร้งั 10. บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ได้รับ การพัฒนาทางวชิ าการ/วชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ 50% 11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ ต่อคุณภาพของหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อย กวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ต่อ คุณภาพของบัณฑิต เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก คะแนนเตม็ 5 เกณฑ์การประเมินระดบั คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 1
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๙ รายงานผลการดำเนินงานตามดชั นีบง่ ช้ี ผลการดำเนินงาน คำอธิบายหรอื หลักฐาน ดัชนีบง่ ช้ผี ลการดำเนินงาน อ้างอิง 1. อาจารย์ประจำหลักสูตร ไม่น้อยกว่า มีการประชุมอาจารย์ประจำ เอกสารรายงานการประชุม อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 80% มีส่วนร่วมในการประชุมวางแผน หลักสูตรไม่น้อยกว่า 80 % มเี อกสาร มคอ. 2 มเี อกสาร มคอ. 3 ติดตาม และทบทวนการดำเนินการของ เอกสาร มคอ. 5 หลกั สูตร เอกสาร มคอ. 7 2. มีการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร มี มคอ. 2 ฉบบั สมบูรณ์ เอกสารผลทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ (มคอ. 2) ที่สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ เอกสารการดำเนินงาน บัณฑติ ศึกษา สาขาวิชาในทุกประเดน็ ไม่มี 3. มีรายละเอียดของกระบวนวิชา (มคอ. 3) จดั ทำ มคอ. 2 ครบทกุ เอกสารการอบรม และของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 4) รายวชิ า ส่งกอ่ นเปดิ ภาค ตามแบบฟอร์มของ สกอ. ก่อนการเปิดสอน การศกึ ษา ครบทุกกระบวนวิชา 4. มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของ มี มคอ. 5 ครบทุกวิชา กระบวนวิชา (มคอ. 5) และของ ประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ. 6) ตาม แบบฟอร์มของ สกอ. ภายใน 30 วัน หลัง ส้นิ สุดภาคการศึกษาที่เปดิ สอน ครบ 100% 5. มีการจัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของ มี มคอ. 7 หลักสูตร (มคอ. 7) ตามแบบฟอร์มของ สกอ. ภายใน 60 วนั หลังส้นิ สดุ ปกี ารศึกษา 6. มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ 25 % นักศึกษาในรายวิชา ไม่น้อยกว่า 25% ของ กระบวนวิชาที่รับผิดชอบที่เปิดสอนในแต่ละ ปี 7. มีการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการ 80 % สอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผล การเรียนรู้ จากผลการประเมินการ ดำเนินงานที่รายงานในปีก่อนหน้า ไม่น้อย กว่า 80% ของแผน 8. อาจารย์ใหม่ได้รับการปฐมนิเทศหรือ ไม่มี คำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอนทุก คน 9. อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนา อาจารยป์ ระจำทกุ คนไดร้ บั อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง การพัฒนา
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๐ ดัชนบี ง่ ช้ีผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงาน คำอธบิ ายหรือหลกั ฐาน อา้ งอิง 10. บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ไดร้ ับการพัฒนา ได้รับการพัฒนาทางวิชาการ/วชิ าชีพ ไม่น้อย เอกสารการอบรม กว่า 50% เอกสารมคอ.7 11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี มี สดุ ท้าย/บณั ฑติ ใหม่ ตอ่ คุณภาพของหลักสูตร เอกสารสรุประเมนิ หลกั สูตร เฉล่ียไม่นอ้ ยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5 12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ต่อ มี คุณภาพของบัณฑิต เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 หมวดที่ 7 คณุ ภาพการสอน 1. การประเมนิ กระบวนวชิ าทเี่ ปดิ สอนในปีที่รายงาน 1.1 กระบวนวิชาท่ีมีการประเมินคุณภาพการสอนและแผนการปรบั ปรุงจากผลการประเมิน (ตัวอย่าง) รหสั และช่ือกระบวนวิชา การประเมิน การประเมินคณุ ภาพการสอน แผนปฏิบตั ิท่ีได้ จากนกั ศกึ ษา วิธีอ่ืน (ระบ)ุ ดำเนนิ การแลว้ มี ไมม่ ี มี ไมม่ ี ๘๐๑ ๑๐๑ สัมมนาพระไตรปิฎกและอรรถ กถา ออนไลน์ (แบบ ๑.๑) ๘๐๑ ๑๐๑ สัมมนาพระไตรปฎิ กและอรรถ กถา ออนไลน์ (แบบ ๒.๑) ๘๐๐ ๑๐๒ พระพทุ ธศาสนากับศาสตร์แห่งการ ออนไลน์ ตีความ (แบบ ๑.๑) ๘๐๐ ๑๐๒ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการ ออนไลน์ ตคี วาม (แบบ ๒.๑) ๘๐๑ ๑๐๕ สัมมนาพระไตรปิฎกและงานนิพนธ์ ออนไลน์ (แบบ ๒.๑) ๘๐๐ ๔๐๑ สัมมนางานวิจัยและงานนิพนธ์ ออนไลน์ (แบบ ๒.๑) ๘๐๑ ๒๐๓ ระเบียบวธิ วี จิ ัยช้นั สูง (แบบ ๑.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๒๐๓ ระเบยี บวธิ ีวจิ ยั ชน้ั สูง (แบบ ๒.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๒๐๗ สมั มนาหลกั พุทธธรรม (แบบ ๑.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๒๐๗ สัมมนาหลกั พทุ ธธรรม (แบบ ๒.๑) ออนไลน์
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๑ ๘๐๑ ๒๗๐ สมั มนาพระพทุ ธศาสนากบั ออนไลน์ วิทยาการสมยั ใหม่ (แบบ ๑.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๒๗๐ สมั มนาพระพุทธศาสนากบั ออนไลน์ วิทยาการสมยั ใหม่ (แบบ ๒.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๓๒๓ สัมมนาอารยธรรมพนมดงรกั ออนไลน์ (แบบ ๒.๑) ออนไลน์ ๘๐๑ ๒๑๒ สัมมนาพระพุทธศาสนากับการ พัฒนาท่ียงั่ ยนื (แบบ ๒.๑) ๘๐๑ ๓๐๙ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการ ใช้เหตผุ ล ๘๐๑ ๓๒๔ ขอมศกึ ษา (แบบ ๒.๑) 1.2 ผลการประเมินคุณภาพการสอนโดยรวม 1.2.1 ชั้นปที ี่ ๑ มที ั้งหมด ๗ * วิชา ผลการประเมนิ คณุ ภาพการสอนโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สดุ (๔.๙๔) 1.2.2 ชน้ั ปีที่ ๒ มที ้ังหมด ๓ วชิ า ผลการประเมนิ คุณภาพการสอนโดยรวม อยู่ในระดบั มากท่สี ุด (๔.๗๖) 2. ประสิทธผิ ลของกลยุทธก์ ารสอน แยกเปน็ รายวชิ า ดังมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ ท่ี ช้ันปที ่ี รหัส รายวชิ า ดา้ นการประเมิน รวม ด้าน ด้านการจัดการ ด้านคณุ ธรรม เน้อื หาวชิ า เรยี นการสอน และจรยิ ธรรม ของอาจารย์ ๑ ๑ ๘๐๑ ๑๐๑ สัมมนาพระไตรปิฎกและอรรถ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ กถา (แบบ ๑.๑) ๘๐๑ ๑๐๑ สัมมนาพระไตรปฎิ กและอรรถ ๔.๘๐ ๔.๙๐ ๔.๙๒ ๔.๘๘ กถา (แบบ ๒.๑) ๒ ๑ ๘๐๐ ๑๐๒ พระพุทธศาสนากับศาสตรแ์ ห่ง ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ การตคี วาม (แบบ ๑.๑) ๘๐๐ ๑๐๒ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่ง ๔.๘๐ ๔.๙๓ ๔.๙๒ ๔.๘๙ การตีความ (แบบ ๒.๑) ๓ ๑ ๘๐๑ ๑๐๕ สัมมนาพระไตรปิฎกและงาน ๔.๙๓ ๔.๙๕ ๔.๘๘ ๔.๙๓ นพิ นธ์ (แบบ ๒.๑) ๔ ๑ ๘๐๐ ๔๐๑ สมั มนางานวจิ ัยและงานนิพนธ์ ๔.๙๗ ๔.๘๘ ๔.๙๒ ๔.๙๒ (แบบ ๒.๑) * ชัน้ ปที ี่ ๑ มีนิสิตลงทะเบียนท้ังหมด ๘ รายวชิ า แตน่ สิ ติ ประเมนิ เพียง ๗ รายวิชาเทา่ นัน้ ยังเหลืออกี ๑ วิชา ไม่ไดป้ ระเมนิ คอื วิชาสัมมนาหลักพทุ ธธรรม
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๒ ๕ ๑ ๘๐๑ ๒๐๓ ระเบยี บวธิ วี จิ ัยชัน้ สูง ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๔.๘๙ ๕.๐๐ ๔.๙๒ (แบบ ๑.๑) * ** ๘๐๑ ๒๐๓ ระเบียบวิธวี ิจัยชน้ั สูง ๔.๗๙ * ** (แบบ ๒.๑) ๔.๘๖ ๕.๐๐ ๔.๘๑ ๖ ๑ ๘๐๑ ๒๐๗ สัมมนาหลักพทุ ธธรรม * ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ (แบบ ๑.๑) ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๑ ๘๐๑ ๒๐๗ สมั มนาหลักพทุ ธธรรม * ๔.๗๕ ๔.๘๔ ๔.๗๗ (แบบ ๒.๑) ๔.๗๙ ๔.๘๐ ๔.๘๐ ๗ ๑ ๘๐๑ ๒๗๐ สมั มนาพระพทุ ธศาสนากบั วิทยาการสมัยใหม่ ๔.๖๐ ๔.๖๘ ๔.๗๕ ๔.๗๑ (แบบ ๑.๑) ๘๐๑ ๒๗๐ สัมมนาพระพทุ ธศาสนากับวทิ ยาการสมัยใหม่ ๕.๐๐ (แบบ ๒.๑) ๘ ๑ ๘๐๑ ๓๒๓ สัมมนาอารยธรรมพนมดงรกั ๕.๐๐ (แบบ ๒.๑) ๙ ๒ ๘๐๑ ๒๑๒ สัมมนาพระพุทธศาสนากับการ ๔.๗๓ พฒั นาทีย่ ั่งยนื (แบบ ๒.๑) ๑๐ ๒ ๘๐๑ ๓๐๙ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่ง ๔.๗๕ การใชเ้ หตุผล ๑๑ ๒ ๘๐๑ ๓๒๔ ขอมศึกษา (แบบ ๒.๑) ๔.๗๓ สรุปขอ้ คดิ เหน็ ของผูส้ อนและข้อมลู ป้อนกลับ แนวทางแก้ไข/ปรับปรงุ จากแหล่งตา่ ง ๆ ต่อสัมฤทธิผลของการสอนและ ผลการเรียนร้ตู ามกลมุ่ สาระหลักทั้ง 5 ประการ) - ประชุมปรบั ความเขา้ ใจกบั นสิ ติ ทุกสปั ดาห์ 2.1 คณุ ธรรมจรยิ ธรรม - จดั กจิ กรรมเสรมิ - นิสิตมาจากหลากหลายสาขาและมีนิสิต - จัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่แล้วนำ ชาวต่างชาติ ไม่ค่อยตรงต่อเวลา แต่ก็มีความ ขอ้ มูลมาเสวนาเพอ่ื ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ รับผิดชอบ - ไม่มี 2.2 ความรู้ - - เชิญวิทยากรที่มีความเชียวชาญเพิ่มการ - เนื่องจากเวลาเรียนมีเวลาจำกัด จึงไม่มีเวลา ทบทวนความรทู้ ีไ่ ดเ้ รยี น คำนวณใหม้ ากขนึ้ 2.3 ทกั ษะทางปญั ญา - นิสิตสามารถมีความพื้นฐานแต่ยังขาดทักษะการ วเิ คราะห์เพอ่ื นำไปใช้ 2.4 ทักษะด้านความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคล และความรับผดิ ชอบ -นิสิตมีความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมชั้นเป็นอย่างดี และมีการชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกนั ๒.๕ ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลขการส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ -ความสามารถในการใช้สถิติเบ้ืองต้น และประยุกต์ ในงานวจิ ยั ได้อยา่ งเหมาะสม
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๓ 2.6 ทักษะพิสัยหรืออนื่ ๆ (ถ้ามี...ใหร้ ะบุ) - จดั กิจกรรมเสริมความร้ดู า้ นวิชาการ -นิสิตสว่ นมากเป็นผู้ทม่ี ีประสบการณ์ในการทำงาน มาก่อน แตย่ ังขาดความรดู้ า้ นวิชาการ 3. การปฐมนเิ ทศอาจารย์ใหม่ - หลักสูตรมอี าจารย์ใหม่ จำนวน ๑ ท่าน คือ พระปลัดกิตติ ยุตฺติธโร, ดร. ตำแหน่งอาจารย์ประจำ ซึ่งมาแทนพระราชวิมลโมลี, ผศ.ดร. ที่เกษียณอายุการทำงาน แต่ยังคงทำหน้าที่เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลกั สูตรตอ่ เน่ือง ๓.๒ สรปุ การประเมนิ จากอาจารย์ท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมปฐมนเิ ทศ - พระปลัดกิตติ ยุตฺติธโร, ดร. ได้รับทราบภาระงานของอาจายร์ประจำหลักสูตร และรับทราบการ ดำเนนิ การประกันคุณภาพการศึกษาในระดบั หลักสูตร อนั เปน็ ภาระหนา้ ท่ีของคณาจารยท์ กุ รูป/ทา่ น 3.3 หากไม่มีการจัดปฐมนเิ ทศให้แสดงเหตผุ ลทีไ่ มไ่ ด้ดำเนินการ - จดั การปฐมนเิ ทศตามกรอบภาระงานและระยะเวลาทีก่ ำหนด 4. กจิ กรรมการพัฒนาวชิ าชีพของอาจารย์ จำนวนผู้เขา้ ร่วม และบุคลากรสายสนบั สนุน 4.1 กิจกรรมท่จี ดั หรือเข้ารว่ ม (องค์ประกอบท่ี 2 ใน QA) อาจารย์ บุคลากร ๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๕ ได้เข้าร่วมสัมมนารัฐประศาสนศาสตร์ สายสนับสนนุ ระหว่างประเทศครั้งท่ี ๑ หลักสูตร รปม. วิทยาลัยสงฆ์สุรนิ ทร์ 1- ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ผ่านการประเมินผลงานวิชาการประจำ วารสารพุทธมัคค์ และวารสารวิจัยธรรมศึกษา พ.ศ.๒๕๖๕ ระดับ ๑- ดเี ดน่ ๑- ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๖ การนำเสนอประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑ หัวข้อ “พุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม” มจร วิทยาลัย ๑- สงฆ์ชยั ภมู ิ ๑- ๒๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๖ การฝึกอบรมการอ่านและการเขียนภาษา 1 ขอมเบอ้ื งตน้ จำนวน ๘ ชม. ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๖ ผ่านการอบรมด้านกฎหมายสำหรับ ผู้บริหารระดับสูง เรื่อง “หลักและวิธีการบริหารสัญญาของ สถาบนั อดุ มศึกษาในกำกับของรัฐ” ๒๐ เมษายน - ๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๖ โครงการปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐานหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต และพุทธศาสตรดุษฎี บณั ฑิต วิทยาลัยสงฆส์ รุ นิ ทร์
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๔ ๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๖ การอบรมเชิงปฏิบัติการ ในโครงการขอ ๑ - กำหนดตำแหน่งทางวิชาการตามหลักเกณฑ์ใหม่ ประจำปี ๓ ๑ งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖ 1 ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๖ การอบรมเชิงปฏิบัติการการยกระดับ คุณภาพวารสารวิชาการแบบครบวงจร เพื่อยกระดับคุณภาพ วารสารวชิ าการของมหาวิทยาลยั ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๖ สำเร็จการอบรมหลักสูตรการไกล่เกล่ีย ข้อพพิ าทตามพระราชบัญญัติการไกล่เกล่ยี ข้อพิพาท พ.ศ.๒๕๖๒ รุ่น ที่ ๑๑ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๖ ได้เป็นวิทยากรในกิจกรรมเสริมบุญวิจัย ธรรม เนื่องในวันวิสาขบูชา ปี ๒๕๖๖ เรื่อง “ชีวิตที่มีความสุขและ คุณค่าตามหลกั พระพทุ ธศาสนา ๔.๒. สรุปข้อคิดเห็นและประโยชนท์ ผี่ ูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมไดร้ ับ (สรุปจากผลการประเมินของ ผู้เขา้ ร่วม กจิ กรรม) (๑) ไดแ้ นวทางการเขียนและพฒั นาผลงานวชิ าการ เพอ่ื ขอกำหนดตำแหนง่ ทางวชิ าการ (๒) ได้ทราบแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแบบออนไลน์ (๓) ไดแ้ นวทางการพฒั นาหัวขอ้ การวจิ ยั (๔) ไดแ้ นวทางปฏบิ ตั สิ ำหรบั การเตรยี มเข้าส่กู ารประเมินคุณภาพการศกึ ษาแบบ Ed PEx (๕) ไดแ้ นวทางการจดั ทำวารสารขนึ้ สู่ระบบฐานขอ้ มูล TCI ท้ังนเี้ พ่ือตอบโจทย์การ ตีพมิ พ์ผลงานของนิสติ ในหลกั สตู รทจ่ี ะสำเรจ็ การศึกษา หมวดที่ 8 ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกบั คณุ ภาพหลกั สูตรจากผู้ประเมนิ อสิ ระ (ผตู้ รวจ QA, กรรมการจากผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอกที่เป็นกรรมการปรบั ปรุงหลักสตู ร) 1. ขอ้ คดิ เหน็ หรอื สาระทไ่ี ด้รบั การเสนอแนะ ความเหน็ ของประธานหลักสูตรตอ่ ขอ้ คดิ เห็น จากผู้ประเมนิ หรือสาระทไี่ ดร้ ับการเสนอแนะ ไม่มี ไม่มี 2. การนำไปดำเนนิ การเพื่อการวางแผนหรอื ปรับปรงุ หลักสตู ร -สามารถนำเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรไปปฏบิ ัตใิ นการทำหลักสตู ร และพฒั นาการเรยี นการสอนได้
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๕ หมวดที่ 9 แผนการดำเนินการเพอ่ื พัฒนาหลักสตู ร 1. ความกา้ วหน้าของการดำเนินงานตามแผนทเี่ สนอในรายงานของปที ผ่ี า่ นมา มีการดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้โดยเฉพาะการปรับวิธีการสอนและการจัดหาอุปกรณ์บางอย่าง ใน การสนบั สนนุ การสอน แผนดำเนินการ วันสนิ้ สดุ การ ผรู้ ับผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน ดำเนินการตามแผน 1.1 แผนการปรับเนื้อหา มกี ารปรบั เนื้อหาหลกั สูตร อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร - รายวิชาให้สอดคล้องกับ ทกุ ๆ 5 ปี และส้นิ สดุ การ ก า ร เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง ท า ง ดำเนนิ การในปี 25๖๘ เทคโนโลยี 1.2 แผนการเรียนเชิญ -มกี ารเชญิ วิทยากรทมี่ ี อาจารย์ประจำหลักสตู ร - วิทยากรจากภายนอกมาให้ ความเช่ยี วชาญเปน็ รายวิชา ความรูใ้ นหวั ข้อที่เกยี่ วข้อง บรรยายพเิ ศษ เหตผุ ลทไี่ มส่ ามารถดำเนินการให้สำเรจ็ - 2. ข้อเสนอในการพฒั นาหลักสตู ร 2.1 ขอ้ เสนอในการปรับโครงสรา้ งหลักสตู ร (จำนวนหน่วยกติ กระบวนวชิ าแกนกระบวน วชิ าเลือกฯ) - ใหป้ รับหลักสตู รให้สอดคล้องกบั บรบิ ทท้องถิ่นนั้น ๆ 2.2 ขอ้ เสนอในการเปล่ียนแปลงกระบวนวชิ า -ไมม่ ี 2.3 กจิ กรรมการพัฒนาคณาจารยแ์ ละบุคลากรสายสนบั สนนุ - โครงการการเขยี นผลงานทางวชิ าการ - โครงการเขียนโครงการเพ่ือขอสนับสนุนทนุ วิจัย 3. แผนปฏิบตั กิ ารใหม่สำหรับปี (หมายถึงปีการศกึ ษาถัดไป) แผนปฏิบตั ิการ วันท่คี าดว่าจะส้ินสุดแผน ผู้รบั ผดิ ชอบ อาจารยป์ ระจำหลักสูตร 1.ปรับปรงุ หลกั สูตร (ปรับยอ่ ย) มิถนุ ายน 256๖ อาจารยป์ ระจำหลักสูตร ปรบั เน้อื รายวชิ า อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 2.จัดสอนเสริมรายวิชาระเบียบ กรกฎาคม 256๖ การวิจยั ทางพระพทุ ธศาสนา 3.จัดสอนเสริมรายวิชา กรกฎาคม 256๖ ภาษาอังกฤษ
ม ค อ . ๗ ห ลั ก สู ต ร พ ธ . ด ( พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ) | ๑๖ อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตร ๑. ลงชือ่ ........... .............................................อาจารย์ประจำหลกั สตู ร (พระราชวมิ ลโมล,ี ผศ.ดร.) ว.ด.ป. ที่รายงาน ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๒. ลงชอ่ื ............... .........................................ผู้รับผิดชอบและประจำหลักสูตร (พระครใู บฎีกาเวยี ง กติ ฺติวณโฺ ณ,ดร.) ว.ด.ป. ทร่ี ายงาน ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๓. ลงชื่อ...................... ..................................อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบและประจำหลกั สูตร (ดร.ธนรฐั สะอาดเอ่ียม) ว.ด.ป. ทรี่ ายงาน ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: