Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-02 01:09:54

Description: 2555_วิเคราะห์ความหมายธรรม_พระครูศรีปัญญาวิกรม

Search

Read the Text Version

๑ โครงการวิจยั เรือ่ ง การศึกษาเชิงวิเคราะห์คาวา่ “ธรรม” ในคมั ภรี ธ์ รรมบท AN ANALYTICAL STUDY OF THE WORD “DHAMMA” IN DHAMMAPADA โดย พระครูศรปี ัญญาวิกรม (บุญเรือง ปญฺญาวชิโร) ท่ีปรกึ ษาสารนพิ นธ์ รองศาสตราจารย์จริ ภทั ร แกว้ กู่ สารนพิ นธน์ ี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการสอบวดั คุณสมบตั ิ รายวิชา สมั มนาพระไตรปฎิ ก ตามหลกั สูตรปรญิ ญาพุทธศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย พทุ ธศักราช ๒๕๕๕

๒ บทท่ี ๑ บทนา ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา ธรรมบทเป็นช่ือคมั ภีรห์ น่ึงในพระสตุ ตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ทฆี นิกาย มชั ฌิมนกิ าย สังยตุ ตนิกาย องั คตุ ตรนิกาย และขทุ ทกนิกาย ขุททกนิกายเป็นประชมุ เร่ืองเบ็ดเตลด็ ทวั่ ไป แบ่งย่อยได้ ๑๕ คมั ภีร์ คือ ขทุ ทกปาฐะ, ธรรมบท, อทุ าน, อติ ิวุตตกะ, สตุ ตนบิ าต, วมิ านวตั ถุ, เปตวัตถ,ุ เถรคาถา, เถรคี าถา, ชาตกะ, นิเทส, ปฏิสมั ภทิ ามรรค, อปทาน, พทุ ธวังสะ, และจริยาปิฎก๑ ธรรมบทเปน็ คมั ภรี ์ลาดบั ที่ ๒ ในพระไตรปิฎกฉบับบาลี อักษรไทย อยใู่ นเลม่ ที่ ๒๕ และมี คัมภรี แ์ ต่งอธบิ ายเรียกว่า ธมั มปทฏั ฐกถา เป็นผลงานของพระพทุ ธโฆสาจารย์ในกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ (พ.ศ.๙๕๖) เป็นคัมภีร์ทมี่ ีความสาคญั และไดร้ บั ความสนใจอย่างแพรห่ ลาย ทัง้ ได้รบั การแปล เปน็ ภาษาตา่ ง ๆ เฉพาะภาษาองั กฤษมีไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ สานวน๒ ธรรมบท แปลวา่ “บทแห่งพระธรรม” มจี านวน ๔๒๓ คาถา เป็นร้อยกรองลว้ น (ปัชชะ) ประกอบด้วยฉันทลักษณต์ ่าง ๆ ทงั้ ตามแบบคัมภีร์วตุ โตทัย หรอื ฉันทลกั ษณภ์ ายนอก เช่น คมั ภรี ์ ฉนั โทมัญชรี เปน็ ต้น ปัจจุบันมผี ู้วเิ คราะห์ฉนั ทลกั ษณ์ไว้ ๒ ลักษณะ ประกอบดว้ ย ๑) มาตราพฤติ มี ๓ ประเภท ได้แก่ เวตาลยี ฉันท์, โอปัจฉนั ทสกฉนั ท์ และอาปาตลิกาฉนั ท์ ๒) วรรณพฤติ มี ๑๕ ประเภท ได้แก่ ปัฏฐยาวตั ฉันท,์ วิปุลาฉนั ท์, อุปชาติฉนั ท์, อนิ ทรวเิ ชยี รฉันท,์ อเุ ปนทรวเิ ชียรฉนั ท์, อินทรวงศฉ์ นั ท,์ วงั สัฏฐฉนั ท,์ กมลาฉนั ท์, ภุชงั คัปปยาตฉันท,์ ลลิตาฉนั ท์, วาโตมมฉี นั ท์, เวสสเทวีฉนั ท์ ,อุพภาสกฉนั ท,์ สริ ิฉนั ท์, และ อาขยานกฉี นั ท์๓ คัมภรี ธ์ รรมบทแม้มีข้อจากดั ท่ีแต่งในรูปร้อยกรอง ข้อความสนั้ ๆ แต่ภาษาทใ่ี ชก้ ระชบั มี เนื้อหาสาระสมบูรณใ์ นตัวเอง ความหมายลึกซงึ้ กนิ ใจ ทั้งยงั ครอบคลมุ หลักธรรมทเ่ี ปน็ หวั ใจสาคัญ ของพระพทุ ธศาสนาไว้อยา่ งครบถ้วน ท่สี าคญั อีกประการหนึง่ ธรรมบทจานวน ๔๒๓ คาถานี้ เป็นพระพุทธพจน์ทงั้ หมด ทรง แสดงไว้ต่างบุคคล ต่างสถานท่ี ตา่ งเวลา ตา่ งเรือ่ ง ทาใหเ้ ห็นความหลากหลายของข้อธรรม แม้คาวา่ “ธรรม” คาเดียวก็มคี วามหมายไม่เหมือนกนั จากการสารวจเบอื้ งต้น ผ้วู ิจยั พบคาวา่ “ธรรม” ใน ๔๙ คาถา และใชใ้ นความหมาย ตา่ งกนั เช่น ๑ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/บทนา/ (๗). ๒ ส.ศิวรักษ์, “คานิยม” ใน เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธวจนะในธรรมบท. (กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพธ์ รรมสภา, ๒๕๕๒), หน้า (๔). ๓ พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม), งานวิจัยการศึกษเชิงวิเคราะห์: พระคาถาธรรมบท, (กรงุ เทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๕), หนา้ (๕๗).

๓ มโนปุพฺพงฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทฏุ เฺ ฐน ภาสติ วา กโรติ วา จกกฺ ว วหโต ปท.๔ ตโต น ทุกฺขมเนวติ แปล:ธรรมท้ังหลาย มใี จเป็นหัวหนา้ มใี จเป็นใหญ่ สาเร็จด้วยใจ ถ้าคนมใี จช่วั กจ็ ะพูด หรอื ทาชว่ั ตามไปดว้ ย เพราะความชวั่ นน้ั ทกุ ขย์ ่อมติดตามเขาไปดจุ ลอ้ หมนุ ไปตาม รอยเทา้ โคท่ลี ากเกวียนไป ฉะนั้น.๕ ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ได้แจกแจงความหมายของธรรมไว้ ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ คณุ ธรรม เทศนาธรรม ปริยตั ธิ รรม และนสิ ตั ตนิชวี ธรรม๖ หลังจากแจกแจงธรรม ๔ ประเภทดังกลา่ วแล้ว ท่านสงเคราะห์ คาวา่ “ธรรม” ว่า หมาย เอานิสัตตนิชวี ธรรม โดยระบุถึงเวทนาขนั ธ์ สัญญาขันธ์ และสงั ขารขนั ธ์ เท่ากับว่า ท่านสงเคราะห์คา ว่า “ธรรม” ในความหมายเจตสกิ คาถานี้จงึ อาจแปลใหม่ไดว้ ่า “เจตสิกทงั้ หลาย มีใจเปน็ หัวหน้า มี ใจใหญ่ สาเร็จด้วยใจ” ตัวอย่างอีกคาถาหนง่ึ น หิ เวเรน เวรานิ สมมฺ นฺตธี กทุ าจน อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม สนนตฺ โน๗ แปล: “เพราะว่าในกาลไหน ๆ เวรทั้งหลายในโลกน้ี ยอ่ มไม่ระงับดว้ ยเวร แตเ่ วร ทั้งหลายย่อมสงบระงบั ดว้ ยการไมจ่ องเวร นีเ้ ปน็ ธรรมเก่า”๘ อรรถกถาธรรมบทขยายความคาว่า ธรรมในประโยคน้ี หมายถึง มรรคาที่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และเหล่าพระขีณาสพทั้งหลายดาเนิน๙ หรือยืดถือเป็นเกณฑ์แน่นอนว่าเวรย่อม ระงับด้วยการไม่จองเวร ธรรมในบทนี้ จึงโน้มเอียงถึงเร่ืองกรรมนิยาม ซึ่งถือเป็นกฎเกณฑ์แห่งการ กระทา หรือพฤตกิ รรมต่าง ๆ ธรรมในคาถาน้ีจึงมีความแตกตา่ งจากธรรมใน ๒ คาถาแรกอย่างส้ินเชงิ อนึ่ง บางคาถามคี าว่า “ธรรม” ปรากฏหลายครง้ั ทาให้ตอ้ งพจิ ารณาว่า แมใ้ นคาถา เดียวกนั จะมคี วามหมายอยา่ งเดียวกันหรือไมอ่ ยา่ งไร เช่น น ตาวตา ธมฺมธโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปปฺ มฺปิ สตุ วฺ าน ธมมฺ กาเยน ปสสฺ ติ โย ธมมฺ นปปฺ มชชฺ ติ.๑๐ ส เว ธมมฺ ธโร โหติ ๔ ข.ุ ธ.(บาลี) ๒๕/๑/๑๕. ๕ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๑/๒๓. ๖ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๓๕. ๗ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๕/๑๖. ๘ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๕/๒๕. ๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๗๔. ๑๐ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๕๙/๖๑.

๔ แปล: บุคคลไมช่ ื่อว่าผทู้ รงธรรม เพยี งเพราะพดู มาก ส่วนผใู้ ดได้สดับตรับฟังน้อย แต่ พจิ ารณาเหน็ ธรรมด้วยนามกาย ทง้ั ไมป่ ระมาทในธรรมน้นั ผ้นู ้ันชอ่ื วา่ ผ้ทู รงธรรม.๑๑ ผวู้ จิ ัยสนใจศึกษาความหมายของคาวา่ “ธรรม” ทป่ี รากฏในคัมภรี ธ์ รรมบท ว่าหมายถึง หลักธรรมขอ้ ใดบา้ ง มจี านวนกชี่ ดุ และธรรมเหลา่ นนั้ เป็นฝา่ ยกศุ ล หรอื ฝา่ ยอกุศลอย่างไรบ้าง ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา ๑.๒.๑ เพอื่ สบื คน้ คาว่า “ธรรม” ที่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบท ๑.๒.๒ เพ่ือวเิ คราะห์ความหมายของคาวา่ “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา ๑.๓ ขอบเขตของการศกึ ษา ก.ขอบเขตของเนื้อหา งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาความหมายของคาว่า “ธรรม” ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ธรรมบทตาม บรบิ ทของคาถา ข.ขอบเขตของเอกสาร พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี เล่มที่ ๒๕ ต้ังแต่หน้า ๑๕-๙๐ ตั้งแต่ข้อ ๑-๔๒๓ และ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยตัง้ แตห่ นา้ ๒๓-๑๖๘ จานวน ๔๒๓ คาถา ๑.๔ ปญั หาทต่ี ้องการทราบ ในคัมภีร์ธรรมบท มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถาใดบ้าง และคาเหล่านั้น มี ความหมายอย่างไร มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร และสามารถสังเคราะห์เข้าในหมวด ธรรมใดไดบ้ า้ ง ๑.๕ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะที่ใช้ในการศกึ ษา ๑.๕.๑ การศึกษาเชิงวิเคราะห์ หมายถึง การแสวงหาความรู้ท่ีต้ังบนพ้ืนฐานของการ ตรวจสอบ พจิ ารณา เทียบเคยี งเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงองค์ความร้ทู ่สี มบูรณ์ และถูกต้องตามหลักวิชาการ ๑.๕.๒ ธรรม หมายถงึ รปู ศพั ท์ “ธมมฺ -” ในภาษาบาลี ซึ่งปรากฏอยใู่ นคมั ภีรธ์ รรมบท ๑.๕.๓ คัมภรี ธ์ รรมบท หมายถึง บันทึกคาสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งอยู่ในรูปของคาถา อยู่ ในหมวดขทุ ทกนิกาย ธรรมบท พระไตรปิฎกเลม่ ท่ี ๒๕ ตั้งแตข่ อ้ ๑-๔๒๓ ต้งั แตห่ นา้ ๒๓-๑๖๘ ๑.๕.๔ อรรถกถาธรรมบท หมายถึง คัมภีร์ที่พระพุทธโฆสาจารย์รจนาข้ึนเพ่ืออธิบาย คมั ภรี ์ธรรมบท ๑.๕.๕ บริบท หมายถึง คาแวดล้อมในคาถาหนึ่งๆ รวมไปถึงนิทานประกอบในแต่ละ คาถาดว้ ย ๑๑ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๒๕๙/๑๑๓.

๕ ๑.๖ ทบทวนเอกสารและรายงานการวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง ๑.๖.๑ พระมหาสาเนียง เล่ือมใส (๒๕๓๔), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาเปรียบเทียบ ธรรมบทและภควทั คีตา” พบว่า กรอบความคิดทางอภิปรัชญา ท่ีแตกต่างกัน ทาให้ทัศนะทางญาณ วิทยาและจริยศาสตร์ของท้ังสองระบบนี้มีความแตกต่างกันไปด้วย เช่น ทัศนะของภควัทคีตายอมรับ เรอ่ื งอตั ตาในฐานะเป็นส่ิงสงู สุดท่ีควบคุมความเปน็ ไปของธรรมชาติทั้งหมด ขณะท่ีพุทธปรัชญาปฏิเสธ ทัศนะนี้ ครั้นมาถึงญาณวิทยา ทั้งภควัทคีตาและพุทธปรัชญายอมรับเรื่อง อวิชชา หรือ อวิทยา ว่า เป็นสาเหตุของกรรม มนุษย์จึงควรจากัดอวิชชาเสีย ประเด็นน้ี พุทธปรัชญาเน้นความเพียรพยายาม ด้วยตนเอง ขณะที่ภควัทคีตามีพระเจ้าเป็นจุดศูนย์กลาง จริยศาสตร์ของพุทธปรัชญาจึงเน้นไปท่ีตัว มนษุ ย์ ขณะทจี่ รยิ ศาสตร์ของภควทั คีตาเน้นเรอื่ งความภกั ดีต่อพระผ้เู ปน็ เจ้า๑๒ ๑.๖.๒ ดวงพร คาหอมกุล (๒๕๔๔), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พุทธ จริยศาสตร์ในธัมมปทัฏฐกถา” พบว่า ธัมมปทัฏฐกถามีจริยศาสตร์ครบ ๓ ระดับ คือ ๑) ระดับต้น ได้แก่ ศีล ๕,เบญจธรรม ๕ ๒) ระดับกลาง ได้แก่ กุศลกรรมบท ๑๐ และ ๓) ระดับสูง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ และยังพบอีกว่า หลักจริยศาสตร์ในธัมมปทัฏฐกถา มีอิทธิพลต่อสังคมไทย เช่น เปน็ บ่อเกิดพธิ กี รรม ประเพณี และวัฒนธรรมไทยหลายประการ๑๓ ๑.๖.๓ พระธรรมโมลี (๒๕๔๕), เสนองานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พระ คาถาธรรมบท” ผวู้ ิจยั ได้วเิ คราะหพ์ ระพทุ ธวจนะในส่วนของคาถาธรรมบทตามหลักคัมภีร์สัททาวิเสส ทั้ง ๔ คือ (๑) หลักฉันทลักษณ์ เป็นการวิเคราะห์คาถาธรรมบทท้ัง ๔๒๓ คาถา ตามหลักคัมภีร์ วุตโตทัย ท้ังที่เป็นวรรณพฤติ ๘๓ ชนิด และมาตราพฤติ ๒๘ ชนิด (๒) หลักอุปจารนยะ วิเคราะห์ คาถาธรรมบทใหเ้ ห็นลักษณะการใช้สานวน คาพดู เลียบเคียง และวิเคราะห์ระบบหรือหลักการตีความ หรืออธบิ ายภาษาทลี่ กึ ซ้ึงกากวม ตามหลักอุปจาระ ๑๒ และ นยะ ๕๔ อย่าง (๓) หลักไวยากรณ์ เป็น การนาบททีเ่ ขา้ ใจยาก มีความซับซ้อนมาวิเคราะห์ให้เห็นรากศัพท์ พร้อมท้ังแสดงรูปวิเคราะห์โดยยึด หลักคัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์ ปทรูปสิทธิ โมคคัลลานไวยากรณ์ สัททนีติปกรณ์ เป็นต้น และ (๔) หลักอลังการ วเิ คราะห์คาถาธรรมบทในด้านการตกแตง่ เสียง และความหมาย เพื่อให้เกิดความไพเราะ ทางรูปศพั ทแ์ ละข้อความ๑๔ ๑.๖.๔ พระมหาทรรศน์ คณุ ทสสฺ ี (๒๕๔๖), เสนองานวจิ ยั เรื่อง “การศกึ ษาเปรียบเทียบ พุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกับกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ” พบว่า พุทธ วธิ กี ารสอนในอรรถกถาธรรมบท มีลักษณะหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญท้ัง ๕ ประการ ได้แก่ (๑) การเรียนรู้อย่างมีความสุข (๒) เรียนรู้แบบองค์รวม (๓) ๑๒ พระมหาสาเนียง เล่ือมใส, “การศึกษาเปรียบเทียบธรรมบทและภควัทคีตา”, วิทยานิพนธ์อักษร ศาสตร์มหาบัณฑติ , (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๓๔), หน้า ฆ. ๑๓ ดวงพร คาหอมกลุ , “การศกึ ษาเชงิ วิเคราะห์พทุ ธจริยศาสตรใ์ นธมั มปทัฏฐกถา”, วิทยานิพนธ์พุทธ ศาสตรมหาบณั ฑติ , ( บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา้ ๑๑๕-๑๑๗. ๑๔ พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) , การศึกษาวิจัยการศึกษาเชิงวิเคราะห์พระคาถาธรรมบท, (นครปฐม: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตบาลีศึกษาพทุ ธโฆส, ๒๕๔๕), หน้า (ง)-(จ)

๖ เรียนรู้จากการคิด ปฏิบัติการจริง และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง (๔) เรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น และ (๕) เรียนรกู้ ระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง๑๕ ๑.๖.๕ ฌานศิ วงศส์ วุ รรณ์ (๒๕๔๖), เสนองานวจิ ัยเรือ่ ง “ การศึกษาเรือ่ งพุทธวจนะใน ธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก” พบว่า ในส่วนของหลักธรรม ธรรมบทมีหลักธรรมที่เก้ือกูล ประโยชน์ทั้งคฤหสั ถ์ และบรรพชิต ในส่วนของภาษา ธรรมบทสานวนแปลของเสฐียรพงษ์ วรรณปก มกี ารใช้ภาษาท่ีงดงาม สละสลวย มีการใช้ภาษาภาพจน์อุปมา อุปลักษณ์ การใช้ภาวะแย้ง การกล่าว ซา้ การใชส้ ญั ลักษณ์ และการใช้สัมผัส ทาให้พุทธวจนะในธรรมบทได้รับความนิยม มีการตีพิมพ์ถึง ๙ ครั้ง๑๖ ๑.๖.๖ พระมหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน (๒๕๕๐), เสนองานวจิ ยั เรือ่ ง “อิทธิพลของธัมมปทัฏฐ กถาเรื่องอายุวัฒนกุมารต่อประเพณีสืบชะตาล้านนา” สรุปได้ว่า ประเพณีและพิธีกรรมการสืบ ชะตาของชาวลา้ นนา ได้รบั อิทธิพลจากธัมมปทัฏฐกถาเรื่องอายุวัฒนกุมาร ซึ่งมีหลักอยู่ว่า การนิมนต์ พระสงฆ์มาประกอบพิธีสืบชะตา จะทาให้เกิดความเจริญ ๔ ประการคือ คือ อายุ วรรณะ สุขะ และ พละ ทั้งนี้ด้วยอานุภาพของพระปริตร และพระรัตนตรัย ตลอดบุญกุศลท่ีบาเพ็ญก็จะเป็นแรงหนุน สว่ นหน่ึงให้รอดพน้ จากมรณภัยได้๑๗ ๑.๖.๗ พระวรี พรรณ วฑุ ฺฒธิ มฺโม (๒๕๕๒) เสนองานวิจัยเร่ือง “อิทธิพลของความเช่ือใน อรรถกถาธรรมบทท่มี ตี ่อสังคมไทย” สรุปได้ว่า ความเช่ือท่ีเกิดจากความไม่รู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ นาไปสู่การตคี วาม ความเชอื่ ทปี่ รากฏในสงั คมไทย เป็นความเชื่อที่มกี ารผสมผสานระหว่าง ความเชื่อด้ังเดิมคือพราหมณ์-ฮินดูกับพระพุทธศาสนา ซึ่งความเช่ือเหล่าน้ีมีอิทธิพลต่อสังคมไทย นับต้ังแตโ่ บราณถงึ ปจั จบุ ัน๑๘ ๑.๖.๘ เสาวนีย์ พงศกรเสถียร (๒๕๕๓) เสนองานวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ แนวคิดญาณวิทยาในธัมมปทัฏฐกถา” ได้ข้อสรุปว่า ญาณวิทยาท่ีพบในธัมมปทัฏฐกถา มุ่งเน้นการ แสวงหาความรู้ทัง้ โลกภายนอก และโลกภายใน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความหลุดพ้นการจากการเวียน วา่ ยตายเกดิ ผ่านกระบวนการ ๓ อยา่ งคือ สุตมยปญั ญา จนิ ตามยปัญญา และภาวนามยปญั ญา๑๙ ๑๕ พระมหาทรรศน์ คุณทสฺสี, “การศึกษาเปรียบเทียบพุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกับ กระบวนการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ”, วิทยานิพนธพ์ ุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, ( บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), บทคดั ย่อ. ๑๖ ฌานิศ วงศ์สุวรรณ์, “การศึกษาเรื่องพุทธวจนะในธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก”, วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตร์มหาบณั ฑิต, (บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๔๖), บทคดั ย่อ. ๑๗ พระมหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน (กิจประภานนท์), “อิทธิพลของธัมมปทัฏฐกถาเรื่องอายุวัฒนกุมารต่อ ประเพณีสบื ชะตาลา้ นนา”, วทิ ยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐), หนา้ ๑๓๔. ๑๘ พระวรี พรรณ วุฑฺฒฺธมฺโม (เชียรประโคน), “อิทธิพลความเช่ือในอรรถกถาธรรมบทที่มีต่อประเพณี ไทย”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ( บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒), หนา้ ๑๓๐-๑๓๑. ๑๙เสาวนีย์ พงศกรเสถียร, “การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดญาณวิทยาในธัมมปทัฏฐกถา”,วิทยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ , (บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๓), หน้า ๑๘๙-๑๙๖.

๗ ๑.๖.๙ พระวิพัฒน์ อตฺตเปโม (๒๕๕๓), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาหลักกรรมและ การให้ผลของกรรมในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท” ได้ข้อสรุปวา่ กรรมท่ีปรากฏในธรรมบทจานวน ๘๖ เรื่อง มีการจาแนกกรรมตามเวลาท่ีให้ผล จาแนกตามการให้ผลตามหน้าท่ี และจาแนกตามยักเย้ือง หรือลาดับความแรงในการให้ผล ถ่ายทอดผ่านเร่ืองราวท่ีอรรถกถาจารย์แต่งข้ึนเป็นบุคลาธิษฐาน และยงั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความเช่ือในสงั คมไทยทง้ั เชิงบวกและเชิงลบ๒๐ งานวิจัยท่ีนาเสนอมา เป็นการศึกษาเฉพาะแง่เฉพาะมุม ยังไม่ครอบคลุมประเด็นท่ีผู้วิจัย ต้องการศกึ ษา จงึ เห็นวา่ ประเดน็ เรื่องความหมายของธรรมในคัมภีร์ธรรมบทก็น่าสนใจ ควรท่ีจะได้มี การศึกษา ๑.๗ วิธดี าเนนิ การศกึ ษา ๑.๗.๑ สารวจคาถาธรรมบทท้ัง ๔๒๓ คาถาเฉพาะฉบับภาษาบาลี คัดเอาส่วนท่ีมีคาว่า “ธรรม” ออกมาศึกษาในรายละเอยี ด ๑.๗.๒ ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดความหมายของคาว่า “ธรรม” เหล่านั้น โดย เทียบเคยี งจากบริบทของคาถานน้ั ๆ ๑.๗.๓ สรุป สังเคราะห์จัดหมวดหมู่ความหมายของคาว่า “ธรรม” ท่ีปรากฏในธรรมบท ท้งั หมด จากน้นั เขยี นเป็นรายงานวิจยั ๑.๗.๔ นาเสนอเป็นส่วนหนึง่ ของรายวิชาสัมมนาพระไตรปฎิ กตอ่ ไป ๑.๘ ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั ๑.๘.๑ ทาให้ทราบว่า มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถาใดบ้างในคัมภีร์ธรรมบท ๔๒๓ คาถา ๑.๘.๒ ทาให้ทราบความหมายของคาว่า “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา ๒๐ พระวพิ ัฒน์ อตฺตเปโม (เอ่ยี มเปรมจติ ), “การศกึ ษาหลักกรรมและการให้ผลของกรรมในคมั ภีร์อรรถ กถาธรรมบท”, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๕๓), หนา้ ๒๑๔-๒๑๗.

สารบัญ ๘ เรอ่ื ง หน้า บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ก บทคัดยอ่ ภาษาอังกฤษ ข กิตติกรรมประกาศ ง สารบญั จ คาอธิบายสัญลักษณแ์ ละคายอ่ ฌ บทท่ี ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑ ๑.๒ วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา ๓ ๑.๓ ขอบเขตของการศกึ ษา ๓ ๑.๔ ปัญหาทต่ี ้องการทราบ ๓ ๑.๕ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะทใี่ ช้ในการศึกษา ๓ ๑.๖ ทบทวนเอกสารและรายงานการวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง ๔ ๑.๗ วธิ ดี าเนนิ การศึกษา ๖ ๑.๘ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ๖ ๗ บทที่ ๒ การสืบค้นคาว่า “ธรรม” ในคัมภีร์ธรรมบท ๗ ๒.๑ คมั ภรี ์ธรรมบท ๘ ๒.๑.๑ ความเป็นมาของธรรมบท ๙ ๒.๑.๒ ความสาคัญของธรรมบท ๑๑ ๒.๑.๓ ธรรมบทกับอรรถกถาธรรมบท ๑๒ ๒.๑.๔ โครงสรา้ งพระไตรปิฎก ๑๓ ๒.๑.๕ การจดั หมวดหมู่ในคัมภรี ์ธรรมบท ๑๔ ๒.๑.๖ รูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ในธรรมบท ๑๔ ๒.๒ รูปศัพท์คาวา่ ธรรม ในคมั ภีรธ์ รรมบท ๑๔ ๒.๒.๑ รูปศัพทข์ องคาวา่ ธรรม กลุ่มศพั ท์เด่ยี ว ๑๕ ๒.๒.๒ รปู ศัพทข์ องคาวา่ ธรรม กลุ่มท่เี ปน็ คาผสม ๑๖ ๒.๒.๓ รูปคาถาท่มี ีคาวา่ ธรรม ปรากฎอยู่ ๒๑ ๒.๓ ความหมายคาว่า ธรรม ในบรบิ ทอนื่ ๒๑ ๒.๓.๑ ความหมายตามนยั สนั สกฤต ๒๑ ๒.๓.๒ ความหมายตามนัยบาลี ๒๖ ๒.๔ สรปุ ทา้ ยบท ๒๗ ๒๗ บทที่ ๓ วเิ คราะห์คาว่า “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา ๒๗ ๓.๑ ความหมายคาวา่ ธรรม ตามบริบทคาถา ๓.๑.๑ หมวดหลกั ธรรมเฉพาะ

๑) โยนโิ สมนสกิ าร ๙ ๒) อริยสจั ๓) ขนั ธ์ ๕ ๒๗ ๔) เจตสิก ๒๘ ๕) กรรมนยิ าม ๒๘ ๖) โทสะ ๒๙ ๗) ความเทีย่ งธรรม ๓๐ ๘) สัจจะ ๓๒ ๓.๑.๒ หมวดหลักธรรมท่ัวไป ๓๒ ๑) ธรรมขันธ์ ๓๓ ๒) บทธรรม ๓๔ ๓) เทศนาธรรม ๓๔ ๔) ปฏเิ วธธรรม ๓๕ ๕) โลกตุ ตรธรรม ๓๗ ๖) โพธิปักขยิ ธรรม ๔๐ ๗) สมถะ/วปิ ัสสนากรรมฐาน ๔๒ ๘) ภมู ิ ๓ ๕๐ ๙) ปฏบิ ตั ิธรรม ๕๕ ๑๐) สจุ ริตธรรม ๕๘ ๑๑) ทุจรติ ธรรม ๕๙ ๑๒) อรยิ บุคคล ๖๑ ๑๓) บาปธรรม ๖๔ ๓.๒ สรปุ ท้ายบท ๖๕ บทท่ี ๔ สรุปผล วิจารณ์ และขอ้ เสนอแนะ ๖๖ ๔.๑ สรปุ ผล ๖๙ ๔.๒ อภปิ รายผล ๗๐ ๔.๓ ข้อเสนอแนะ ๗๐ บรรณานุกรม ๗๑ ประวัติผู้วิจัย ๗๓ ๗๔ ๗๗

๑๐ บรรณานุกรม ๑. ภาษาบาลี-ภาษาไทย ก.ข้อมูลปฐมภมู ิ (Primary Sources) มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กมหาจุฬาเตปฏิ ก . กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๙. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎิ กแปลฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙. มหามกุฎราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปล ๙๑ เลม่ . กรุงเทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓. มหามกุฏราชวทิ ยาลยั . ธมฺมปทฏฺฐกถา ปฐโม-อฏฺฐโม ภาโค. กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๒. มหามกุฏราชวิทยาลยั . ธมั มปทัฏฐกถา แปล ภาค ๑-๘. กรงุ เทพมหานคร : มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๔๘. ข. ข้อมลู ทตุ ิยภูมิ (Secondary Sources) (๑) หนงั สอื กรณุ า-เรืองอุไร กศุ ลาศัย. ภารตวทิ ยา, พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๖. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พิมพ์ศยาม, ๒๕๕๐. กรมพระจนั ทบุรีนฤนาถ,พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ. ปทานุกรมบาลี ไทย องั กฤษ สนั สกฤต, กรงุ เทพมหานคร: มหามกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗. จิรภทั ร แก้วกู.่ วรรณคดีบาลี. ขอนแก่น: มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น,๒๕๕๔. จานงค์ ทองประเสริฐ, ผู้แปล.บ่อเกิดลัทธปิ ระเพณอี นิ เดีย เล่ม ๑ ภาค ๑-๔. กรุงเทพมหานคร: ราชบณั ฑิตยสถาน จัดพิมพ์, ๒๕๔๐. เทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธัช ป.๙),หลวง. ธาตุปปฺ ทปี ิกา. กรงุ เทพมหานคร: มหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๘. พระคันธสาราภวิ งศ์, ผู้แปล. เนตตปิ กรณ์. พมิ พเ์ ปน็ ท่ีระลึกในงานบาเพ็ญกุศลศพ พระเทพกติ ต-ิ ปัญญาคุณ (กติ ฺติวฑุ ฺโฒ ภกิ ขุ) ๒๑ มกราคม ๒๕๕๐. __________. อภธิ มั มตั ถสงั คหะ และปรมตั ถทปี นี. กรงุ เทพมหานคร : ประยรู สาส์นไทยการพมิ พ์, ๒๕๕๒. __________.วุตโตทยมญั ชร.ี กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย,๒๕๔๕. __________. สโุ พธาลงั การมัญชร.ี กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์, ๒๕๔๖. __________. เนตติอรรถกถา. จดั พมิ พ์เน่ืองในโอกาสมงคลอายุ ๘๘ ปี พระธรรมานนั ทมหาเถระ

๑๑ อคั รมหาบณั ฑติ วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๑. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต). พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑. __________. พจนานกุ รมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลศัพท,์ พมิ พ์ครงั้ ๑๗. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพพ์ ระพุทธศาสนาของธรรมสภา,๒๕๕๔. พระพุทธทัตตเถระ. พระคมั ภรี ์อภิธมั มาวตาร. ศ.มเหศ ติวารี บรรณาธิการ. มหาจุฬาลงกรณ- ราชวทิ ยาลัย จดั พมิ พ์เนือ่ งในงานพระราชทานเพลงิ ศพอาจารย์พร รตนสุวรรณ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๓๗. พระธรรมโมลี (สมศักด์ิ อปุ สโม). งานวจิ ยั การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์พระคาถาธรรมบท. นครปฐม:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตบาลศี ึกษา- พทุ ธโฆส, ๒๕๕๔. พระมหาสมปอง มทุ ิโต. คัมภรี อ์ ภิธานวรรณนา. กรุงเทพมหานคร: ประยูรวงศพ์ รน้ิ ท์ตงิ้ จากัด, ๒๕๔๗. พระสุวมิ ลธรรมาจารย์ (ผ่อง) ผแู้ ปล. ธมมฺ ปทคาถา-แปล. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรอื งธรรม, ๒๕๑๓. พชั รี พลาวงศ.์ ความรเู้ บ้ืองตน้ ทางอรรถศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั รามคาแหง ๒๕๔๒. สมเด็จพระมหาสมณเจา้ ฯ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส. บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาต และกติ ก์. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวทิ ยาลยั ,๒๔๙๐. เสฐยี รพงษ์ วรรณปก. พทุ ธวจนะในธรรมบท. พิมพค์ ร้งั ที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา จัดพมิ พ์, ๒๕๕๒. (๒) วทิ ยานิพนธ์ ฌานิศ วงศส์ วุ รรณ์. “การศึกษาเร่ืองพทุ ธวจนะในธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก”. วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตร์มหาบณั ฑิต.บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๖. ดวงพร คาหอมกลุ . “การศกึ ษาเชิงวิเคราะหพ์ ุทธจรยิ ศาสตรใ์ นธมั มปทัฏฐกถา.” วทิ ยานพิ นธ์ พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ . บัณฑติ วิทยาลัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔. พระมหาดวงรตั น์ ฐติ รตโน (กิจประภานนท์). “อิทธิพลของธมั มปทฏั ฐกถาเรอ่ื งอายวุ ัฒนกุมาร ตอ่ ประเพณสี บื ชะตาล้านนา”. วทิ ยานพิ นธ์พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต. บณั ฑิตวทิ ยาลัย: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐. พระมหาทรรศน์ คุณทสสฺ ี. “การศึกษาเปรยี บเทียบพทุ ธวธิ กี ารสอนในอรรถกถาธรรมบท กบั กระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ”. วทิ ยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต. บัณฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ,๒๕๔๖. พระวิพัฒน์ อตตฺ เปโม (เอี่ยมเปรมจติ ). “การศึกษาหลักกรรมและการให้ผลของกรรมในคัมภีร์ อรรถกถาธรรมบท”. วิทยานิพนธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต. บณั ฑิตวิทยาลัย:

๑๒ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓. พระวีรพรรณ วุฑฺฒฺธมฺโม (เชียรประโคน). “อทิ ธพิ ลความเชอ่ื ในอรรถกถาธรรมบททีม่ ตี อ่ ประเพณไี ทย”. วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ . บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒. พระมหาสาเนยี ง เลื่อมใส. “การศึกษาเปรียบเทยี บธรรมบทและภควทั คตี า”. วิทยานพิ นธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑติ . บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, ๒๕๓๔. เสาวนยี ์ พงศกรเสถยี ร. “การศกึ ษาวิเคราะหแ์ นวคดิ ญาณวทิ ยาในธัมมปทฏั ฐกถา”. วทิ ยานพิ นธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑติ . บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๕๓. ๒. ภาษาอังกฤษ Buddhadasa P. Kirthisinghe,Dr. Buddhist concepts : Old and New. India: Sri Satguru Publications,1983. Buddharakkhitta. The Dhammapada: The Buddha’s Path of Wisdom. Sri Lanka: Buddhist Publication Society Candy, 1985 Epiphanius Wilson. Sacred Books of the East. London: The Colonial Press, 1990. E.D. Root. Sakya Buddha: A Versified, Annotated Narrative of His Life and Teaching. New York: Charles P. Somerby,1880. Kanai Lal Hazra. Studies on Pali Commentaries. Delhi: D.K.Publishers Distributors (P) Ltd.,1991. K. Sri Dhammanada. The Dhammapada. Malaysia: Sasana Abhiwurdhi Wardhana Society, 1992. Max F. Müller. The Dhammapada and Sutta Nipata. Sacred Books of the East, Vol. 10. Oxford: The Clarendon Press, 1881. Phramaha Sompong Santacitto. An Analytical Study of the Concept of Dhamma as Natural Law in Theravāda Buddhism. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University Bangkok, Thailand, B.E. 2549. Richard Scott Cohen, Setting The Three Jewels: The Complex Culture of Buddhism At The Ajanta Caves.The University of Michigan,1995. S. Radhakrishnan, (ed.). The Dhammapada. Oxford: Oxford University Press, 1996. Thanisaro Bhikkhu. Dhammapada: A Translation. Buddha Dharma Education Accociation Inc., 1998. TH. Stcherbatsky. The Central Conception of Buddhism and The Meaning of the word ‘Dharma’. Delhi: Motilal Banarsidass, 1979. Weragoda Sarada Maha Thero,Ven. Treasury of Truth: Illustrated Dhammapada. Singapore: Singapore Buddhist Meditation Center,1994.

๑๓

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติให้นับสารนิพนธ์เร่ือง “การศึกษาเชิงวิเคราะห์คาว่า “ธรรม” ในคัมภีร์ธรรมบท” เป็นส่วนหนึ่งของการสอบวัดคุณสมบัติ รายวิชา “สัมมนาพระไตรปิฎก” ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา (พระสุธธี รรมานุวตั ร, ผศ.ดร.) คณบดีบัณฑติ วทิ ยาลยั คณะกรรมการตรวจสอบสารนิพนธ์ ....................................................................ประธานกรรมการ (พระมหาทวี มหาปญโฺ ญ ผศ.,ดร.) .............................................................. กรรมการ (รองศาสตราจารย์จิรภัทร แกว้ ก)ู่ .............................................................. กรรมการ (ดร.หอมหวล บวั ระภา) อาจารยท์ ีป่ รึกษาสารนพิ นธ์ รองศาสตราจารย์จริ ภัทร แก้วกู่ ชื่อผ้วู จิ ยั .............................................. (พระครศู รปี ัญญาวิกรม)

ง กติ ติกรรมประกาศ สารนิพนธ์เล่มนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี ก็ด้วยได้รับการสนับสนุน และช่วยเหลือจากหลาย ฝ่าย เบื้องต้น ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์จิรภัทร แก้วกู่ อาจารย์ท่ีปรึกษาสารนิพนธ์ ผู้ เอ้อื เฟื้อ ใหค้ าแนะนาทเี่ ปน็ ประโยชน์ ให้ยมื หนงั สืออ้างอิงหลายเล่ม ตลอดคอยตรวจทานแก้ไข ทาให้ สารนิพนธ์เล่มน้มี คี วามสมบรู ณ์มากยง่ิ ขน้ึ ขอบพระคุณอาจารย์ ดร.พระมหาประมวล ฐานทตฺโต อาจารย์ประจาวิชา ท่ีประสิทธ์ิ ประสาทวชิ าความรู้ในรายวิชา สัมมนาพระไตปิฎก ผศ.ดร.โสวิทย์ บารุงภักด์ิ, ดร.ประยูร แสงใส ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ในการจดั ทาโครงรา่ งสารนิพนธเ์ พื่อใหเ้ กิดความสมบรู ณ์ ขอขอบพระคุณ ดร.พระมหาสารา กมฺมสุทฺโธ ที่เอื้อเฟื้อขัดเกลาบทคัดย่อ ภาษาองั กฤษให้มคี วามสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน พร้อมกันน้ีก็ขออนุโมทนาขอบคุณอาจารย์บุ ส่ง สินธ์ุนอก ทไ่ี ด้เรียบเรยี งบทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษเบื้องตน้ ให้ นางสาวชยาภรณ์ สุขประเสรฐิ ผู้จุดประกายในการศึกษาตอ่ หลังจากที่ไฟดังกล่าวได้ดับ มอดมาเป็นเวลา ๑๒ ปีกว่า ทั้งยังคอยสนับสนุนเรื่องค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ เช่นเดียวกับนางประภาพร เฮียบสวุ รรณ ทค่ี อยช่วยเหลอื เรอื่ งค่าน้ามันรถไปกลบั อย่บู ่อยครง้ั ขออนุโมทนากับชาวบ้านด่าน บ้านหนองหว้า ท่ีเสียสละทากิจกรรมต่าง ๆ ภายในวัด อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง แม้ในยามที่ผู้วิจัยไม่ได้อยู่วัด ทาให้รู้สึกเบาใจ และไม่กังวลในยามท่ีต้องทิ้ง ภารกิจภายในวัดไปเรียนหนังสอื บุ กุศลใดท่ีเกิดข้ึนจากความดีงามของงานวิจัยช้ินน้ี ผู้วิจัยขอน้อมบูชาแด่พ่อผู้เป็น แบบอยา่ งใหก้ ับชวี ิตอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลายตามเทา่ ถึงปจั จุบัน อีกท้งั ความดีส่วนน้ีขออุทิศให้แก่โยม แมผ่ ู้ล่วงลบั ไปแล้ว ขอทา่ นผู้มีส่วนใด ๆ ก็ตามท่ีทาให้งานวิจัยน้ีสาเร็จลุล่วง ไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อม จง ได้รับความขอบคุณ และอนโุ มทนาด้วยความจริงใจ พระครศู รีปั าวิกรม มีนาคม ๒๕๕๕

ฌ อักษรย่อช่ือคมั ภีร์ อกั ษรย่อบอกชื่อคัมภรี ์พระไตรปฎิ กภาษาบาลี และภาษาไทย ผ้วู ิจยั ใช้ฉบับมหาจฬุ า ลงกรณราชวิทยาลยั เฉพาะคัมภีร์อรรถกถาภาษาไทย ใช้พระไตรปิฎกและอรรถกถาของมหามกฏุ ราช วิทยาลัย (ชุด ๙๑ เล่ม) อักษรยอ่ เรียงตามลาดับคมั ภรี ์ ดงั น้ี พระวนิ ัยปฎิ ก ว.ิ มหา. (บาลี) วนิ ยปฏิ ก ภิกขฺ วุ ภิ งคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) วิ.มหา. (ไทย) วนิ ยปฎิ ก ภิกขวุ ภิ ังค์ (ภาษาไทย) ว.ิ ป. (บาลี) วินยปฏิ ก ปรวิ าร (ภาษาบาลี) วิ.ป. (ไทย) วินยปิฎก ปรวิ าร (ภาษาไทย) พระสตุ ตันตปฎิ ก ท.ี ปา. (บาลี) ทฆี นิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ที.ปา. (ไทย) ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) ม.ม. (ไทย) มชั ฌิมนกิ าย มชั ฌิมปณั ณาสก์ (ภาษาไทย) ม.อุ. (บาลี) มชฌฺ มิ นกิ าย อปุ ริปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี) ม.อุ. (ไทย) มัชฌมิ นกิ าย อปุ รปิ ัณณาสก์ (ภาษาไทย) ส.ส. (บาลี) สยุตตฺ นิกาย สคาถวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ส.ส. (ไทย) สงั ยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย) ส.น.ิ (บาลี) สยุตตฺ นิกาย นิทานวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ส.น.ิ (ไทย) สยตุ ฺตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย) ส.ข. (บาลี) สยุตฺตนกิ าย ขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี) ส.ข. (ไทย) สยตุ ตฺ นิกาย ขันธวรรค (ภาษาไทย) ส.สฬา. (บาลี) สยตุ ตฺ นิกาย สฬายตนวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ส.สฬา. (ไทย) สังยุตตนกิ าย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย) องฺ.เอกก. (บาลี) องฺคุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.เอกก. (ไทย) องั คุตตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย) องฺ.จตุกฺก. (บาลี) องฺคตุ ตฺ รนิกาย จตกุ ฺกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.จตุกฺก. (ไทย) อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย) องฺ.ฉกฺก. (บาลี) องคฺ ุตตฺ รนิกาย ฉกกฺ นิปาตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ฉกฺก. (ไทย) องั คตุ ตรนิกาย ฉักกนบิ าต (ภาษาไทย) องฺ.ทสก. (บาลี) องฺคุตตฺ รนิกาย ทสกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาลี) องฺ.ทสก. (ไทย) อังคุตตรนิกาย ทสกนบิ าต (ภาษาไทย) ขุ.ขุ. (บาลี) ขุททฺ กนิกาย ขทุ ฺทกปาฐปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ขุ. (ไทย) ขุททกนกิ าย ขทุ ทกปาฐะ (ภาษาไทย) ขุ.ธ. (บาลี) ขทุ ทฺ กนกิ าย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)

ญ ขุ.ธ. (ไทย) ขทุ ทกนิกาย ธัมมบท (ภาษาไทย) ขุ.อติ ิ. (บาลี) ขุ.อติ ิ. (ไทย) ขทุ ทฺ กนิกาย อติ ิวตุ ฺตกปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.สุ. (ไทย) ขุ.เถร. (บาลี) ขทุ ทกนกิ าย อติ ิวตุ ตฺ กะ (ภาษาไทย) ขุ.เถร. (ไทย) ขุ.เถร.ี (ไทย) ขุททกนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย) ขุ.ชา. (ไทย) ขุ.ม. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย เถรคาถาปาลิ (ภาษาบาลี) ขุ.ม. (ไทย) ขุ.จ.ู (บาลี) ขทุ ทกนกิ าย เถรคาถา (ภาษาไทย) ขุ.จ.ู (ไทย) ขุ.ป. (บาลี) ขทุ ทกนิกาย เถรคี าถา (ภาษาไทย) ขุ.ป. (ไทย) ขุททกนกิ าย ชาดก (ภาษาไทย) อภิ.สงฺ. (บาลี) อภิ.สงฺ. (ไทย) ขทุ ทฺ กนิกาย มหานิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาลี) อภิ.ว.ิ (บาลี) อภิ.ว.ิ (ไทย) ขทุ ทกนิกาย มหานทิ เทส (ภาษาไทย) ขทุ ทฺ กนิกาย จฬู นิทเฺ ทสปาลิ (ภาษาบาลี) ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส (ภาษาไทย) ขทุ ฺทกนกิ าย ปฏสิ มภฺ ิทามคคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) ขุททกนกิ าย ปฏสิ มั ภิทามรรค (ภาษาไทย) พระอภธิ รรมปฎิ ก อภธิ มมฺ ปฏิ ก ธมฺมสงฺคณปี าลิ (ภาษาบาลี) อภธิ ัมมปฎิ ก ธมั มสังคณี (ภาษาไทย) อภธิ มฺมปฏิ ก วิภงคฺ ปาลิ (ภาษาบาลี) อภิธัมมปิฎก วิภงั ค์ (ภาษาไทย) อรรถกถา อรรถกถา ผู้วิจัยใช้อรรถกถาแปลภาษาไทยฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย พระไตรปิฎกชุด ๙๑ เลม่ อกั ษรย่อคัมภีรใ์ ช้หลกั การเดยี วกบั พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬา ฯ เพียงแต่เพิ่มอักษรย่ออรรถ กถาไวห้ ลงั คัมภีร์ เช่น วิ.มหา.อ. หมายถงึ วนิ ยั ปฎิ ก มหาวิภังค อรรถกถา ที.ปา.อ. หมายถึง ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อรรถกถา ส.น.ิ อ. หมายถึง สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค อรรถกถา ส.ข.อ. หมายถงึ สงั ยตุ ตนกิ าย ขันธวรรค อรรถกถา องฺ.จตกุ กฺ .อ. หมายถงึ องั คตุ ตรนิกาย จตกุ กนบิ าต อรรถกถา ขุ.ธ.อ. หมายถงึ ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท อรรถกถา

ฎ การใชห้ มายเลขย่อ การใช้หมายเลขย่ออ้างอิงพระไตรปิฎกภาษาบาลีและไทย จะแจ้งเล่ม ข้อ หน้า ตามลาดับ เช่น ขุ.ธ. (บาลี) ๒๕/๒๑/๑๙ หมายถงึ ขทุ ทนิกาย ธรรมบท ฉบับภาษาบาลี เล่มที่ ๒๕ ข้อ ๒๑ หน้า ๑๙, ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๒๑/๒๔ หมายถึง ขุททนิกาย ธรรมบท ฉบับภาษาไทย เล่มท่ี ๒๕ ข้อ ๒๑ หนา้ ๒๔ การอา้ งองิ อรรถกถา ผวู้ จิ ัยใช้ฉบบั แปลของมหามกุฎราชวิทยาลัย โดยท่ัวไปจะแจ้งคัมภีร์ เล่ม ภาค หน้า ตามลาดับ เช่น วิ.มหา.อ. ๔/๑/๕๘ หมายถึง วินัยปิฎก มหาวรรค อรรถกถา เล่มท่ี ๔ ภาคที่ ๑ หน้าที่ ๕๘, แต่บางคัมภีร์เป็นเร่ืองยาวติดต่อหลายเล่มอย่างคัมภีร์ชาดก คัมภีร์ธรรมบท เป็นต้น จะเพ่ิม ตอนที่ เช่น ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๒/๓๖๑ หมายถึง ขุททนิกาย ธรรมบท อรรถกถา เล่ม ๑ ภาคท่ี ๒ ตอนที่ ๒ หน้า ๓๖๑, ขุ.เถร.อ. ๒/๓/๒/๒๗๐ หมายถึง ขุททนิกาย เถรคาถา อรรถกถา เลม่ ท่ี ๒ ภาคท่ี ๓ ตอนท่ี ๒ หนา้ ๒๗๐ เป็นตน้

สารบญั จ เร่ือง หน้า บทคัดยอ่ ภาษาไทย ก บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ ข กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญ จ คาอธิบายสญั ลักษณแ์ ละคาย่อ ฌ บทที่ ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ๑ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา ๓ ๑.๓ ขอบเขตของการศึกษา ๓ ๑.๔ ปญั หาท่ตี ้องการทราบ ๓ ๑.๕ นิยามศัพทเ์ ฉพาะท่ีใชใ้ นการศึกษา ๓ ๑.๖ ทบทวนเอกสารและรายงานการวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๔ ๑.๗ วธิ ีดาเนินการศึกษา ๖ ๑.๘ ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั ๖ ๗ บทท่ี ๒ การสืบค้นคาว่า “ธรรม” ในคมั ภีรธ์ รรมบท ๗ ๒.๑ คมั ภีร์ธรรมบท ๘ ๒.๑.๑ ความเปน็ มาของธรรมบท ๙ ๒.๑.๒ ความสาคญั ของธรรมบท ๑๑ ๒.๑.๓ ธรรมบทกบั อรรถกถาธรรมบท ๑๒ ๒.๑.๔ โครงสร้างพระไตรปิฎก ๑๓ ๒.๑.๕ การจัดหมวดหมใู่ นคัมภีร์ธรรมบท ๑๔ ๒.๑.๖ รปู แบบฉันทลกั ษณใ์ นธรรมบท ๑๔ ๒.๒ รูปศพั ทค์ าว่า ธรรม ในคัมภรี ์ธรรมบท ๑๔ ๒.๒.๑ รูปศพั ทข์ องคาวา่ ธรรม กลมุ่ ศัพท์เดยี่ ว ๑๕ ๒.๒.๒ รูปศัพท์ของคาวา่ ธรรม กล่มุ ทีเ่ ปน็ คาผสม ๑๖ ๒.๒.๓ รูปคาถาทม่ี คี าว่า ธรรม ปรากฎอยู่ ๒๑ ๒.๓ ความหมายคาวา่ ธรรม ในบริบทอน่ื ๒๑ ๒.๓.๑ ความหมายตามนัยสนั สกฤต ๒๑ ๒.๓.๒ ความหมายตามนัยบาลี ๒๖ ๒.๔ สรุปทา้ ยบท ๒๗ ๒๗ บทที่ ๓ วเิ คราะหค์ าวา่ “ธรรม” ตามบริบทของคาถา ๒๗ ๓.๑ ความหมายคาวา่ ธรรม ตามบรบิ ทคาถา ๓.๑.๑ หมวดหลักธรรมเฉพาะ

๑) โยนโิ สมนสกิ าร ฉ ๒) อริยสจั ๓) ขนั ธ์ ๕ ๒๗ ๔) เจตสิก ๒๘ ๕) กรรมนยิ าม ๒๘ ๖) โทสะ ๒๙ ๗) ความเทีย่ งธรรม ๓๐ ๘) สัจจะ ๓๒ ๓.๑.๒ หมวดหลกั ธรรมทวั่ ไป ๓๒ ๑) ธรรมขันธ์ ๓๓ ๒) บทธรรม ๓๔ ๓) เทศนาธรรม ๓๔ ๔) ปฏเิ วธธรรม ๓๕ ๕) โลกตุ ตรธรรม ๓๗ ๖) โพธปิ กั ขยิ ธรรม ๔๐ ๗) สมถะ/วปิ สั สนากรรมฐาน ๔๒ ๘) ภมู ิ ๓ ๕๐ ๙) ปฏบิ ตั ิธรรม ๕๕ ๑๐) สจุ รติ ธรรม ๕๘ ๑๑) ทุจรติ ธรรม ๕๙ ๑๒) อริยบุคคล ๖๑ ๑๓) บาปธรรม ๖๔ ๓.๒ สรปุ ท้ายบท ๖๕ บทท่ี ๔ สรุปผล วิจารณ์ และขอ้ เสนอแนะ ๖๖ ๔.๑ สรปุ ผล ๖๙ ๔.๒ อภปิ รายผล ๗๐ ๔.๓ ข้อเสนอแนะ ๗๐ บรรณานุกรม ๗๑ ประวัติผูว้ ิจัย ๗๓ ๗๔ ๗๗

๑ บทท่ี ๑ บทนา ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ธรรมบทเปน็ ชื่อคัมภีรห์ น่ึงในพระสตุ ตนั ตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนกิ าย สงั ยตุ ตนิกาย องั คุตตรนิกาย และขทุ ทกนิกาย ขทุ ทกนกิ ายเปน็ ประชมุ เร่ืองเบด็ เตล็ดทว่ั ไป แบ่งย่อยได้ ๑๕ คัมภีร์ คอื ขุททกปาฐะ, ธรรมบท, อทุ าน, อิตวิ ตุ ตกะ, สตุ ตนิบาต, วมิ านวตั ถุ, เปตวตั ถ,ุ เถรคาถา, เถรีคาถา, ชาตกะ, นิเทส, ปฏิสัมภิทามรรค, อปทาน, พุทธวงั สะ, และจริยาปฎิ ก๑ ธรรมบทเป็นคัมภรี ์ลาดับท่ี ๒ ในพระไตรปฎิ กฉบบั บาลี อกั ษรไทย อยู่ในเล่มท่ี ๒๕ และมี คมั ภีร์แตง่ อธบิ ายเรยี กว่า ธัมมปทฏั ฐกถา เป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ในกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ (พ.ศ.๙๕๖) เป็นคัมภรี ์ทมี่ ีความสาคัญ และได้รบั ความสนใจอย่างแพรห่ ลาย ทงั้ ได้รับการแปล เปน็ ภาษาต่าง ๆ เฉพาะภาษาอังกฤษมีไม่น้อยกว่า ๓๐ สานวน๒ ธรรมบท แปลว่า “บทแห่งพระธรรม” มจี านวน ๔๒๓ คาถา เปน็ ร้อยกรองลว้ น (ปชั ชะ) ประกอบดว้ ยฉันทลกั ษณ์ต่าง ๆ ทงั้ ตามแบบคัมภรี ์วุตโตทยั หรอื ฉนั ทลักษณภ์ ายนอก เช่น คัมภรี ์ ฉันโทมญั ชรี เปน็ ต้น ปัจจบุ ันมีผู้วิเคราะห์ฉนั ทลักษณ์ไว้ ๒ ลกั ษณะ ประกอบด้วย ๑) มาตราพฤติ มี ๓ ประเภท ได้แก่ เวตาลียฉันท์, โอปัจฉันทสกฉันท์ และอาปาตลิกาฉนั ท์ ๒) วรรณพฤติ มี ๑๕ ประเภท ได้แก่ ปฏั ฐยาวัตฉันท,์ วปิ ลุ าฉันท,์ อปุ ชาติฉันท,์ อนิ ทรวิเชียรฉนั ท,์ อเุ ปนทรวเิ ชียรฉันท์, อินทรวงศฉ์ นั ท์, วงั สฏั ฐฉันท,์ กมลาฉนั ท์, ภุชังคัปปยาตฉนั ท,์ ลลติ าฉนั ท์, วาโตมมฉี ันท์, เวสสเทวฉี นั ท์ ,อุพภาสกฉนั ท์, สิริฉันท,์ และ อาขยานกีฉันท์๓ คมั ภรี ธ์ รรมบทแม้มขี ้อจากดั ที่แต่งในรปู รอ้ ยกรอง ข้อความสัน้ ๆ แตภ่ าษาทใ่ี ช้กระชับ มี เน้ือหาสาระสมบูรณ์ในตัวเอง ความหมายลกึ ซง้ึ กนิ ใจ ทง้ั ยังครอบคลมุ หลักธรรมทเ่ี ป็นหัวใจสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน ท่ีสาคญั อีกประการหนงึ่ ธรรมบทจานวน ๔๒๓ คาถาน้ี เปน็ พระพุทธพจน์ทงั้ หมด ทรง แสดงไว้ต่างบุคคล ต่างสถานท่ี ตา่ งเวลา ตา่ งเรอ่ื ง ทาใหเ้ หน็ ความหลากหลายของข้อธรรม แม้คาวา่ “ธรรม” คาเดยี วก็มีความหมายไมเ่ หมือนกนั จากการสารวจเบ้อื งต้น ผูว้ จิ ยั พบคาว่า “ธรรม” ใน ๔๙ คาถา และใชใ้ นความหมาย ต่างกนั เชน่ ๑ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/บทนา/ (๗). ๒ ส.ศิวรักษ์, “คานิยม” ใน เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พุทธวจนะในธรรมบท. (กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พธ์ รรมสภา, ๒๕๕๒), หนา้ (๔). ๓ พระธรรมโมลี (สมศักด์ิ อุปสโม), งานวิจัยการศึกษเชิงวิเคราะห์: พระคาถาธรรมบท, (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หนา้ (๕๗).

๒ มโนปุพฺพงฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฐฺ า มโนมยา มนสา เจ ปทฏุ เฺ ฐน ภาสติ วา กโรติ วา จกฺก ว วหโต ปท.๔ ตโต น ทุกฺขมเนวติ แปล:ธรรมท้ังหลาย มใี จเป็นหัวหนา้ มใี จเป็นใหญ่ สาเรจ็ ดว้ ยใจ ถ้าคนมีใจช่ัว กจ็ ะพูด หรอื ทาชว่ั ตามไปดว้ ย เพราะความชั่วนัน้ ทกุ ข์ย่อมติดตามเขาไปดุจล้อหมนุ ไปตาม รอยเทา้ โคท่ลี ากเกวียนไป ฉะนั้น.๕ ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์ไดแ้ จกแจงความหมายของธรรมไว้ ๔ ประเภท ไดแ้ ก่ คณุ ธรรม เทศนาธรรม ปริยตั ธิ รรม และนสิ ตั ตนิชีวธรรม๖ หลังจากแจกแจงธรรม ๔ ประเภทดังกลา่ วแล้ว ท่านสงเคราะห์ คาวา่ “ธรรม” ว่า หมาย เอานิสัตตนิชวี ธรรม โดยระบุถึงเวทนาขนั ธ์ สัญญาขันธ์ และสังขารขนั ธ์ เท่ากับว่า ทา่ นสงเคราะห์คา ว่า “ธรรม” ในความหมายเจตสกิ คาถานี้จงึ อาจแปลใหม่ได้วา่ “เจตสิกทงั้ หลาย มีใจเปน็ หัวหนา้ มี ใจใหญ่ สาเร็จด้วยใจ” ตัวอย่างอีกคาถาหนง่ึ น หิ เวเรน เวรานิ สมมฺ นฺตธี กทุ าจน อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม สนนตฺ โน๗ แปล: “เพราะว่าในกาลไหน ๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ยอ่ มไม่ระงับด้วยเวร แต่เวร ทั้งหลายย่อมสงบระงบั ดว้ ยการไมจ่ องเวร นี้เปน็ ธรรมเก่า”๘ อรรถกถาธรรมบทขยายความคาว่า ธรรมในประโยคนี้ หมายถึง มรรคาท่ีพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และเหล่าพระขีณาสพทั้งหลายดาเนิน๙ หรือยืดถือเป็นเกณฑ์แน่นอนว่าเวรย่อม ระงับด้วยการไม่จองเวร ธรรมในบทนี้ จึงโน้มเอียงถึงเร่ืองกรรมนิยาม ซ่ึงถือเป็นกฎเกณฑ์แห่งการ กระทา หรือพฤตกิ รรมต่าง ๆ ธรรมในคาถาน้ีจึงมีความแตกตา่ งจากธรรมใน ๒ คาถาแรกอยา่ งสิ้นเชิง อนึ่ง บางคาถามคี าว่า “ธรรม” ปรากฏหลายครัง้ ทาให้ต้องพจิ ารณาวา่ แมใ้ นคาถา เดียวกนั จะมคี วามหมายอยา่ งเดียวกันหรือไมอ่ ยา่ งไร เช่น น ตาวตา ธมฺมธโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปปฺ มฺปิ สตุ วฺ าน ธมมฺ กาเยน ปสสฺ ติ โย ธมฺม นปฺปมชฺชติ.๑๐ ส เว ธมมฺ ธโร โหติ ๔ ข.ุ ธ.(บาลี) ๒๕/๑/๑๕. ๕ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๑/๒๓. ๖ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๓๕. ๗ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๕/๑๖. ๘ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๕/๒๕. ๙ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๗๔. ๑๐ ข.ุ ธ. (บาลี) ๒๕/๒๕๙/๖๑.

๓ แปล: บุคคลไมช่ ื่อว่าผทู้ รงธรรม เพยี งเพราะพดู มาก ส่วนผใู้ ดได้สดับตรับฟังนอ้ ย แต่ พจิ ารณาเหน็ ธรรมด้วยนามกาย ทง้ั ไมป่ ระมาทในธรรมน้นั ผ้นู ้ันชอ่ื วา่ ผ้ทู รงธรรม.๑๑ ผวู้ จิ ัยสนใจศึกษาความหมายของคาวา่ “ธรรม” ทป่ี รากฏในคัมภรี ธ์ รรมบท ว่าหมายถึง หลักธรรมขอ้ ใดบา้ ง มจี านวนกชี่ ดุ และธรรมเหลา่ นนั้ เป็นฝา่ ยกศุ ล หรอื ฝา่ ยอกุศลอย่างไรบ้าง ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา ๑.๒.๑ เพอื่ สบื คน้ คาว่า “ธรรม” ที่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบท ๑.๒.๒ เพ่ือวเิ คราะห์ความหมายของคาวา่ “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา ๑.๓ ขอบเขตของการศกึ ษา ก.ขอบเขตของเนื้อหา งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาความหมายของคาว่า “ธรรม” ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ธรรมบทตาม บรบิ ทของคาถา ข.ขอบเขตของเอกสาร พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี เล่มที่ ๒๕ ต้ังแต่หน้า ๑๕-๙๐ ตั้งแต่ข้อ ๑-๔๒๓ และ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยตัง้ แตห่ นา้ ๒๓-๑๖๘ จานวน ๔๒๓ คาถา ๑.๔ ปญั หาทต่ี ้องการทราบ ในคัมภีร์ธรรมบท มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถาใดบ้าง และคาเหล่าน้ัน มี ความหมายอย่างไร มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร และสามารถสังเคราะห์เข้าในหมวด ธรรมใดไดบ้ า้ ง ๑.๕ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะที่ใช้ในการศกึ ษา ๑.๕.๑ การศึกษาเชิงวิเคราะห์ หมายถึง การแสวงหาความรู้ท่ีต้ังบนพ้ืนฐานของการ ตรวจสอบ พิจารณา เทียบเคยี งเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงองค์ความร้ทู ่สี มบูรณ์ และถูกต้องตามหลักวิชาการ ๑.๕.๒ ธรรม หมายถงึ รปู ศพั ท์ “ธมมฺ -” ในภาษาบาลี ซึ่งปรากฏอยใู่ นคมั ภีรธ์ รรมบท ๑.๕.๓ คัมภรี ธ์ รรมบท หมายถึง บันทึกคาสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งอยู่ในรูปของคาถา อยู่ ในหมวดขทุ ทกนิกาย ธรรมบท พระไตรปิฎกเลม่ ท่ี ๒๕ ตั้งแตข่ อ้ ๑-๔๒๓ ต้งั แตห่ นา้ ๒๓-๑๖๘ ๑.๕.๔ อรรถกถาธรรมบท หมายถึง คัมภีร์ที่พระพุทธโฆสาจารย์รจนาข้ึนเพื่ออธิบาย คมั ภรี ์ธรรมบท ๑.๕.๕ บริบท หมายถึง คาแวดล้อมในคาถาหนึ่งๆ รวมไปถึงนิทานประกอบในแต่ละ คาถาดว้ ย ๑๑ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๒๕๙/๑๑๓.

๔ ๑.๖ ทบทวนเอกสารและรายงานการวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้อง ๑.๖.๑ พระมหาสาเนียง เลื่อมใส (๒๕๓๔), เสนองานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบ ธรรมบทและภควทั คตี า” พบว่า กรอบความคิดทางอภิปรัชญา ท่ีแตกต่างกัน ทาให้ทัศนะทางญาณ วิทยาและจริยศาสตร์ของทั้งสองระบบนี้มีความแตกต่างกันไปด้วย เช่น ทัศนะของภควัทคีตายอมรับ เร่อื งอตั ตาในฐานะเปน็ สิง่ สงู สดุ ท่คี วบคุมความเปน็ ไปของธรรมชาติทั้งหมด ขณะที่พุทธปรัชญาปฏิเสธ ทัศนะนี้ คร้ันมาถึงญาณวิทยา ท้ังภควัทคีตาและพุทธปรัชญายอมรับเร่ือง อวิชชา หรือ อวิทยา ว่า เป็นสาเหตุของกรรม มนุษย์จึงควรจากัดอวิชชาเสีย ประเด็นน้ี พุทธปรัชญาเน้นความเพียรพยายาม ด้วยตนเอง ขณะที่ภควัทคีตามีพระเจ้าเป็นจุดศูนย์กลาง จริยศาสตร์ของพุทธปรัชญาจึงเน้นไปท่ีตัว มนุษย์ ขณะทจี่ ริยศาสตรข์ องภควัทคตี าเนน้ เรอ่ื งความภักดตี ่อพระผเู้ ป็นเจา้ ๑๒ ๑.๖.๒ ดวงพร คาหอมกุล (๒๕๔๔), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พุทธ จริยศาสตร์ในธัมมปทัฏฐกถา” พบว่า ธัมมปทัฏฐกถามีจริยศาสตร์ครบ ๓ ระดับ คือ ๑) ระดับต้น ได้แก่ ศีล ๕,เบญจธรรม ๕ ๒) ระดับกลาง ได้แก่ กุศลกรรมบท ๑๐ และ ๓) ระดับสูง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ และยังพบอีกว่า หลักจริยศาสตร์ในธัมมปทัฏฐกถา มีอิทธิพลต่อสังคมไทย เช่น เป็นบอ่ เกิดพธิ กี รรม ประเพณี และวฒั นธรรมไทยหลายประการ๑๓ ๑.๖.๓ พระธรรมโมลี (๒๕๔๕), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาเชิงวิเคราะห์พระ คาถาธรรมบท” ผวู้ จิ ยั ได้วเิ คราะหพ์ ระพุทธวจนะในสว่ นของคาถาธรรมบทตามหลักคัมภีร์สัททาวิเสส ท้ัง ๔ คือ (๑) หลักฉันทลักษณ์ เป็นการวิเคราะห์คาถาธรรมบทท้ัง ๔๒๓ คาถา ตามหลักคัมภีร์วุต โตทยั ทัง้ ท่ีเป็นวรรณพฤติ ๘๓ ชนิด และมาตราพฤติ ๒๘ ชนิด (๒) หลักอุปจารนยะ วิเคราะห์คาถา ธรรมบทใหเ้ ห็นลักษณะการใชส้ านวน คาพดู เลียบเคียง และวิเคราะห์ระบบหรือหลักการตีความ หรือ อธิบายภาษาท่ีลึกซึ้งกากวม ตามหลักอุปจาระ ๑๒ และ นยะ ๕๔ อย่าง (๓) หลักไวยากรณ์ เป็นการ นาบทที่เข้าใจยาก มีความซบั ซ้อนมาวเิ คราะห์ให้เห็นรากศัพท์ พร้อมท้ังแสดงรูปวิเคราะห์โดยยึดหลัก คัมภีร์กัจจายนไวยากรณ์ ปทรูปสิทธิ โมคคัลลานไวยากรณ์ สัททนีติปกรณ์ เป็นต้น และ (๔) หลัก อลังการ วิเคราะห์คาถาธรรมบทในด้านการตกแต่งเสียง และความหมาย เพื่อให้เกิดความไพเราะทาง รูปศัพทแ์ ละข้อความ๑๔ ๑.๖.๔ พระมหาทรรศน์ คณุ ทสสฺ ี (๒๕๔๖), เสนองานวจิ ยั เรอื่ ง “การศกึ ษาเปรียบเทียบ พุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกับกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ” พบว่า พุทธ วธิ กี ารสอนในอรรถกถาธรรมบท มีลักษณะหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญท้ัง ๕ ประการ ได้แก่ (๑) การเรียนรู้อย่างมีความสุข (๒) เรียนรู้แบบองค์รวม (๓) ๑๒ พระมหาสาเนียง เลื่อมใส, “การศึกษาเปรียบเทียบธรรมบทและภควัทคีตา”, วิทยานิพนธ์อักษร ศาสตร์มหาบัณฑิต, (บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั ศิลปากร, ๒๕๓๔), หน้า ฆ. ๑๓ ดวงพร คาหอมกลุ , “การศึกษาเชงิ วเิ คราะห์พุทธจริยศาสตร์ในธัมมปทัฏฐกถา”, วิทยานิพนธ์พุทธ ศาสตรมหาบณั ฑิต, ( บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๔), หนา้ ๑๑๕-๑๑๗. ๑๔ พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) , การศึกษาวิจัยการศึกษาเชิงวิเคราะห์พระคาถาธรรมบท, (นครปฐม: มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตบาลศี กึ ษาพทุ ธโฆส, ๒๕๔๕), หน้า (ง)-(จ)

๕ เรียนรู้จากการคิด ปฏิบัติการจริง และสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง (๔) เรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น และ (๕) เรยี นรกู้ ระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง๑๕ ๑.๖.๕ ฌานิศ วงศส์ วุ รรณ์ (๒๕๔๖), เสนองานวจิ ยั เร่อื ง “ การศกึ ษาเรือ่ งพุทธวจนะใน ธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก” พบว่า ในส่วนของหลักธรรม ธรรมบทมีหลักธรรมที่เกื้อกูล ประโยชนท์ ัง้ คฤหัสถ์ และบรรพชิต ในส่วนของภาษา ธรรมบทสานวนแปลของเสฐยี รพงษ์ วรรณปก มีการใช้ภาษาที่งดงาม สละสลวย มีการใช้ภาษาภาพจน์อุปมา อุปลักษณ์ การใช้ภาวะแย้ง การกล่าว ซา้ การใชส้ ญั ลักษณ์ และการใช้สัมผัส ทาให้พุทธวจนะในธรรมบทได้รับความนิยม มีการตีพิมพ์ถึง ๙ คร้งั ๑๖ ๑.๖.๖ พระมหาดวงรัตน์ ฐติ รตโน (๒๕๕๐), เสนองานวจิ ัยเรอื่ ง “อิทธิพลของธัมมปทัฏฐ กถาเร่ืองอายุวัฒนกุมารต่อประเพณีสืบชะตาล้านนา” สรุปได้ว่า ประเพณีและพิธีกรรมการสืบ ชะตาของชาวล้านนา ไดร้ ับอิทธิพลจากธัมมปทัฏฐกถาเรื่องอายุวัฒนกุมาร ซึ่งมีหลักอยู่ว่า การนิมนต์ พระสงฆ์มาประกอบพิธีสืบชะตา จะทาให้เกิดความเจริญ ๔ ประการคือ คือ อายุ วรรณะ สุขะ และ พละ ทั้งน้ีด้วยอานุภาพของพระปริตร และพระรัตนตรัย ตลอดบุญกุศลท่ีบาเพ็ญก็จะเป็นแรงหนุน สว่ นหน่ึงใหร้ อดพ้นจากมรณภยั ได้๑๗ ๑.๖.๗ พระวรี พรรณ วฑุ ฒฺ ิธมโฺ ม (๒๕๕๒) เสนองานวิจัยเรื่อง “อิทธิพลของความเชื่อใน อรรถกถาธรรมบทที่มตี ่อสังคมไทย” สรุปได้ว่า ความเช่ือท่ีเกิดจากความไม่รู้เก่ียวกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ นาไปสู่การตคี วาม ความเชอื่ ทป่ี รากฏในสงั คมไทย เปน็ ความเช่อื ที่มกี ารผสมผสานระหว่าง ความเชื่อดั้งเดิมคือพราหมณ์-ฮินดูกับพระพุทธศาสนา ซึ่งความเชื่อเหล่าน้ีมีอิทธิพลต่อสังคมไทย นบั ต้ังแตโ่ บราณถึงปจั จบุ นั ๑๘ ๑.๖.๘ เสาวนีย์ พงศกรเสถียร (๒๕๕๓) เสนองานวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิเคราะห์ แนวคิดญาณวิทยาในธัมมปทัฏฐกถา” ได้ข้อสรุปว่า ญาณวิทยาที่พบในธัมมปทัฏฐกถา มุ่งเน้นการ แสวงหาความร้ทู ง้ั โลกภายนอก และโลกภายใน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือความหลุดพ้นการจากการเวียน วา่ ยตายเกิด ผ่านกระบวนการ ๓ อยา่ งคอื สตุ มยปัญญา จนิ ตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา๑๙ ๑๕ พระมหาทรรศน์ คุณทสฺสี, “การศึกษาเปรียบเทียบพุทธวิธีการสอนในอรรถกถาธรรมบทกับ กระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ”, วิทยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบณั ฑติ , ( บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖), บทคัดยอ่ . ๑๖ ฌานิศ วงศ์สุวรรณ์, “การศึกษาเร่ืองพุทธวจนะในธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก”, วทิ ยานพิ นธ์อกั ษรศาสตร์มหาบัณฑติ , (บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๔๖), บทคดั ย่อ. ๑๗ พระมหาดวงรัตน์ ฐิตรตโน (กิจประภานนท์), “อิทธิพลของธัมมปทัฏฐกถาเรื่องอายุวัฒนกุมารต่อ ประเพณีสืบชะตาลา้ นนา”, วิทยานพิ นธพ์ ุทธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บณั ฑิตวทิ ยาลัย: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๐), หน้า ๑๓๔. ๑๘ พระวีรพรรณ วฑุ ฒฺ ฺธมฺโม (เชียรประโคน), “อิทธิพลความเช่ือในอรรถกถาธรรมบทที่มีต่อประเพณี ไทย”, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, ( บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๒), หนา้ ๑๓๐-๑๓๑. ๑๙เสาวนีย์ พงศกรเสถียร, “การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดญาณวิทยาในธัมมปทัฏฐกถา”,วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓), หน้า ๑๘๙-๑๙๖.

๖ ๑.๖.๙ พระวิพัฒน์ อตฺตเปโม (๒๕๕๓), เสนองานวิจัยเร่ือง “การศึกษาหลักกรรมและ การให้ผลของกรรมในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบท” ได้ข้อสรุปวา่ กรรมท่ีปรากฏในธรรมบทจานวน ๘๖ เรื่อง มีการจาแนกกรรมตามเวลาท่ีให้ผล จาแนกตามการให้ผลตามหน้าท่ี และจาแนกตามยักเยื้อง หรือลาดับความแรงในการให้ผล ถ่ายทอดผ่านเร่ืองราวท่ีอรรถกถาจารย์แต่งข้ึนเป็นบุคลาธิษฐาน และยงั มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความเช่ือในสงั คมไทยทง้ั เชิงบวกและเชิงลบ๒๐ งานวิจัยท่ีนาเสนอมา เป็นการศึกษาเฉพาะแง่เฉพาะมุม ยังไม่ครอบคลุมประเด็นท่ีผู้วิจัย ต้องการศกึ ษา จงึ เห็นวา่ ประเดน็ เรื่องความหมายของธรรมในคัมภีร์ธรรมบทก็น่าสนใจ ควรท่ีจะได้มี การศึกษา ๑.๗ วิธดี าเนนิ การศกึ ษา ๑.๗.๑ สารวจคาถาธรรมบทท้ัง ๔๒๓ คาถาเฉพาะฉบับภาษาบาลี คัดเอาส่วนท่ีมีคาว่า “ธรรม” ออกมาศึกษาในรายละเอยี ด ๑.๗.๒ ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดความหมายของคาว่า “ธรรม” เหล่านั้น โดย เทียบเคยี งจากบริบทของคาถานน้ั ๆ ๑.๗.๓ สรุป สังเคราะห์จัดหมวดหมู่ความหมายของคาว่า “ธรรม” ท่ีปรากฏในธรรมบท ท้งั หมด จากน้นั เขยี นเป็นรายงานวิจยั ๑.๗.๔ นาเสนอเป็นส่วนหนึง่ ของรายวิชาสัมมนาพระไตรปฎิ กตอ่ ไป ๑.๘ ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั ๑.๘.๑ ทาให้ทราบว่า มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถาใดบ้างในคัมภีร์ธรรมบท ๔๒๓ คาถา ๑.๘.๒ ทาให้ทราบความหมายของคาว่า “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา ๒๐ พระวพิ ัฒน์ อตฺตเปโม (เอ่ยี มเปรมจติ ), “การศกึ ษาหลักกรรมและการให้ผลของกรรมในคมั ภีร์อรรถ กถาธรรมบท”, วทิ ยานพิ นธ์พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๕๓), หนา้ ๒๑๔-๒๑๗.

๗ บทท่ี ๒ สืบค้นคาว่า “ธรรม” ในคมั ภรี ธ์ รรมบท ประเด็นสาคัญในบทน้ีผู้วิจัยแบ่งออกเป็น ๓ ตอนคือ ตอนแรกจะแนะนาคัมภีร์ธรรมบท โดยสังเขป เพือ่ ชีใ้ หเ้ หน็ ความเปน็ มา ความสาคัญ ความแตกต่างระหว่างคัมภีร์ธรรมบทกับอรรถกถา ธรรมบท โครงสร้างของพระไตรปิฎกเน้นที่คัมภีร์ธรรมบท การจัดหมวดหมู่ในคัมภีร์ธรรมบท และ รูปแบบฉันทลักษณ์ในคัมภีร์ธรรมบท ตอนท่ี ๒ เป็นการสืบค้นรูปศัพท์ของคาว่า “ธรรม” เริ่มต้น ด้วยการจดั หมวดหม่ขู องคาโดยการนาลกั ษณะทางไวยากรณ์เข้ามาจับ จากนั้นจึงคัดรูปคาถาที่มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ ตอนท่ี ๓ เป็นการสืบค้นความหมายของคาว่า “ธรรม” ที่ปรากฎในบริบทอื่น นอกเหนือจากคัมภีรธ์ รรมบท ท้ังนี้เพ่อื ใชเ้ ป็นฐานข้อมูลสาหรับการศกึ ษาวเิ คราะหส์ ืบต่อไป ๒.๑ คมั ภรี ์ธรรมบท คาวา่ ธรรมบท เท่าทไ่ี ดพ้ ิจารณารายละเอียดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ พบว่า โดยสรุปแล้ว มคี วามหมาย ๓ นัย คือ นัยแรก หมายถึงคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เป็น ๑ ใน ๑๕ คัมภีร์ อยู่ในพระไตรปิฎก เล่มท่ี ๒๕ หมวดขุททกนิกาย ได้แก่ ขุททกปาฐะ, ธรรมบท, อุทาน, อิติวุตตกะ, สุตตนิบาต, วิมาน วตั ถ,ุ เปตวัตถุ, เถรคาถา, เถรีคาถา, ชาตกะ, นิเทส, ปฏสิ มั ภิทามรรค, อปทาน, พุทธวังสะ, และจริยา ปฎิ ก คาว่า ขทุ ทนิกาย หมายถึง คัมภีร์ปลีกย่อยหลายคัมภีร์ท่ีนามารวมไว้ในหมวดหมู่เดียวกัน เพราะไม่สามารถจัดเข้าในนิกายท้ัง ๔ คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย และอังคุตตรนิกาย ได้๑ เป็นคัมภีร์ท่ีมีลักษณะเฉพาะของตน ไม่ซ้าแบบกัน จึงรวบรวมไว้เป็นหมวดหนึ่งต่างหาก จะ เรียกวา่ หมวดเบด็ เตลด็ ก็ได้ นัยที่สอง๒ หมายถงึ ภาษติ บทแห่งธรรม บทธรรม ขอ้ ธรรม๓ ที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่บุคคล ในโอกาส และสถานท่ีแตกต่างกันออกไป ภาษิตเหล่านี้อาจจะอยู่ในรูปของร้อยกรอง เรียกว่า คาถา บางครัง้ จงึ นยิ มเรียกติดปากว่า คาถาธรรมบท หรืออาจจะอยู่ในรูปของร้อยแก้ว เพ่งถึงธรรมบทหน่ึง หมวดหน่ึงท่ีสามารถยังประโยชน์ให้สาเร็จได้ เช่น ขันธ์ ๕ ความไม่พยาบาท การไม่เพ่งเล็ง สัมมาสติ สัมมาสมาธิ เป็นต้น ๑ศกั ดศิ์ รี แย้มนดั ดา, วรรณคดพี ทุ ธศาสนาพากยไ์ ทย, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หน้า ๑๔. ๒ ความหมายตามนยั น้ี ผู้วิจัยสรุปจากคาอธบิ ายตามนยั ท่ปี รากฎในบทนาทท่ี า่ นไดอ้ ธบิ ายเอาไว้ ดู ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/บทนา/(๒๓) ๓ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), พจนานกุ รมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา, ๒๕๕๔), หนา้ ๑๔๖.

๘ ในธรรมบท มีคาถาทพี่ รรณนาถึงคณุ ของคาถาบทหน่ึง หรอื บทธรรมบทหน่ึงว่า แม้จะเป็น เพยี งคาถาหนึง่ หรือบทหน่งึ แตป่ ระกอบด้วยประโยชน์ ฟังแล้วทาให้เกิดความจิตเกิดความสงบระงับ ย่อมประเสรฐิ กว่าคาถาอื่นเป็นรอ้ ยเป็นพนั ๔ นัยที่สาม หมายถงึ วิถี หรอื แนวทางสาหรับการเข้าถึงธรรม ความหมายตามนัยน้ี มักแปล หรือให้ความหมาย ปท ว่าหมายถึง ทาง เป็นความหมายเชิงปฏิบัติ เพ่งถึงบทธรรมแต่ละบทในฐานะ เป็นแนวทาง อุบาย วิถี๕สาหรับการดาเนิน หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตต้ังแต่ระดับต้น กระทั่งถึง เป้าหมายสูงสุดคือพระนิพพาน พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมแปลศัพท์นี้ว่า “The Way of Truth”๖ ทานองเดยี วกับที่ F. Max Müller แปลเปน็ “Footstep of Religion”๗ ๒.๑.๑ ความเปน็ มาของธรรมบท ธรรมบท ถือเป็นพุทธพจน์ประเภทร้องกรอง พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในโอกาสต่าง ๆ เม่ือมี การทาสังคายนา จงึ ได้มีการรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ และจัดเข้าในหมวดขุททนิกายแห่งสุตตันตปิฎก มีจานวนท้ังหมด ๙ เล่ม คือต้ังแต่เล่มที่ ๒๕-๓๓ มีทั้งหมด ๑๕ คัมภีร์ ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่ ๒ และ ไดร้ ับการบนั ทกึ ไว้ในพระไตรปิฎกเลม่ ที่ ๒๕ พิจารณาในแงข่ องความเป็นมาของคมั ภรี ์ ยงั ไมส่ ามารถระบุระยะเวลาที่แน่ชัดลงไปได้ว่า คัมภีร์ธรรมบท ได้รับการรวบรวมเป็นคัมภีร์คร้ังแรกเมื่อใด แต่ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาอย่างเช่น พระพุทธโฆสาจารย์ ผู้รจนาอรรรถกถาธรรมบท มีความเห็นว่า คัมภีร์นี้น่าจะได้มีการชาระมาแล้ว ต้ังแต่คราวทาสังคายนาคร้ังท่ี ๑๘ ครั้นต่อมาก็มีการทรงจาในรูปของมุขปาฐะ กระท่ังมีการจารึกลง เป็นลายลักษณ์อกั ษรครัง้ แรกในคราวทาสงั คยนาครั้งท่ี ๓ (ครั้งแรกในศรีลังกา) ในรัชสมัยของพระเจ้า วัฏฏคามณอี ภัย (พ.ศ.๔๕๕-๔๖๗) ทั้งนี้เน่อื งจากมองเหน็ ว่า แต่เดมิ นน้ั ภกิ ษุมีปญั ญามาก สืบทอดพระ บาลีคือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งอรรถกถาด้วยมุขปาฐะ แต่ต่อมาสติปัญญาการทรงจาของมนุษย์เริ่ม เสือ่ มลง การจารึกธรรมลงในคัมภีร์ย่อมทาให้เกิดความมน่ั คงถาวร๙ ต่อมาได้มีการแต่งอรรถกถาธรรมบท ซึ่งเช่ือกันว่า ผู้แต่งก็คือพระพุทธโฆสาจารย์ เม่ือ ประมาณ พ.ศ.๙๔๓ อย่างไรก็ตามประเด็นนี้ยังไม่เป็นท่ียุติ เพราะเมื่อมีการวิเคราะห์ผลงาน ๔ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๑๐๐-๑๐๒/๖๑-๖๒. ๕ ราธกฤษณนั นิยามความหมาย ปท ไว้ ๓ ความหมาย ได้แก่ ๑. ทาง (path) ๒.อุบาย (means) ๓. วิธี (way) ดู S. Radhakrishnan. The Dhammapada. (Oxford: Oxford University Press, 1996), p.1. ๖ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, (กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๕๑),หน้า ๓๓๐. ๗ F. Max Müller, (tr.).The Dhammapada and Sutta Nipata Sacred Books of East, Vol.10, (Oxford: The Clarendon Press,1881), p. xlv. ๘ S.Radhakrishnan, The Dhammapada, (Oxford: Oxford University Press, 1996),p.1. ๙ พระมหานามเถระ และคณะบัณฑิต, คัมภีร์มหาวงศ์ ภาค ๑, สุเทพ พรมเลิศ ผู้แปล, (กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย,๒๕๕๓), หน้า๓๐๒.

๙ เทียบเคยี งระหว่างคัมภีรว์ สิ ทุ ธิมรรคกบั อรรถกถาธรรมบทแล้ว ภาษาด้อยกว่ามาก ผู้รู้หลายท่านจึงไม่ ปลงใจเชื่อว่า เป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์๑๐ ผู้วิจัยเห็นด้วยกับข้อสังเกตดังกล่าว เพราะบท ปณามคาถา ซ่ึงถือเป็นเสมือนคาปรารภการแต่งหนังสือโดยทั่วไป ตอนท้ายของบท พระพุทธโฆสา จารยก์ ็ใช้คาว่า จักกล่าวอรรถกถา อันพรรณนาอรรถแห่งพระธรรมบทน้ันด้วยภาษาอ่ืน โดยอรรถ ไม่ให้ เหลือเลย ละภาษานั้น และลาดับคาอันถึงพิสดารเกินเสีย ยกขึ้นสู่ภาษาอันเป็นแบบท่ี ไพเราะ อธิบายบทพยัญชนะแห่งคาถาทั้งหลายที่ท่านยังมิได้อธิบายไว้แล้วในอรรถกถานั้นให้ สน้ิ เชงิ นามาซึ่งปีติปราโมทย์แห่งใจ อิงอาศยั อรรถและธรรม แกน่ ักปราชญท์ งั้ หลาย๑๑ ซง่ึ ฟังไดว้ า่ อรรถกถาธรรมบทนี้ มีมาก่อนแล้ว พระพุทธโฆสาจารย์เพียงแต่ทาหน้าที่แปล จากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลีอีกทอดหน่ึง โดยขณะท่ีแปลน้ัน ท่านก็ได้อธิบายข้อความเพ่ิมเติมใน ส่วนทย่ี ังไม่ไดอ้ ธบิ ายเอาไว้ เพือ่ ให้เกดิ ความชัดเจน และสมบูรณ์ยง่ิ ข้ึน ๒.๑.๒ ความสาคญั ของธรรมบท ธรรมบท ถือเปน็ คมั ภรี ์ท่ีมีความสาคัญหลายประการ ประการแรก เป็นคัมภีร์ท่ีบันทึกหัวข้อธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าในรูปของร้อยกรอง ซ่ึงใช้ภาษาท่ีสั้น กระชับ และมีความหมายลึกซ้ึง แต่ก็สามารถเข้าใจได้โดยไม่ยาก แต่ละคาถา มี ใจความสมบูรณ์ในตัวเอง ทั้งยังครอบคลุมเน้ือหาหลักธรรมคาสอนที่เป็น หัวใจสาคัญของ พระพุทธศาสนาไว้อย่างครบถ้วน เหมาะสาหรับผู้ที่เร่ิมต้นศึกษาพระพุทธศาสนา และต้องการทราบ เนื้อหาคาสอนที่เป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาโดยภาพรวม แต่อาจไม่มีเวลาเพียงพอสาหรับศึกษา ค้นคว้าคัมภรี ์เลม่ หนา ๆ หรือมีเวลา แต่ข้อจากัดเร่ืองสานวนภาษา ก็สามารถเร่ิมด้วยการศึกษาธรรม บท ประการทส่ี อง บทธรรมเป็นพระพุทธพจน์ คือเป็นพระดารัสของพระพุทธเจ้า การได้อ่าน ทาให้ผู้อา่ นเกิดความรู้สกึ วา่ เหมือนได้นั่งอยู่ตรงพระพักตร์ของพระพุทธเจ้า และได้ดื่มด่ารสพระธรรม คาสอนจากพระโอษฐข์ องพระองค์โดยตรง นอกจากน้ี การศึกษาธรรมบท จะทาให้ผู้ศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจหลักธรรมคาสอนท่ีถูกต้อง นับตั้งแต่ความรู้พื้นฐานสาหรับการดารงชีวิตท่ัวไป กระท่ังถึง หลักปฏบิ ตั ิอันจะนาไปสคู่ วามรู้แจง้ เห็นจริงคาสั่งสอน และด้วยเหตุผลน้ีเองที่ทาให้ปราชญ์บางท่านได้ จัดคมั ภีร์ธรรมบทเขา้ ในกล่มุ ของคมั ภรี ค์ ลาสสิคเล่มหนง่ึ ของโลก ประการทีส่ าม มกี ารนาบทธรรมในคาถาธรรมบทไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง ท้ังในรูป ของการเทศนา ธรรมบรรยาย หรอื แมแ้ ต่นาไปเป็นปรัชญาขององค์กร สถาบันการศึกษา แสดงให้เห็น ถงึ อทิ ธพิ ลของคาถาธรรมบททีม่ ตี ่อชวี ิตและสงั คม ๑๐ ดู ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา,อ้างแล้ว, หน้า ๔. ในงานของ Kanai Lal Hazra, ‘Studies on Pali Commentaries ก็มีความเช่ือในลักษณะเช่นน้ี ดูรายละเอียด ใน Kanai Lal Hazra, ‘Studies on Pali Commentaries, (Delhi:D.K.Publishers Distributors (P) Ltd.,1991), p. 202. ๑๑ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๑/๗.

๑๐ ตวั อยา่ งบทธรรมที่มาจากคาถาธรรมบท และถูกนามาใช้ในสังคมไทย เป็นท่ีรู้จักกันอย่าง กวา้ งขวาง เช่น เวรย่อมระงบั ด้วยการไมจ่ องเวร๑๒ ปมาโท มจจฺ ุโน ปท๑๓ ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย๑๔ สุขา สงฺฆสสฺ สามคฺคี๑๕ ความสามคั คขี องหมูเ่ ป็นเหตุนาสขุ มาให้๑๖ ชฆิ จฉฺ า ปรมา โรคา๑๗ ความหิวเปน็ โรคอยา่ งยิ่ง๑๘ อาโรคฺยปรมา ลาภา๑๙ ความไม่มโี รคเป็นลาภอย่างยงิ่ ๒๐ วสิ ฺสาสปรมา ญาติ๒๑ ความคุน้ เคยเปน็ ญาตอิ ย่างย่งิ ๒๒ อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ๒๓ ตนน่ันแหละเป็นท่พี ึ่งของตน๒๔ นอกจากการนาไปใช้ในลักษณะดังกล่าว ยังมีการนาคาถาธรรมบทไปแต่งเป็นร้อยกรอง สานวนไทย เพื่อให้เกดิ อรรถรสทางดา้ นภาษา ผู้อา่ นเกิดความซาบซ้ึงเพ่ิมย่ิงขึ้น บทร้อยกรองเหล่าน้ัน มีทง้ั ถอดความโดยตรงตามตวั อักษร และเก็บใจความบางส่วนที่กินใจมาร้อยเรียงใหม่ ซ่ึงพบเห็นอย่าง แพร่หลาย๒๕ ในประเทศศรีลังกาถึงกับกาหนดให้สามเณรที่จะบวชเป็นพระต้องท่องจาคัมภีร์ธรรมบท ให้ได้คลอ่ งปากเสยี กอ่ น๒๖ อนึ่ง บางส่วนของคาถาธรรมบท ยังถูกนาไปใช้เป็นปรัชญาขององค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ซง่ึ ในท่ีน้ี รวมทั้งองคก์ รสงฆ์ด้วย เชน่ ๑๒ ข.ุ ธ.(ไทย) ๒๕/๕/๒๕. ๑๓ ข.ุ ธ.(บาลี) ๒๕/๒๑/๑๙. ๑๔ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๒๑/๓๑. ๑๕ ขุ.ธ.(บาล)ี ๒๕/๑๙๔/๕๑. ๑๖ ขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/๑๙๔/๙๓. ๑๗ ขุ.ธ.(บาล)ี ๒๕/๒๐๓/๕๒. ๑๘ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๒๐๒/๙๕. ๑๙ ขุ.ธ.(บาลี) ๒๕/๒๐๔/๕๓. ๒๐ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๒๐๔/๙๖. ๒๑ ขุ.ธ.(บาล)ี ๒๕/๒๐๔/๕๓. ๒๒ ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๒๐๔/๙๖. ๒๓ ขุ.ธ.(บาล)ี ๒๕/๑๖๐/๔๕. ๒๔ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๖๐/๘๒. ๒๕ ดูตัวอย่างในงานวิจัย ฌานิศ วงศ์สุวรรณ, “การศึกษาเร่ืองพุทธวจนะในธรรมบทของเสฐียรพงษ์ วรรณปก”, วทิ ยานิพนธ์อกั ษรศาสตร์มหาบัณฑิต, ภาควิชาภาษาไทย, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๖), หนา้ ๕-๗. ๒๖ Jotiya Dhirasekera, Encyclopaedia of Buddhism, (Sri Lanka: The Government of Sri Lanka,1979), p.488.

๑๑ อติโรจติ ปญญฺ าย สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ สาวโก๒๗ ใช้เป็นข้อความในตราแม่กองธรรมและ กองบาลสี นามหลวงของคณะสงฆ์ไทย อตตฺ าน ทมยนตฺ ิ ปณฺฑติ า๒๘ ใชเ้ ปน็ สภุ าษิตประจามหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ อตตฺ าน อปุ ม กตวฺ า๒๙ ใช้เปน็ สุภาษติ ประจามหาวิทยาลัยมหิดล โดยดัดแปลงคา เล็กนอ้ ย คอื เปลีย่ นกิรยิ า กตวฺ า เปน็ กเร กลายเป็นคาใหม่ว่า อตฺตาน อุปม กเร ซึ่งคานี้ ประเวศ วะสี ยืนยันว่ามาจากธรรมบท๓๐ สขุ า สงฆฺ สฺส สามคคฺ ี๓๑ใชเ้ ปน็ สุภาษิตประจาโรงเรียนเบญจมราชรงั สฤษฎ์ิ ๒.๑.๓ ธรรมบทกับอรรถกถาธรรมบท มขี ้อควรทาความเขา้ ใจเล็กนอ้ ยเม่ือกล่าวถึงธรรมบท เพราะมีความเข้าใจคลาดเคล่ือนอยู่ ความคลาดเคล่ือนดังกล่าว เกิดขึ้นจากใช้คาที่ไม่ระมัดระวัง กระท่ังกลายเป็นความเคยชิน สุดท้ายก็ คิดว่าเป็นเรื่องเดียวกัน ทานองเดียวกับเมื่อกล่าวถึงธรรมบท หลายท่าน โดยเฉพาะนักเรียนบาลี มักจะนึกถึงหนงั สือทใี่ ช้สาหรบั เรียนแปล-แต่ง ซงึ่ เปน็ ผลงานของพระพทุ ธโฆสาจารย์ แท้จริงแล้ว คัมภีร์ที่เป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ เป็นอรรถกถาธรรมบท ไม่ใช่ตัว ธรรมบท ธรรมบทเปน็ พระพุทธพจน์ จารึกอยู่ในคัมภีร์ธรรมบท เป็น ๑ ใน ๑๕ คัมภีร์ อยู่ในหมวด ขุททกนิกาย รปู แบบของเนื้อหาเป็นร้อยกรองล้วน ขณะท่ีอรรถกถาธรรมบท เป็นงานนิพนธ์ที่อธิบาย ขยายความธรรมบทอีกทอดหน่ึง ส่วนนี้เป็นงานของพระพุทธโฆสาจารย์ ลักษณะของบทประพันธ์จัด อยใู่ นประเภทวิมสิ สะ คือมีท้ังร้อยแก้ว และร้อยกรองผสมกัน อน่ึง มีข้อสังเกตเก่ียวกับธรรมบทกับอรรถกถาธรรมบทเพิ่มเติมคือ คาถาธรรมบท มี จานวน ๔๒๓ คาถา ตรงกันท้ังฉบับสิงหฬ พม่า อินเดีย และฉบับอ่ืน ๆ แต่ท้องนิทาน คือเร่ืองที่ท่าน ยกขน้ึ ประกอบในอรรถกถาธรรมบทหาตรงกันไม่ ฉบับของไทยมี ๓๐๒ เรื่อง ตรงกับฉบับสิงหฬ ส่วน ฉบับพมา่ มี ๓๐๕ เร่ือง เพราะในเร่อื งเดียวท่านแยกกล่าวสองเรอ่ื งกม็ ี๓๒ ๒๗ ข.ุ ธ.(บาลี) ๒๕/๕๙/๒๗. ๒๘ ขุ.ธ.(บาลี) ๒๕/๘๐/๓๑. ๒๙ ข.ุ ธ.(บาล)ี ๒๕/๑๓๐/๔๐. ๓๐ ประเวศ วะสี “คานยิ ม” ใน เสฐยี รพงษ์ วรรณปก, พทุ ธวจนะในธรรมบท,หนา้ (๙). ๓๑ ข.ุ ธ.(บาล)ี ๒๕/๑๙๔/๕๑. ๓๒ พระสุวมิ ลธรรมาจารย์, ผู้แปล,ธมฺมปทคาถา-แปล, (พระนคร: โรงพมิ พ์รงุ่ เรืองธรรม, ๒๕๑๓), หนา้ (ก)

๑๒ ๒.๑.๔ โครงสร้างพระไตรปิฎก โครงสร้างพระไตรปิฎกข้างล่างต่อไปนี้ เป็นมุ่งเน้นคัมภีร์ธรรมบท ในส่วนของวินัยปิฎก และสัตตนั ตปิฎกจึงไมไ่ ดแ้ สดงรายละเอียดไว้ ๑ ขุททกปาฐะ ๒ ธรรมบท พระวนิ ัยปฎิ ก ๓ อทุ าน ทีฆนิกาย ๔ อติ ิวตุ ตกะ ๕ สุตตนิบาต มชั ฌิมนกิ าย ๖วิมานวตั ถุ ๗ เปตวตั ถุ พระไตรปิฎก พระสตุ ตันตปฎิ ก สงั ยุตตนกิ าย ๘ เถรคาถา ๙ เถรีคาถา อังคตุ ตรนิกาย ๑๐ ชาดก ๑๑ นทิ เทส ขุททนิกาย ๑๒ ปฏสิ มั ภิทามรรค ๑๓ อปทาน พระอภธิ รรมปฎิ ก ๑๔ พุทธวงส์ ๑๕ จรยิ าปิฎก จากโครงสร้างดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า คัมภีร์ธรรมบท เป็นคัมภีร์ลาดับท่ี ๒ ของหมวด ขทุ ทนกิ าย

๑๓ ๒.๑.๕ การจัดหมวดหม่ใู นคมั ภีร์ธรรมบท การจัดหมวดหมใู่ นคัมภรี ธ์ รรมบท ยึดหัวข้อธรรมที่มีลักษณะเดียวกัน หรือตรงกันข้ามกัน เรียกว่า วรรค การตั้งช่ือวรรค ก็ถือเอาเน้ือหาสาระของธรรมน้ัน ๆ และเรื่องนั้น ๆ เป็นเกณฑ์ เช่น หมวดธรรมท่ีเป็นคกู่ นั มคี วามหมายตรงกันขา้ มกนั เปน็ ตน้ วา่ ดี-ชั่ว, จองเวร-ไม่จองเวร, สามัคคี-แตก สามคั ค,ี สาระ-อสาระ เป็นต้น จดั อย่ใู นกลุ่มเดียวกนั เรยี กว่า ยมกวรรค หมวดธรรมท่ีว่าด้วยเร่ืองความไม่ประมาท เรียกว่า อัปปมาทวรรค หมวดธรรมท่ีว่าด้วย เรอ่ื งจิต เรียกจิตตวรรค หมวดธรรมท่ีว่าด้วยเร่ืองดอกไม้ เรียกว่า ปุปผวรรค หมวดธรรมที่ว่าด้วยคน ทาความชว่ั ตกนรก เรยี กวา่ นิรยวรรค เป็นตน้ ในจานวนคาถา ๔๒๓ คาถา จัดเป็นหมวดหมู่ตามวรรคต่าง ๆ รวม ๒๖ วรรค แต่ละ วรรคมีคาถาประกอบเรอื่ งมากบา้ ง น้อยบ้างไม่เท่ากัน ดงั รายละเอียดต่อไปนี้๓๓ ชอ่ื วรรค จานวนเรอื่ ง จานวนคาถา ยมกวรรค ๑๔ ๒๐ อปั ปมาทวรรค ๙ ๑๒ จิตตวรรค ๙ ๑๑ ปปุ ผวรรค ๑๒ ๑๖ พาลวรรค ๑๕ ๑๖ ปณั ฑติ วรรค ๑๑ ๑๖ อรหันตวรรค ๑๐ ๑๔ สหสั สวรรค ๑๔ ๑๐ ปาปวรรค ๑๒ ๑๖ ทัณฑวรรค ๑๑ ๑๗ ชราวรรค ๙ ๑๑ อตั ตวรรค ๑๐ ๑๐ โลกวรรค ๑๑ ๑๒ พุทธวรรค ๙ ๑๘ สขุ วรรค ๘ ๑๒ ปิยวรรค ๘ ๑๒ โกธวรรค ๙ ๑๔ มลวรรค ๑๒ ๒๑ ธัมมฏั ฐวรรค ๑๐ ๑๗ มคั ควรรค ๑๒ ๑๗ ปกณิ ณกวรรค ๙ ๑๖ ๓๓ ขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/บทนา/(๒๔).

๑๔ ชื่อวรรค จานวนเรอ่ื ง จานวนคาถา นิรยวรรค ๙ ๑๔ นาควรรค ๘ ๑๔ ตณั หาวรรค ๑๒ ๒๖ ภกิ ขุวรรค ๑๒ ๒๓ พราหมณวรรค ๔๐ ๔๒ รวม ๒๖ วรรค ๓๐๕ เร่ือง ๔๒๓ คาถา ๒.๑.๖ รูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ในคัมภรี ์ธรรมบท ฉนั ท์ คอื การกาหนดจานวนพยางคใ์ นแต่ละบาทของคาถา ส่วนคาถาคือการวางครุลหุเป็น แบบต่าง ๆ ตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ส่วนฉันทลักษณ์ คือระเบียบว่าด้วยการประพันธ์บทร้อย กรอง๓๔ คาถาทปี่ รากฏในคมั ภีร์ธรรมบทมี ๒ ประเภท คือ๓๕ ๑. คาถามาตราพฤติ ในวุตโตทัยมี ๒๕ ประเภท แต่มีใช้ในคัมภีร์ธรรมบท ๓ ประเภท ได้แก่ เวตาลียฉันท์ (คาถาท่ี ๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๒๔,๔๔,๔๕,๘๐,๙๕,๑๔๕,๑๗๙,๑๘๐, ๒๓๕,๒๓๖,๒๓๗,๒๓๘,๒๔๐,๒๘๔,๒๘๕,๓๒๔,๓๓๔,๓๔๑,๓๔๒,๓๔๓,๓๔๔,๓๔๘,๓๔๙,๓๕๐,๓๖๒, ๓๖๓,๓๘๘) โอปจั ฉันทสกฉนั ท์ (คาถาที่ ๑๔๘, ๓๑๗) และอาปาตลิกาฉันท์ (คาถาท่ี ๓๗๑) ๒. คาถาวรรณพฤติมี ๘๓ ประเภท แตม่ ีใช้ในคัมภรี ์ธรรมบท ๑๕ ประเภท ได้แก่ ปัฏฐยา วัตรฉันท์ (๘ พยางค์), วิปุลาฉันท์ (๘ พยางค์), อุปชาติฉันท์ (๑๑ พยางค์), อินทรวิเชียรฉันท์ (๑๑ พยางค์), อเุ ปนทรวเิ ชยี รฉนั ท์ (๑๑ พยางค์), อนิ ทรวงศฉ์ นั ท์ (๑๒ พยางค์), วังสัฏฐฉันท์ (๑๒ พยางค์), กมลาฉันท์ (๑๒ พยางค์), ภุชังคัปปยาตฉันท์ (๑๒ พยางค์), ลลิตาฉันท์ (๑๒ พยางค์), วาโตมมีฉันท์ (๑๑ พยางค์), เวสสเทวีฉันท์ (๑๒ พยางค์), อุพภาสกฉันท์ (๑๒ พยางค์), สิริฉันท์ (๑๑ พยางค์), และ อาขยานกีฉันท์ (๑๑ พยางค์)๓๖ ๒.๒ การสืบคน้ รูปศัพท์ของคาวา่ “ธรรม” จากการสืบคน้ คาถาธรรมบท จานวน ๔๒๓ คาถา พบคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถา ต่าง ๆ จานวน ๔๙ คาถา และ ปรากฏรูปคาหลายลักษณะ คือ มีทั้งท่ีเป็นคาเดี่ยวและคาผสม โดย จาแนกเป็น เป็นคาสมาส คาสนธิ และคาทล่ี งปัจจัยในตัทธติ รวมทั้งส้ิน ๖๘ คา ๒.๒.๑ รปู ศัพทข์ องคาว่า “ธรรม” กลมุ่ ศัพท์เด่ียว รูปศัพท์ของคาว่า “ธรรม” ที่ปรากฏในคัมภีร์ธรรมบทกลุ่มน้ี ประกอบด้วยลักษณะทาง ไวยากรณ์ มวี ิภัตตเิ ป็นตน้ ดงั น้ี ๓๔ พระคันธสารภวิ งศ์, ผูแ้ ปล.,วุตโตทยมญั ชรี. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั ,๒๕๔๕), หนา้ (๑๗). ๓๕ พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม), งานวิจัยการศึกษาเชิงวิเคราะห์: พระคาถาธรรมบท. (กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๕), หน้า (๕๗). ๓๖ คาถาใดเป็นฉันทใ์ ด พงึ ดูรายละเอยี ดใน เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ (๕๗)-(๖๑).

๑๕ ลกั ษณะทางไวยากรณ์ รปู ศพั ท์ คาถาท่ี ประเภท ลงิ ค์ พจน์ วิภัตติ ธมมฺ า ธมโฺ ม ๑,๒,๑๐๙,๒๔๒,๒๗๙ นาม. ปุ. พหุ. ป. ธมมฺ านิ ธมมฺ ๕,๑๕๑,๒๖๑,๓๙๓ นาม. ปุ. เอก. ป. ธมฺเมน ๘๒ นาม. นปุ. พหุ. ท.ุ ธมมฺ สสฺ ธมฺมาน ๖ ๕ , ๘ ๗ , ๑ ๖ ๗ , ๑ ๖ ๘ , ๑ ๖ ๙ , นาม. ปุ. เอก. ทุ. ธมฺเม ธมเฺ มสุ ๑๗๖,๑๙๐,๒๕๙,๒๖๖,๓๖๓, ๓๖๔,๓๗๓,๓๙๒ ๒๕๗ นาม. ปุ. เอก ต. ๒๐,๒๕๗ นาม. ปุ. เอก. จตุ. ๒๗๓ นาม. ปุ. พหุ. ฉ. ๗๙,๘๖ นาม. ปุ. เอก. ส. ๓๕๓,๓๘๔ นาม. ปุ. พห.ุ ส. จากตาราง คาว่า ธมฺม เป็นได้ ๒ ลิงค์ คือ ปุงลิงค์ พบ ๓๐ คา และนปุงสกลิงค์ พบ ๑ คา ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ ๙ คร้ัง ทตุ ิยาวิภัตติ ๑๔ คา, ตติยาวิภัตติ ๑ คา, จตุตถีวิภัตติ ๒ คา, ฉฏั ฐวี ิภัตติ ๑ คา, สัตตมวี ภิ ตั ติ ๔ คา, เปน็ เอกพจน์ ๒๑ คา พหพุ จน์ ๙ คา และเปน็ คานามทั้งหมด ๒.๒.๒ รูปศพั ท์ของคาว่า “ธรรม” กลุ่มทเ่ี ปน็ ศพั ท์ผสม ลกั ษณะทางไวยากรณ์ รูปศพั ท์ คาถาท่ี ประเภท ลงิ ค์ พจน์ วิภัตติ ธมมฺ โิ ก ๘๔ ตทั ธติ ปุ. เอก. ป. อธมฺโม ๒๔๘ อธมเฺ มน ๘๔ สมาส ปุ. เอก ป. อนุธมมฺ จารี ๒๐ ธมมฺ จารี ๑๖๘,๑๖๙ สมาส ปุ. เอก ต. ธมฺมชีวิโน ๒๔ ธมมฺ ชีวิน ๑๖๔ นามกิตก์ ปุ. เอก. ป. สทธฺ มฺม ๓๘,๖๐ สทธฺ มมฺ า ๓๖๔ นามกติ ก์ ปุ. เอก. ป. ธมมฺ ปท ๔๔,๔๕,๑๐๒ สงฺขาตธมฺมาน ๗๐ สมาส ปุ. พหุ. จต.ุ ธมมฺ านวุ ตฺติโน ๘๖ ธมมฺ มตุ ฺตม ๑๑๕ สมาส ปุ. พห.ุ ฉ. ธมฺมวินิจฉฺ เยน ๑๔๔ สมาส ปุ. เอก. ทุ. สมาส ปุ. พห.ุ ป. สมาส ปุ. เอก. ท.ุ สมาส ปุ. พหุ. ฉ. สมาส ปุ. พห.ุ ป. สมาส ปุ. เอก. ท.ุ สมาส ปุ. เอก. ต.

๑๖ ลกั ษณะทางไวยากรณ์ รปู ศัพท์ คาถาท่ี ประเภท ลงิ ค์ พจน์ วภิ ัตติ สทธฺ มฺมสสฺ วน ๑๘๒ สมาส นป.ุ เอก ป. สทธฺ มมฺ เทสนา ๑๙๔ ธมมฺ ปีติรส ๒๐๕ สมาส ปุ. เอก. ป. ธมมฺ ฏโฺ ฐ ๒๕๖,๒๕๗ ธมมฺ ฏฐฺ ๒๑๗ สมาส ปุ. เอก. ท.ุ ธมมฺ ธโร ๒๕๙ ธมมฺ คตา ๒๙๗ สมาส ปุ. เอก. ป. ปาปธมฺมา ๓๐๗ ธมมฺ ทาน ๓๕๔ สมาส นป.ุ เอก. ทุ. ธมมฺ รโส ๓๕๔ ธมฺมรติ ๓๕๔ สมาส ปุ. เอก. ป. ธมฺมรโต ๓๖๔ ธมฺมาราโม ๓๖๔ สมาส ปุ. พห.ุ ป. สมาส ปุ. พห.ุ ป. สมาส นปุ. เอก. ป. สมาส ปุ. เอก. ป. สมาส ปุ. เอก. ป. สมาส ปุ. เอก. ป. สมาส ปุ. เอก. ป. จากตารางพบว่า เรียงหน้าคาอื่น ๑๘ คา เรียงหลังคาอื่น ๗ คา อยู่ระหว่างคาอื่น ๓ คา, ประกอบด้วยปฐมาวิภัตติ ๑๗ คา, ทุติยาวิภัตติ ๕ คา, ตติยาวิภัตติ ๒ คา, จตุตถีวิภัตติ ๑ คา, ฉฏั ฐีวภิ ตั ติ ๑, รปู เอกพจน์ ๒๑ คา พหุพจน์ ๗ คา, เป็นนามกิตก์ ๒ คา และเป็นศัพท์สมาส ๒๔ คา ศัพทต์ ทั ธติ ๑ คา ๒.๒.๓ รปู คาถาท่ีมคี าวา่ “ธรรม” ปรากฏอยู่ รูปศัพท์ของคาว่า “ธรรม” ท่ีปรากฏในคัมภีร์ธรรมบท มีหลายลักษณะ มีท้ังศัพท์เดียว โดด ๆ และมศี ัพทส์ นธิ มที ้ังรปู เอกพจน์ และพหูพจน์ มีทั้งที่เป็นนามศัพท์ และคุณศัพท์ แจกแจงตาม วภิ ตั ติตา่ ง ๆ เปน็ ปฐมาวภิ ัตติบา้ ง ทุตยิ าวภิ ตั ตบิ า้ ง ฉัฏฐีวภิ ัตติ สัตตมีวิภัตตบิ ้าง ผู้วิจัยคัดรูปคาถาเหล่าน้ันมาเพ่ือเป็นตัวอย่างประกอบการพิจารณา โดยได้ใส่ตัวเลข กากบั เพื่อสะดวกในการนับจานวนครั้งท่ีปรากฏในแตล่ ะคาถา ดงั น้ี ลาดบั คาถาที่ รูปคาถา๓๗ ๑ ๑ มโนปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า(๑) มโนเสฏฐฺ า มโนมยา มนสา เจ ปทุฏเฺ ฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต น ทุกฺขมเนวติ จกกฺ ว วหโต ปท. ๒ ๒ มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา(๒) มโนเสฏฐฺ า มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต น สุขมเนวติ จกฺกว วหโต ปท. ๓๗ ลาดับเลขท่ีปรากฏในรปู คาถา ระบุจานวนคาที่พบลาดับที่ ๑-๖๘

๑๗ ลาดบั คาถาที่ รูปคาถา ๓ ๕ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนตีธ กทุ าจน อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม(๓) สนนฺตโน. ๔ ๒๐ อปปฺ มฺปิ เจ สหิต ภาสมาโน ธมฺมสฺส(๔) โหติ อนธุ มมฺ จารี(๕) ราคญจฺ โทสญจฺ ปหาย โมห สมฺมปฺปชาโน สวุ มิ ุตตฺ จติ โฺ ต อนปุ าทิยาโน อธิ วา หุร วา น ภาควา สามญญฺ สฺส โหต.ุ ๕ ๒๔ อุฏฐฺ านวโต สตมี โต สุจกิ มมฺ สสฺ นสิ มฺมการโิ น สญฺญตสสฺ จ ธมฺมชีวโิ น(๖) อปฺปมตฺตสสฺ ยโสภวิ ฑฒฺ ติ. ๖ ๓๘ อนวฏฐฺ ติ จิตตฺ สฺส สทฺธมมฺ ํ(๗) อวิชานโต ปรปิ ฺลวปสาทสฺส ปญญฺ า น ปริปรู ติ. ๗ ๔๔ โก อิม ปฐวึ วิเชสสฺ ติ ยมโลกญฺจ อมิ สเทวก โก ธมมฺ ปทํ(๘) สเุ ทสติ กสุ โล ปปุ ผฺ มิว ปเจสฺสติ. ๘ ๔๕ เสโข อมิ ปฐวึ วเิ ชสฺสติ ยมโลกญจฺ อมิ สเทวก เสโข ธมมฺ ปทํ(๙) สเุ ทสิต กุสโล ปุปผฺ มิว ปเจสสฺ ติ. ๙ ๖๐ ทีฆา ชาครโต รตฺติ ทฆี สนตฺ สสฺ โยชน ทโี ฆ พาลาน สสาโร สทฺธมฺมํ(๑๐) อวิชานต. ๑๐ ๖๔ ยาวชวี มฺปิ เจ พาโล ปณฑฺ ิต ปยิรุปาสติ น โน ธมมฺ ํ(๑๑) วชิ านาติ ทพิ ฺพิ สปู รส ยถา. ๑๑ ๖๕ มหุ ตุ ฺตมฺปิ เจ วิญญฺ ู ปณฑฺ ิต ปยริ ุปาสติ ขิปปฺ ํ ธมมฺ (๑๒) วชิ านาติ ชิวหฺ า สูปรส ยถา. ๑๒ ๗๐ มาเส มาเส กสุ คเฺ คน พาโล ภญุ เฺ ชถ โภชน น โส สงฺขาตธมมฺ าน(๑๓) กล อคฺฆติ โสฬสึ. ๑๓ ๗๙ ธมมฺ ปตี ิ(๑๔) สุข เสติ วิปปฺ สนเฺ นน เจตสา อรยิ ปฺปเวทเิ ต ธมเฺ ม(๑๕) สทา รมติ ปณฺฑิโต. ๑๔ ๘๒ ยถาปิ รหโท คมฺภโี ร วิปปฺ สนฺโน อนาวิโล เอว ธมฺมานิ(๑๖) สุตฺวาน วปิ ฺปสีทนฺติ ปณฺฑติ า.

๑๘ ลาดับ คาถาท่ี รปู คาถา ๑๕ ๘๔ น อตตฺ เหตุ น ปรสสฺ เหตุ น ปุตตฺ มิจเฺ ฉ น ธน น รฏฺฐ น อิจเฺ ฉยฺย อธมฺเมน(๑๗) สมทิ ธฺ ิมตฺตโน ส สีลวา ปญญฺ วา ธมฺมิโก(๑๘) สยิ า. ๑๖ ๘๖ เย จ โข สมมฺ ทกขฺ าเต ธมฺเม(๑๙) ธมมฺ านุวตฺติโน(๒๐) เต ชนา ปารเมสฺสนตฺ ิ มจจฺ ุเธยยฺ สุทตุ ตฺ ร. ๑๗ ๘๗ กณหฺ ธมมฺ (๒๑) วปิ ปฺ หาย สุกกฺ ภาเวถ ปณฺฑโิ ต โอกา อโนกมาคมฺม วเิ วเก ยตถฺ ทูรม. ๑๘ ๑๐๒ โย จ คาถา สต ภาเส อนตถฺ ปทสญฺหติ า เอก ธมฺมปท(๒๒) เสยโฺ ย ย สตุ ฺวา อุปสมฺมติ. ๑๙ ๑๐๙ อภวิ าทนสีลสิ สฺ นจิ จฺ วุฑฺฒาปจายโิ น จตตฺ าโร ธมมฺ า(๒๓) วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สขุ พล. ๒๐ ๑๑๕ โย จ วสฺสสต ชเี ว อปสฺส ธมมฺ มุตตฺ ม(๒๔) เอกาห ชวี ติ เสยโฺ ย ปสสฺ โต ธมฺมมุตฺตม. (๒๕) ๒๑ ๑๔๔ อสสฺ ยถา ภโทร กสานวิ ฏิ ฺโฐ อาตาปโิ น สเวคโิ น ภวาถ สทฺธาย สเี ลน จ วีริเยน จ สมาธนิ า ธมมฺ วนิ ิจฺฉเยน(๒๖) จ สมฺปนฺนวชิ ฺชาจรณา ปตสิ สฺ ตา ชหิสฺสถ ทุกฺขมิท อนปปฺ ก. ๒๒ ๑๕๑ ชรี นฺติ เว ราชรถา สจุ ิตฺตา อโถ สรีรมฺปิ ชร อุปเติ สตญฺจ ธมฺโม(๒๗) น ชร อุเปติ สนฺโต หเว สพฺภิ ปเวทยนฺติ. ๒๓ ๑๖๘ อุตฺตฏิ ฺเฐ นปฺปมชฺเชยฺย ธมฺม(๒๘) สุจรติ จเร ธมมฺ จารี(๒๙) สขุ เสติ อสฺมึ โลเก ปรมหฺ ิ จ. ๒๔ ๑๖๙ ธมฺม(๓๐) จเร สุจริต น น ทุจฺจรติ จเร. ธมฺมจารี(๓๑) สุข เสติ อสฺมึ โลเก ปรมหฺ ิ จ. ๒๕ ๑๗๖ เอก ธมมฺ (๓๒) อตีตสสฺ มสุ าวาทิสสฺ ชนตฺ ุโน วิตณิ ณฺ ปรโลกสฺส นตถฺ ิ ปาปํ การยิ . ๒๖ ๑๘๒ กิจโฺ ฉ มนสุ สฺ ปฏิลาโภ กจิ ฉฺ มจจฺ าน ชีวิต กิจฉฺ สทธฺ มมฺ สฺสวน(๓๓) กจิ โฺ ฉ พทุ ธฺ านมปุ ปฺ าโท.

๑๙ ลาดับ คาถาที่ รูปคาถา ๒๗ ๑๙๐ โย จ พุทธฺ ญฺจ ธมมฺ ญฺจ(๓๔) สงฆฺ ญจฺ สรณ คโต จตตฺ าริ อรยิ สจฺจานิ สมมฺ ปฺปญญฺ าย ปสสฺ ติ. ๒๘ ๑๙๔ สโุ ข พทุ ฺธานมุปฺปาโท สุขา สทฺธมมฺ เทสนา(๓๕) สขุ า สฆสสฺ สามคคฺ ี สมคคฺ าน ตโป สุโข. ๒๙ ๒๐๕ ปวิเวกรส ปิตฺวา รส อปุ สมสสฺ จ นิททฺ โร โหติ นิปฺปาโป ธมฺมปีตริ ส(๓๖) ปิว. ๓๐ ๒๑๗ สีลทสสฺ นสมฺปนนฺ ธมมฺ ฏฺฐ(๓๗) สจจฺ วาทิน อตฺตโน กมฺมกุพฺพาน ตญชฺ โน กุรเุ ต ปิย. ๓๑ ๒๔๒ มลติ ฺถิยา ทุจฺจรติ มจฺเฉร ททโต มล มลา เว ปาปกา ธมมฺ า(๓๘) อสมฺ ึ โลเก ปรมฺหิ จ. ๓๒ ๒๔๘ เอว โภ ปุริส ชานาหิ ปาปธมฺมา(๓๙) อสญญฺ ตา มา ต โลโภ อธมโฺ ม(๔๐) จ จริ ทกุ ขฺ าย รนธฺ ยุ. ๓๓ ๒๕๖ น เตน โหติ ธมมฺ ฏฺโฐ(๔๑) เยนตถฺ สหสา นเย โย จ อตฺถ อนตฺถญจฺ อุโภ นิจฺเฉยยฺ ปณฺฑิโต. ๓๔ ๒๕๗ อสาหเสน ธมเฺ มน(๔๒) สเมน นยตี ปเร ธมมฺ สฺส(๔๓)คตุ ฺโต เมธาวี ธมฺมฏโฺ ฐติ(๔๔)ปวุจจฺ ติ น ตาวตา ธมฺมธโร(๔๕) ยาวตา พหุ ภาสต.ิ ๓๕ ๒๕๙ โย จ อปปฺ มปฺ ิ สตุ ฺวาน ธมฺม(๔๖) กาเยน ปสสฺ ติ ส เว ธมมฺ ธโร(๔๗) โหติ โย ธมฺม(๔๘) นปฺปมชฺชติ. ๓๖ ๒๖๑ ยมฺหิ สจฺจญจฺ ธมฺโม(๔๙) จ อหสึ า สญญฺ โม ทโม ส เว วนตฺ มโล ธโี ร โส เถโรติ ปวุจจฺ ติ. ๓๗ ๒๖๖ น เตน ภิกขฺ ุ โส โหติ ยาวตา ภิกขฺ เต ปเร วิสสฺ ธมมฺ (๕๐) สมาทาย ภิกขฺ ุ โหติ น ตาวตา. ๓๘ ๒๗๓ มคฺคานฏฐฺ งคฺ ิโก เสฏฺโฐ สจฺจาน จตโุ ร ปทา วิราโค เสฏฺโฐ ธมมฺ าน(๕๑) ทปิ ทานญจฺ จกขฺ ุมา. ๓๙ ๒๗๙ สพฺเพ ธมมฺ า(๕๒)อนตฺตาติ ยทา ปญญฺ าย ปสสฺ ติ อถ นพิ พฺ นิ ฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทธฺ ยิ า. ๔๐ ๒๙๗ สปุ ฺปพุทธฺ ปพุชฌฺ นตฺ ิ สทา โคตมสาวกา เยส ทวิ า จ รตโฺ ต จ นจิ จฺ ธมมฺ คตา(๕๓) สติ. ๔๑ ๓๐๗ กาสาวกณฺฐา พหโว ปาปธมฺมา(๕๔) อสญฺญตา ปาปา ปาเปหิ กมฺเมหิ นิรยนเฺ ต อุปปชฺชเร.

๒๐ ลาดับ คาถาที่ รูปคาถา ๔๒ ๓๕๓ สพฺพาภภิ ู สพฺพวิทูหมสฺมิ สพฺเพสุ ธมเฺ มสุ(๕๕) อนปู ลติ ฺโต สพฺพญชฺ โห ตณหฺ กฺขเย วิมุตโฺ ต ๔๓ ๓๕๔ สย อภิญฺญาย กมุทฺทเิ สยฺย. สพฺพทาน ธมฺมทาน(๕๖) ชนิ าติ สพพฺ รส ธมมฺ รโส(๕๗) ชินาติ สพพฺ รตึ ธมฺมรติ(๕๘) ชินาติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกขฺ ชนิ าติ. ๔๔ ๓๖๓ โย มขุ สญญฺ โต ภกิ ฺขุ มนตฺ ภาณี อนุทธฺ โต อตถฺ ธมฺมญฺจ(๕๙) ทเี ปติ มธรุ ตสสฺ ภาสติ . ๔๕ ๓๖๔ ธมมฺ าราโม(๖๐) ธมมฺ รโต(๖๑) ธมฺม(๖๒) อนุวิจนิ ตฺ ย ธมมฺ (๖๓) อนสุ ฺสร ภกิ ฺขุ สทฺธมฺมา(๖๔) น ปริหายติ. ๔๖ ๓๗๓ สุญญฺ าคาร ปวิฏฐฺ สฺส สนตฺ จิตตฺ สฺส ภกิ ขฺ โุ น อมานสุ ี รตี โหติ สมมฺ า ธมฺม(๖๕) วปิ สฺสโต. ๔๗ ๓๘๔ ยทา ทฺวเยสุ ธมฺเมสุ(๖๖) ปารคู โหติ พรฺ าหมฺ โณ อถสฺส สพฺเพ สโยคา อตถฺ คจฺฉนตฺ ิ ชานโต. ๔๘ ๓๙๒ ยมฺหา ธมมฺ (๖๗) วชิ าเนยฺย สมฺมาสมฺพทุ ฺธเทสติ สกกฺ จจฺ ต นมสเฺ สยฺย อคฺคหิ ุตตฺ ว พรฺ าหฺมโณ. ๔๙ ๓๙๓ น ชฏาหิ น โคตฺเตหิ น ชจฺจา โหติ พรฺ าหมฺ โณ ยมหฺ ิ สจจฺ ญจฺ ธมฺโม(๖๘) จ โส สจุ ี โส จ พฺราหมฺ โณ. จากตารางสรปุ ไดด้ ังน้ี คาถาธรรมบท ๔๒๓ คาถา มี คาถาท่ีมีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่จานวน ๔๙ คาถา นบั เปน็ จานวนครั้งที่ปรากฏ ๖๘ ครั้ง ดงั นี้ คาถาธรรมบทท่ีมีคาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ประกอบด้วยคาถาที่ ๑, ๒, ๕, ๒๐, ๒๔, ๓๘,๔๔,๔๕,๖๐,๖๔,๖๕,๗๐,๗๙,๘๒,๘๔,๘๖,๘๗,๑๐๒,๑๐๙,๑๑๕,๑๔๔,๑๕๑,๑๖๘, ๑๖๙, ๑๗๖, ๑๘๒,๑๙๐,๑๙๔,๒๐๕,๒๑๗,๒๔๒,๒๔๘,๒๕๖,๒๕๗,๒๕๙,๒๖๑,๒๖๖,๒๗๓,๒๗๙, ๒๙๗, ๓๐๗, ๓๕๓,๓๕๔,๓๖๓,๓๖๔,๓๗๓,๓๘๔,๓๙๒,๓๙๓ ในบรรดาคาถาเหลา่ น้ี จาแนกรายละเอียดได้ดังนี้ ๑. คาถาที่มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏ เพียงคร้ังเดียว ประกอบด้วยคาถาท่ี ๑, ๒, ๕, ๒๔, ๓๘,๔๔,๔๕,๖๐,๖๔,๖๕,๗๐,๘๒,๘๗,๑๐๒,๑๐๙,๑๔๔,๑๕๑,๑๗๖,๑๘๒,๑๙๐, ๑๙๔, ๒๐๕, ๒๑๗, ๒๔๒,๒๕๖,๒๖๑,๒๖๖,๒๗๓,๒๗๙,๒๙๗,๓๐๗,๓๕๓,๓๖๓,๓๗๓,๓๘๔,๓๙๒,๓๙๓ ๒.คาถาท่ีมีคาว่า “ธรรม” ปรากฏ ๒ คร้ัง ประกอบด้วยคาถาที่ ๒๐, ๗๙, ๘๔, ๘๖, ๑๑๕,๑๖๘,๑๖๙,๒๔๘,๒๕๗, ๓. คาถาทมี่ คี าวา่ “ธรรม” ปรากฏ ๓ ครงั้ มี ๑ คาถา ไดแ้ กค่ าถาที่ ๓๕๔

๒๑ ๔. คาถาทมี่ คี าว่า “ธรรม” ปรากฏ ๔ ครั้ง มี ๑ คาถา ไดแ้ กค่ าถาที่ ๒๕๙ ๕. คาถาที่มีคาว่า “ธรรม” ปรากฏ ๕ ครงั้ มี ๑ คาถา ได้แกค่ าถาท่ี ๓๖๔ ๒.๓ การสืบคน้ ความหมายคาวา่ “ธรรม” ในบริบทอ่ืน ๒.๓.๑ ความหมายตามนยั สันสกฤต คาว่า ธรรม รูปสันสกฤตเขียนว่า ธรฺม๓๘ มาจาก ธฺฤ ธาตุ ในความหมายว่า ทรงไว้๓๙ หมายถึง การทรงไว้สูงสุดของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง หรือกฎแห่งความเป็นอยู่ภายในของส่ิงน้ัน เพราะมีวิสัย สามารถท่ีจะทรงโลก หรือทรงประชาชนไว้แยก ๆ กันตามสถานะของตน ๆ แต่ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนธรรม ธรรมย่อมทาลายผูน้ ้ัน๔๐ ธรรม เดิมหมายเอาเพียงแค่กฏเกณฑ์จักรวาล ต่อมาขยายความหมายรวมถึงกฎเกณฑ์ ศีลธรรมของมนุษย์ด้วย๔๑ เช่น ในไตตฺติรียอารัณยกะ อธิบายธรรมในฐานะเป็นพื้นฐานแห่งจักรวาล ท้ังปวง และโดยอาศัยธรรมนี้ย่อมสามารถกาจัดความชั่วทั้งปวงไปได้ ธรรมจึงเป็นความดีสูงสุด๔๒ ใน ไวเศษิกสูตร ระบุว่า “สิ่งท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านวัตถุและความดีทางด้านจิตใจ”๔๓ ในคัมภีร์ อปุ นษิ ทั ระบถุ งึ ความสาคัญว่า “ไมม่ ีอะไรสงู ส่งไปกวา่ ธรมฺ ” ๔๔ ธรรม ยังใช้ในความหมายแตกต่างกันไปตามบริบท เช่น บางบริบทใช้ในความหมาย ๔ ประการ คือ ธรรมะ อัตถะ กามะ และโมกษะ๔๕ บางคร้ังก็ใช้ในความเดียวกับคาว่า อาตมัน หรือ พรหมัน๔๖ ในฐานะเป็นปฐมเหตุ คือ เป็นทั้งผู้สร้าง ผู้ทรงไว้ และทาลายสรรพส่ิง๔๗ บางครั้งก็หมาย เอาความจริง (สตฺ,สตยฺ มฺ) ๓๘ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต, (กรงุ เทพมหานคร: มหามกุฏราชวทิ ยาลยั , ๒๕๓๗), หนา้ ๓๘๑. ๓๙ จานงค์ ทองประเสริฐ, ผู้แปล.บ่อเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย เล่ม ๑ ภาค ๑-๔, (กรุงเทพมหานคร: ราชบณั ฑิตยสถาน จดั พิมพ์, ๒๕๔๐), หนา้ ๒๒๔. ๔๐ กรุณา-เรอื งอไุ ร กศุ ลาสยั , ภารตวิทยา, (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพศ์ ยาม,๒๕๕๐), หน้า ๘๐. ๔๑ จานงค์ ทองประเสริฐ,ผู้แปล. บ่อเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย เล่ม ๑ ภาค ๑-๔,หน้า ๑๑-๑๒. (อ้าง ฤคเวท, ๖:๗๐ และ ฤคเวท, ๕:๘๕) ๔๒ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๒๒๔. (อ้าง ไตตตฺ ิรยี อารณั ยกะ, ๑๐:๗๙) ๔๓ เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๒๒๕. (อา้ ง ไวเศษิกสูตร, ๘: ๑๕) ๔๔ S.Radhakrishnan, The Dhammapada. (Oxford: Oxford University Press, 1996), p.41. ๔๕ ดูแนวคิดเร่ือง ปุรุษารฺถะ ซึ่งแสดงจุดมุ่งหมาย ๔ ประการของมนุษย์ใน มนูสฺมฺฤติ, ๒:๒๒๔, ยาชฺญวัลกยสฺมติ, ๒:๒:๒๑, วาตสยายนะ, กามศาสตร์ ๑:๑:๑;๑:๒:๑;๑๔,๔๙ และ รามายณะ, ๒:๒๑.๕๗-๕๘, ๓.๙.๓๐ ใน จานงค์ ทองประเสริฐ, ผ้แู ปล, บ่อเกดิ ลัทธิประเพณอี นิ เดีย เล่ม ๑ ภาค ๑-๔, หนา้ ๒๑๕-๒๑๙. ๔๖ S. Radhakrishnan, The Dhammapada, p.41. ๔๗ พระมหาพุทธรักษ์ ปราบนอก, “การศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องพรหมในคัมภีร์อุปนิษัทและ คัมภีร์สตุ ตันปฎิ ก”, วิทยานพิ นธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๐),หน้า ๕๑.

๒๒ ๒.๓.๒ ความหมายตามนยั บาลี รปู ศพั ท์บาลี คาวา่ ธรรม มาจาก ธรฺ๔๘ หรือ ธาร ธาตุ๔๙ ในความทรงไว้ มีรูปวิเคราะห์ว่า อตตฺ โน สภาว ธาเรตตี ิ ธมโฺ ม ธรรมชาติท่ีทรงสภาพตนเองไว้ ชื่อว่า ธรรม, ธรติ สพฺพนฺติ ธมฺม กรรม ทที่ รงไว้ซ่งึ ความดีทุกอยา่ ง ชือ่ ว่า ธรรม๕๐ ในปทรปู สทิ ธแิ สดงรปู วิเคราะห์ว่า อปาเยสฺวปตมาเน อธิคตมคฺคาทิเก สตฺเต ธาเรติ ธรติ เตนาติ วา, สลกฺขณ ธาเรติ ปจฺจเยหิ ธรียตีติ วา ธมฺโม ธรรมเคร่ืองป้องกันสัตว์ผู้บรรลุมรรคเป็นต้น ไม่ให้ตกไปในอบาย หรือธรรมที่ทรงไว้ซ่ึงลักษณะของตน หรือธรรมที่ถูกปัจจัยทรงไว้ ชื่อว่า ธรรม๕๑ ธรตีติ ธมโฺ ม สภาพทที่ รงไว้ ชอื่ วา่ ธรรม๕๒ ในโมคคัลลานะแสดงรูปวิเคราะห์ว่า อตฺตาน ธาเรนฺเต อปาเย วฏฺฏทุกฺเข จ อปตมาเน กตวฺ า ธาเรตตี ิ ธมโฺ ม, ปริยตยฺ าทิ ธรรมท่ีทรงตน (ผมู้ ีธรรม) ไว้ไม่ใหต้ กไปในอบายและทกุ ข์ในวัฏฏะ ชอ่ื วา่ ธรรม ได้แก่ปริยตั ิธรรม เปน็ ต้น๕๓ ในสทั ทนตี ิแสดงรปู วเิ คราะห์วา่ ธมฺโมติ อเนกวิเธสุ โลกตุ ตฺ โร อุปปฺ าทโิ ต สจฉฺ กิ โต จ, จตูสุ อปาเยสุ สสาเร วา สตฺเต อปตมาเน ธาเรตีติ ธมฺโม. อถ วา โสตาปนฺนาทีหิ อริเยหิ ธาริยติ น ปุถุชฺชเนหีติ ธมฺโม. จตูภูมิโก ปน สกลกฺขณ ธาเรตีติ ธมฺโม, กกฺขฬตฺตาทินา ผุสนาทินา สนฺติอาทินา สกสกภาเวน ปณฺฑิเตหิ ธาริยติ สลฺลกฺขียตีติปิ ธมฺโม. เตปิฏโก ปน ปาฬิธมฺโม, สกตฺถปรตฺถาทิเภเท อตฺเถ ธาเรตีติ ธมฺโม. เกจิ ตุ วทิ ู “ปาปเก อกุสเล ธมเฺ ม ธุนาติ กมฺปติ วทิ ฺธเสตีติ ธมฺโม คาว่า “ธรรม” หมายถึงโลกุตตรธรรมที่เกิดข้ึน และทาให้แจ้งในธรรมมีอเนกประการ มีวิเคราะห์ว่า ธรรมท่ีทรงสัตว์ ไวไ้ มใ่ ห้ตกไปในอบาย ๔ หรอื ในสงสาร ชือ่ ว่า ธรรม, ธรรมท่ีพระอริยบุคคลมีพระโสดาบันเป็นต้นทรง ไว้ มิใช่ปุถชุ นทรงไว้ ช่ือวา่ ธรรม, ส่วนธรรมทมี่ อี ย่ใู นภูมิ ๔ ซึ่งทรงไว้ซึง่ ลกั ษณะของตน ก็ชื่อว่า ธรรม, ธรรมที่บัณฑิตสังเกตรู้ได้โดยมีสภาพของตน ๆ เป็นต้นว่า หยาบกระด้าง กระทบสัมผัส และสงบ ช่ือ ว่า ธรรม, ส่วนพระบาลีคือพระไตรปิฎก มีวิเคราะห์ว่า ธรรมที่รักษาไว้ซ่ึงพระพุทธพจน์, ธรรมทรงไว้ ซึ่งประโยชน์ต่างกัน มีประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน เป็นต้น ช่ือว่า ธรรม, ผู้รู้บางท่านกล่าวว่า ธรรมทกี่ าจัดบาปอกุศล ชอ่ื วา่ ธรรม๕๔ จะเห็นได้ว่า ธรรมมีความหมายแตกต่างกันออกไปตามบริบท ปราชญ์ท้ังหลายจึง พยายามประมวลความหมายเหลา่ นน้ั มาไว้ เพอื่ สะดวกต่อการศึกษา เชน่ ๔๘ พระมหาปราโมทย์ ปโมทิโต, พจนานุกรมธาตุภาษาบาลี, (กรุงเทพมหานคร: เอกพิมพ์ไทย จากัด ,๒๕๔๑), หนา้ ๑๐๘. ๔๙ หลวงเทพดรณุ านศุ ิษฏ์ (ทวี ธรมธชั ป.๙), ธาตุปฺปทปี กิ า, (กรุงเทพมหานคร: มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย , ๒๕๒๘), หนา้ ๒๑๑. ๕๐ พระมหาสมปอง มุทิโต, คัมภีร์อภิธานวรรณนา, (กรุงเทพมหานคร: ประยูรวงศ์พร้ินท์ติ้ง จากัด, ๒๕๔๗), หน้า ๑๓๖. ๕๑ เรอื่ งเดยี วกัน, หน้า ๑๓๖. ๕๒ เรอ่ื งเดียวกัน, หน้า ๑๕๐. ๕๓ เร่อื งเดยี วกัน, หนา้ ๑๓๖. ๕๔ อ้างแล้ว.

๒๓ ในคมั ภีร์ธาตปุ ปฺ ทปี ิกา ประมวลความของคาว่า “ธรรม” ไว้ ๑๑ ประการ ดังนี้๕๕ ๑. สภาพ, ธรรมดา, ความเป็นเอง, ดังบาลีว่า กุสลา ธมฺมา, อกุสลา ธมฺมา, อพฺยากตา ธมฺมา ๒. ปัญญา ความรอบรู้ ดงั บาลีว่า สจฺจ ธมฺโม ธติ ิ จาโค ๓. บญุ , กศุ ล ดงั บาลวี า่ น หิ ธมฺโม อธมโฺ ม จ ๔. บัญญัติ, การแตง่ ตั้ง ดังบาลวี ่า ปญฺญตตฺ ธิ มฺมา นิรตุ ตฺ ธิ มฺมา ๕. อาบัติ คอื โทษสาหรบั ลงแกภ่ ิกษุ ดงั บาลีวา่ ปาราชกิ า ธมฺมา, สงฺฆาทเิ สสา ธมฺมา ๖. พระปรยิ ัติธรรม ดงั บาลวี า่ อิธ ภกิ ฺขุ ธมมฺ ชานาติ สุตตฺ เคยฺย... ๗. ใช่สตั ว์ใช่บุคคล คือปรมัตถ์ ดังบาลวี ่า ตสมฺ ึ โข ปน สมเย ธมมฺ า โหนฺติ ๘. วิการ คือ ความเปลย่ี นแปลง ดังบาลวี า่ ชาติธมฺมา ชราธมฺมา มรณธมมฺ า ๙. คุณ, ความดี ดังบาลีว่า ฉนนฺ พทุ ธฺ ธมฺมาน ๑๐. ปจั จัย, เหตุ ดังบาลีวา่ เหตมุ หฺ ิ ญาณ ธมมฺ ปฏสิ มภฺ ทิ า ๑๑. ส่งิ ทเ่ี กิดแตเ่ หตุ ดงั บาลีวา่ ฐิตาว สา ธมฺมธาตุ ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต ได้ประมวลความหมายของคาว่า “ธรรม” จาก คัมภีร์ต่าง ๆ ๑๔ ความหมาย ดงั ต่อไปน้ี๕๖ ๑. สภาวะ (ความเปน็ เอง,ธรรมดา) ๒. ปรยิ ตตฺ ิ (บาลพี ระไตรปฎิ ก) ๓. ปญฺญา (ญาณ) ๔. ญาย (ยตุ ิธรรม,ความถูกตอ้ ง,หรือสมั มาปฏปิ ทามีมรรคเป็นต้น) ๕. สจจฺ ๖. ปกติ ๗. ปญุ ญฺ ๘. เญยฺย (วัตถุอันจะพึงรู้ ๕ อย่าง คือ สังขาร วกิ าร ลักษณะ นิพพาน บญั ญัต)ิ ๙. คณุ ๑๐. อาจาร ๑๑. สมาธิ ๑๒. นสิ สฺ ตฺตา (ความไม่เปน็ สตั วไ์ มเ่ ป็นบคุ คล) ๑๓. อาปตฺติ (อาบัตมิ ีปาราชิกเป็นต้น) ๑๔. การณาทิ (เหตเุ ป็นตน้ ) ๕๕ หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธชั ป.๙), ธาตปุ ฺปทีปกิ า,หน้า ๒๑๑-๒๑๒. ๕๖ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ, ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต, (กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๗), หนา้ ๓๘๑.

๒๔ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้ ประมวลความหมายของคาว่า “ธรรม” จากคัมภีร์ต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนาไว้ ๑๑ ความหมาย ดงั นี้๕๗ ๑. คาสอนของพระพทุ ธเจา้ (Doctrine, the Teachings of the Buddha) ๒. ธรรมชาติ หรอื กฎของธรรมชาติ (the Norm, the Law, Nature) ๓. สัจจะ หรือความจรงิ สูงสุด (the Truth, Ultimate Reality) ๔. พระนพิ พาน หรอื โลกตุ ตรธรรม (the Superamundane, Niravana) ๕. สงิ่ ท่ีเปน็ คณุ สมบัติ หรือคุณภาพของชวี ิต เชน่ ความถูกตอ้ ง คณุ ธรรม ศีลธรรม ความดี งาม เป็นตน้ (righteousness, virtue, morality, good, conduct, principle, rule, duty) ๖. ลัทธิธรรมเนียม ศาสนา กฎ บรรทัฏฐาน หน้าที่ หลักการ (tradition, practice, principle, rule, duty) ๗. ความยุตธิ รรม หรอื ความเป็นธรรม (justice, impartiality) ๘. ส่ิง หรอื ปรากฏการณ์ (thing, phenomenon) ๙. อารมณ์ของจิต, ส่งิ ท่รี บั ร้ไู ดด้ ้วยจิต (a cognizable object, mind-object, idea) ๑๐. เจตสิก, พฤติกรรมทางจติ (mental state, mental factor, mental activities) ๑๑. เง่อื นไข หรือความเปน็ เหตุเปน็ ผล (condition, cause, causal antecedent) ในดุษฎีนิพนธ์เรื่อง Setting The Three Jewels: The Complex Culture of Buddhism At The Ajanta Caves ของ Richard Scott Cohen ได้อ้างถึงความหมายของคาว่า “ธรรม” จากงานนพิ นธ์ชื่อ Vyâkhyâyukti ของทา่ นวสุพนั ธุ ๑๐ ประการ ดงั นี้๕๘ ๑. ภาวะแหง่ ความมอี ยู่ (element of existence) ๒. มรรคา (The Path) ๓. นิพพาน (Nirvana) ๔. วัตถุธาตุ (a non-sensuous element) ๕. คณุ ธรรม (virtue) ๖. ชวี ิต (life) ๗. หลกั ธรรมคาสอน (doctrine) ๘. คณุ สมบัติของสิง่ ท่ดี ารงอยู่ (constant becoming) ๙. ขอ้ บัญญตั ทิ างศาสนา (religious vow) ๑๐.กฎเกณฑข์ องโลก (worldly law) ๕๗ พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, หนา้ ๓๒๙. ๕๘ Richard Scott Cohen, Setting The Three Jewels: The Complex Culture of Buddhism At The Ajanta Caves, (The University of Michigan,1995), p.194.

๒๕ ในหนังสือชื่อ The Central Conception of Buddhism and The Meaning of the Word ‘Dharma’ ของ TH. Stcherbatsky ได้ประมวลสรุปความหมายของคาว่า “ธรรม” ในบริบท ของสานกั สรวาสตวิ าทนิ ไว้ ๙ ประการ ดังน้ี๕๙ ๑. ความเปน็ ธรรมดาของสรรพสงิ่ (dharmatâ) ๒. ความว่างจากตวั ตน (nairâtmya) ๓. ความดารงอย่ชู ั่วขณะหน่งึ หรอื ภาวะทไ่ี มม่ ีในระหว่าง (kşasnikatva) ๔. สภาวะที่เกย่ี วข้อง หรอื ร่วมกบั สง่ิ อน่ื (samskrta) ๕. ความเกี่ยวเน่ืองกนั ซึ่งถกู ควบคมุ ด้วยความเป็นเหตุเป็นผล (prtitya-samutpâda) ๖. ความเป็นไปของโลกซึ่งเป็นไปตามภาวะท่ีเน่ืองด้วยกันตามเหตุปัจจัยเช่นน้ัน (sâsrava-anâsravatva) ๗. สภาวะท่ีถูกโนม้ ไปดว้ ยอานาจอวชิ ชาและปญั ญา (samkleca-vyavadânatva) ๘. สภาวะทุกข์และความดับไปแหง่ ทกุ ข์ (dukkha-nirodha) ๙. สังสารวฏั และนิพพาน (samsâra-nirvâna) จากความหมายท่ีผู้รู้ได้ประมวลไว้ข้างต้น จะเห็นว่าส่วนที่สอดคล้องก็มี ส่วนที่มี ความหมายเพิ่มเติมก็มี ผู้วิจัยใส่เครื่องหมาย  สาหรับส่วนที่มีความหมายสอดคล้องกัน และใส่ เคร่ืองหมาย  สาหรับความหมายท่ีไม่มี หรือไม่สอดคล้องกัน สรุปเทียบเคียงดังตารางข้างล่าง ตอ่ ไปนี้ ความหมาย คมั ภีร์ ปทานกุ รม พจนานกุ รม Vyâkhyâyukti นิกาย คาวา่ ธรรม ธาตปุ ปฺ ทปี กิ า บาลี พุทธศาสตร์ ของ วสพุ ันธุ สรวาตวิ าทนิ ภาวะ,ธรรมดา,ปกติ      ปัญญา   บญุ ,กุศล    อาบตั ิ,บญั ญตั ิ      ปรยิ ัตธิ รรม   ไม่ใช่สัตว์บุคคล     วกิ าร   คณุ ธรรม,ความดี     เหตุ-ปจั จยั     สงิ่ เกิดแตเ่ หตุ    ญายะ   สัจจะ    เญยยฺ                           ๕๙ TH. Stcherbatsky, The Central Conception of Buddhism and The Meaning of the word ‘Dharma’, (Delhi: Motilal Banarsidass, 1979), pp.77-75.

๒๖ ความหมาย คัมภีร์ ปทานกุ รม พจนานกุ รม Vyâkhyâyukti นกิ าย บาลี พทุ ธศาสตร์ ของ วสุพันธุ สรวาติวาทนิ คาวา่ ธรรม ธาตุปฺปทีปิกา     อาจาร       สมาธิ      คาสอน      พระนิพพาน        ลัทธิ,ธรรมเนียม         สิ่ง,ปรากฎการณ์        เจตสิก,อารมณจ์ ิต         มรรคา       วตั ถุธาตุ       ชวี ติ       คุณสมบัติ      ขอ้ บัญญัติ      กฏเกณฑข์ องโลก    ความว่างจากตวั ตน  ภาวะท่ีถูกโน้มไป  ภาวะทุกข์-ดับทุกข์  สงั สารวฎั -นิพพาน  ๒.๔ สรุปท้ายบท จากการสืบค้นข้างต้นจะเห็นว่า คาว่า “ธรรม” ปรากฏอยู่ในคาถาต่าง ๆ จานวน ๔๙ คาถา นับเป็นจานวนคาได้ ๖๘ คา เป็นคาเด่ียวก็มี คาผสมก็มี แตกต่างกันออกไปตามลักษณะของ ไวยากรณ์ ทาให้มองเห็นความหลากหลายของการนาไปใช้ ซ่ึงสอดคล้องกับความหมายที่ได้สืบค้นไว้ ท้ังตามนัยแห่งสันสกฤต นัยแห่งบาลี และนัยท่ีผู้รู้ได้ประมวลไว้ในปกรณ์ต่าง ๆ อันจะเป็นข้อมูล สาคัญทผี่ ู้วจิ ยั จะได้นาไปวเิ คราะหต์ ามบริบททีเ่ กี่ยวข้องต่อไป

๒๗ บทที่ ๓ วเิ คราะห์คาวา่ “ธรรม” ตามบรบิ ทของคาถา จากการสํารวจคาถาธรรมบท จํานวน ๔๒๓ คาถา มีคําว่า “ธรรม” อยู่ท้ังสิ้นจํานวน ๔๙ คาถา ในจาํ นวนนั้น คาํ ว่า “ธรรม” ปรากฏหลายลกั ษณะ มที ั้งท่ีเป๐นคําศัพท์เดียวโดด ๆ มีทั้งที่นําไปสนธิ กับศัพท์อ่ืนดังได้กล่าวมาแล้ว รวมทั้งส้ิน ๖๘ คร้ัง ในจํานวนน้ี ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ความหมายตามบริบท ดังรายละเอียดจะไดก้ ลา่ วโดยลําดบั ต่อไป ๓.๑ ความหมายคาวา่ “ธรรม” ตามบรบิ ทคาถา เพื่อสะดวกในการศึกษา ได้จัดหมวดหลักธรรมท่ีพบตามบริบทของคาถาออกเป๐น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่เป๐นหลักธรรมเฉพาะ ระบุข้อธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งตรงตัว และกลุ่มหลักธรรมท่ัวไป ไม่ได้ระบุ รายละเอยี ดของข้อธรรม ๓.๑.๑ หมวดหลักธรรมเฉพาะ คําว่า หลักธรรมเฉพาะในท่ีน้ี หมายถึง หลักธรรมที่ระบุหัวข้อธรรมอย่างใดอย่างหน่ึงลงไป ชัดเจนเป๐นการเฉพาะ มีจํานวนท้ังสิ้น ๑๒ คํา ซ่ึงในจํานวน ๑๒ คํานี้ ระบุถึงหลักธรรมเฉพาะ ๘ หัวข้อ ธรรม ดงั นี้ ๑) โยนิโสมนสิการ พบวา่ ใช้ในความหมายน้ี ในคาถาท่ี ๑๔๔ มีรปู คาถาดงั นี้ อสฺส ยถา ภโทร กสานวิ ฏิ โฺ ฐ อาตาปโิ น สเํ วคโิ น ภวาถ สทธฺ าย สีเลน จ วรี ิเยน จ สมาธนิ า ธมมฺ วนิ จิ ฉฺ เยน จ สมปฺ นฺนวชิ ฺชาจรณา ปติสสฺ ตา ชหสิ สฺ ถ ทุกฺขมทิ ํ อนปฺปกํ.๑ แปล: เธอท้งั หลายจงมีความเพยี ร และมีสังเวคธรรม เหมือนม้าดีท่ีถูกลงแส้ เธอทงั้ หลายมศี รัทธา ศีล วิริยะ สมาธิ และธมั มวินิจฉัย สมบรู ณ์ดว้ ยวิชชาและจรณะ มีสตมิ ่นั คง ก็จักละทกุ ขม์ ปี ระมาณไมน่ ้อยนี้ได วิเคราะห์ การวินิจฉัยคําว่า ธรรม หมายถึง โยนิโสมนสิการ เพราะอาศัยบริบทว่า “มีศรัทธา ศีล วิริยะ สมาธิ และ......วนิ จิ ฉยั สมบรู ณด์ ว้ ยวิชชา และจรณะ มีสติม่นั คง กจ็ กั ละทุกขม์ ีประมาณไมน่ อ้ ยนไ้ี ด”้ ๑ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๑๔๔/๔๒.

๒๘ อภิปราย เหตุที่ระบุถึงโยนิโสมนสิการ เพราะธรรมในคาถาน้ี ตั้งอยู่บนพื้นฐานการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง วนิ ิจฉยั หรือตดั สนิ ใจอย่างใดอย่างหนึ่ง ในอรรถกถาธรรมบทจึงขยายความส้ัน ๆ ว่า “รู้จักเหตุท่ีควรและ ไม่ควร” ๒ อีกเหตผุ ลหนงึ่ ทที่ ําใหว้ นิ จิ ฉัยไดเ้ ช่นน้นั กค็ อื การปรารภเหตใุ นการตรสั พระคาถานี้ พระพุทธเจ้าทรงปรารภพระปิโลติกเถระ ซ่ึงเบ้ืองหลังเป๐นคนอนาถา ขอทานเล้ียงชีวิต แต่ได้ พระอานนท์ช่วยสงเคราะห์ พาเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา คร้ันบวชแล้วก็กระสันอยากสึก จึงไปหา ท่อนผา้ และกระเบื้องของทานเกา่ ทพ่ี ระอานนท์เกบ็ เอาไว้ พอไปถงึ ก็นึกละอายใจ ทําการสอนตนเองแล้วก็ กลับมา ครั้นอยู่ได้ไม่นานก็กระสันอยากสึกอีก กลับไปกลับมาอย่างน้ีหลายคร้ัง สุดท้ายเกิดความสังเวช สลดใจ และใชท้ ่อนผา้ น้ันเป๐นอารมณ์ สอนตนจนไดบ้ รรลพุ ระอรหนั ต์๓ ๒) อริยสจั พบวา่ ใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาที่ ๒๕๙ มีรปู คาถาดงั น้ี น ตาวตา ธมมฺ ธโร ยาวตา พหุ ภาสติ โย จ อปฺปมฺปิ สุตวฺ าน ธมฺมํ กาเยน ปสสฺ ติ ส เว ธมฺมธโรโหติ โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชต.ิ ๔ แปล: บคุ คลไม่ชื่อวา่ ผทู้ รงธรรมเพยี งเพราะพดู มาก สว่ นผ้ใู ดไดส้ ดับตรบั ฟ๎ง ธรรมน้อย แตพ่ ิจารณาเห็นธรรมดว้ ยนามกาย ทั้งไมป่ ระมาทธรรมนน้ั ผู้น้ันชอื่ ว่า ผู้ทรงธรรม วเิ คราะห์ ธรรมในคาถาน้ี ปรากฏ ๔ คร้ัง เฉพาะท่ีบ่งความถึงอริยสัจ ปรากฏในบาทคาถาว่า ธมฺมํ กาเยน ปสสฺ ติ โดยอาศัยบริบทท่ีว่า “แต่พิจารณาเหน็ ......ด้วยนามกาย” อภปิ ราย พิจารณาจากบริบทของนิทานที่ปรารภพระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎกกับพระเถระผู้ได้บรรลุ ธรรมแล้ว พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธที่จะเรียกพระผู้ทรงพระไตรปิฎกว่า เป๐นผู้ทรงธรรม๕ ขณะที่พระ กทุ านเถระ แม้ไม่ได้ทรงพระไตรปิฎก แต่รแู้ จ้งแทงตลอดสัจธรรมแลว้ ทรงเรยี กว่า เปน๐ ผู้ทรงธรรม ความแก้อรรถของคาถาน้ี พระพทุ ธโฆสาจารย์อธบิ ายเชอื่ มโยงความเป๐นเหตุเป๐นผลของคํา ว่า “ผู้ใดฟ๎งธรรมแม้มีประมาณน้อย อาศัยธรรมะ อาศัยอรรถะ เป๐นผู้ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม กาํ หนดรูส้ จั จะมที ุกขเ์ ป๐นตน้ ช่ือวา่ ย่อมเหน็ สจั ธรรม ๔ ดว้ ยนามกาย ผู้น้นั แล ชอื่ ว่าเป๐นผู้ทรงธรรม”๖ ๒ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๓/๑๒๔. ๓ ข.ุ ธ.อ.๑/๒/๓/๑๒๒. ๔ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๕๙/๖๑. ๕ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๗๔. ๖ ขุ.ธ.อ. ๑/๒/๔/๗๕.

๒๙ ๓) ขันธ์ ๕ พบวา่ ใชใ้ นความหมายน้ี ในคาถาที่ ๒๗๙ มรี ูปคาถาดังนี้ สพเฺ พ ธมฺมา อนตฺตาติ ยทา ปํญฺ าย ปสสฺ ติ อถ นิพฺพนิ ทฺ ติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.๗ แปล: เมอ่ื ใด อรยิ สาวกพจิ ารณาเหน็ ดว้ ยปญ๎ ญาว่า ธรรมทั้งหลายทั้งปวงเป๐น อนัตตา เมือ่ น้ัน ยอ่ มหน่ายในทุกข์ น่ันเป๐นทางแหง่ ความบริสทุ ธิ์ วิเคราะห์ ในคาถาน้ี คําว่า ธรรม หมายถึง ขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ โดย อาศัยบริบทที่ว่า “อริยสาวกพิจารณาเห็นด้วยป๎ญญาว่า.......ทั้งหลายท้ังปวงเป๐นอนัตตา เมื่อนั้นย่อมเบื่อ หน่ายในทกุ ข์” อภิปราย บรบิ ทของคาถานี้ พระพทุ ธเจ้าตรสั ด้วยพระประสงค์จะแสดงธรรมให้เหมาะกับจริตของภิกษุ ๕๐๐ รูป เพราะเธอเหล่านั้น เคยเจริญไตรลักษณ์มาดีแล้วในศาสนาของพระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ อรรถกถาธรรมบทจึงระบุวา่ “สองบทว่า สพฺเพ ธมฺมา พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงประสงค์เอาขันธ์ ๕ นี้ เอง”๘ อนึ่ง คําว่า ธรรมท้ังหลายทั้งปวงเป๐นอนัตตา สํานวนพระไตรปิฎกนิยมใช้ในความหมายกว้าง คือ ครอบคลุมสรรพสิ่ง เช่น ในสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค, ขุททกนิกาย เถรคาถา หมายเอาธรรมท่ี เป๐นไปในภูมิ ๔ ทัง้ หมด๙ ขณะทใี่ นอรรถกถาวสิ ัชนทุ เทส แห่งขุททนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค หมายเอาสังขต ธรรม และอสงั ขตธรรมทัง้ ปวง ซ่งึ หมายรวมถึงพระนพิ พานดว้ ย๑๐ ธรรม ในคาถานี้ แมจ้ ะมคี วามหมายกว้าง ครอบคลุมสังขตธรรม และอสังขตธรรม ครอบคลุม ภูมิ ๔ ทั้งหมด ดังนัยท่ียกมาเทียบเคียงท้ังจากพระไตรปิฎก และอรรถกถาข้างต้น อย่างไรก็ตาม ในที่น้ี พระพุทธเจา้ นาํ มาแสดงเพ่ือกระต้นุ เตือนอุปนิสัยของภิกษุ ๕๐๐ รูป ซึ่งเคยเจริญไตรลักษณ์มาแล้วในปาง ก่อน ความมุ่งหมายจงึ จํากดั อยู่เพยี งเพื่อส่งเสริมสัมมาปฏิบตั ิ ดงั นั้น จึงอธบิ ายความระบุถึงขันธ์ ๕ ๔) เจตสกิ พบว่าใช้ในความหมายนี้ในคาถาท่ี ๑-๒ รปู คาถาดังน้ี (๑) มโนปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกขฺ มเนวติ จกกฺ ํว วหโต ปทํ.๑๑ แปล: ธรรมท้งั หลายมใี จเป๐นหวั หน้า มใี จเป๐นใหญ่ สาํ เร็จดว้ ยใจ ถ้าคนมีใจชัว่ ก็จะพดู ชว่ั หรือทาํ ชว่ั ตามไปด้วย เพราะความชวั่ นนั้ ทกุ ขย์ ่อมตดิ ตามเขาไป ๗ ข.ุ ธ. (บาล)ี ๒๕/๒๗๙/๖๔. ๘ ขุ.ธ.อ.๑/๒/๔/๑๐๕. ๙ ส.ํ ข. (ไทย) ๑๗/๙๐/๑๗๑. ,ส.ํ ข.อ. ๓/๓๐๕.,ข.ุ เถร. (ไทย) ๒๖/๕๙๔/๔๔๑.,ข.ุ เถร.อ. ๒/๓/๓/๔๙๙. ๑๐ ขุ.ปฏ.ิ อ. ๗/๑/๑๗๒. ๑๑ ข.ุ ธ.(บาล)ี ๒๕/๑/๑๕.

๓๐ เหมือนลอ้ หมุนตามรอยเทา้ โคท่ลี ากเกวียนไป ฉะน้ัน. (๒) มโนปุพพฺ งคฺ มา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนเฺ นน ภาสติ วา กโรติ วา จกกฺ วํ วหโต ปท.ํ ๑๒ ตโต นํ สขุ มเนวติ แปล: ธรรมทงั้ หลาย มีใจเป๐นหวั หน้า มีใจเปน๐ ใหญ่ สาํ เรจ็ ด้วยใจ ถ้าคนมใี จดี กจ็ ะพดู ดีหรอื ทําดีตามไปดว้ ยเพราะความดีนน้ั สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนัน้ . วเิ คราะห์ ในคาถาท่ี ๑- ๒ “ธรรมทั้งหลาย” หมายถึง “เจตสิกท้ังหลาย” โดยวิเคราะห์จากบริบทว่า “..........มใี จเป๐นหัวหน้า มีใจเป๐นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ” อภปิ ราย ในอรรถกถาธรรมบท พระพุทธโฆสาจารย์จําแนกความหมายของ “ธรรมทั้งหลาย” ไว้ ๔ ประการ ได้แก่ คุณธรรม เทศนาธรรม ปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม พร้อมกับระบุว่า ธรรม ท้ังหลายในท่ีนี้ มีพระประสงค์หมายเอา นิสสัตตนิชชีวธรรมเท่านั้น โดยอธิบายความเพิ่มเติมว่า คืออรูป ขนั ธ์ ๓ ประการ ไดแ้ ก่ เวทนาขันธ์ สัญญาขนั ธ์ และสังขารขนั ธ์๑๓ สรุปว่า ในคาถาที่ ๑-๒ นี้ ธรรมทั้งหลาย หมายถึง เจตสิกทั้งหลาย โดยคาถาแรกหมายเอา เจตสิกฝา่ ยอกุศล ส่วนคาถาหลงั หมายเอาเจตสิกฝา่ ยกศุ ล ๕) กรรมนิยาม พบวา่ ใช้ในความหมายน้ี ในคาถาท่ี ๕ มีรูปคาถาดงั นี้ น หิ เวเรน เวรานิ สมมฺ นตฺ ีธ กทุ าจนํ อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม สนนตฺ โน.๑๔ แปล: เพราะวา่ ในกาลไหน ๆ เวรทง้ั หลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงบั ดว้ ยเวร แต่เวรท้ังหลาย ย่อมสงบระงบั ดว้ ยการไม่จองเวร นเ้ี ป๐นธรรมเกา่ วิเคราะห์ ในคาถานี้ คําวา่ ธรรม หมายถึง กรรมนิยาม โดยอาศยั บริบทว่า “เวรย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แตเ่ วรท้ังหลายยอ่ มสงบระงับดว้ ยการไม่จองเวร” ๑๒ ขุ.ธ.(ไทย)๒๕/๒/๑๕. ๑๓ ข.ุ ธ.อ. ๑/๒/๑/๓๑. ๑๔ ขุ.ธ.(บาล)ี ๒๕/๕/๑๖.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook