Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2563_การสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง (ดร.ภัฎชวัชร์)

2563_การสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง (ดร.ภัฎชวัชร์)

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-02 01:03:02

Description: 2563_การสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง (ดร.ภัฎชวัชร์)

Search

Read the Text Version

รายงานการวจิ ัย รายงานการวิจัยย่อยท่ี ๓ เร่อื ง การสรา้ งชมุ ชนสนั ตสิ ุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหวุ ฒั นธรรมแบบมสี ่วนร่วม A Participation to SuportingPeaceLocal Among Multiculture in E-San Tai ภายใต้แผนงานวจิ ัย การเสริมสร้างเครือข่ายชุมชนสันติสุขในสังคมไทย A Supporting Peace Local Networking in Thai Social โดย ดร.ภัฏชวัชร์ สุขเสน และคณะ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดร้ บั ทนุ อุดหนุนการวจิ ยั จากมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั MCU RS 6301005

รายงานการวิจยั รายงานการวจิ ัยยอ่ ยท่ี ๓ เร่อื ง การสร้างชุมชนสนั ติสุขในอสี านใตท้ า่ มกลางพหวุ ฒั นธรรมแบบมีสว่ นรว่ ม A Participation to SuportingPeaceLocal Among Multiculture in E-San Tai ภายใต้แผนงานวจิ ยั การเสริมสร้างเครือข่ายชุมชนสันติสุขในสังคมไทย A Supporting Peace Local Networking in Thai Social โดย ดร.ภฏั ชวชั ร์ สุขเสน และคณะ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาลัยสงฆบ์ รุ รี ัมย์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดร้ บั ทุนอุดหนนุ การวจิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย MCU RS 6301005 (ลิขสิทธิเ์ ป็นของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั )

Research Report Sub-Research Report 3 A Participation to SuportingPeaceLocal Among Multiculture in E-San Tai Under Research Program A Supporting Peace Local Networking in Thai Social By Dr.Patchavat Suksen And Others Mahachulalongkornrajavidyalaya University Buriram Buddhist College B.E. 2563 Research Project Funded by Mahachulalongkornrajavidyalaya University MCU RS 6301005 (Copyright Mahachulalongkornrajavidyalaya University)

สารบญั เรือ่ ง หน้า บทคัดย่อ ภาษาไทย ............................................................................................................................ ........ ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ.................................................................................................................. ค กิตตกิ รรมประกาศ........................................................................................................................ จ อักษรชื่อยอ่ คัมภีร์.................................................................................................................... ...... ฉ สารบัญ...........................................................................................................................................ซ บทที่ ๑ บทนา……………………………………………………………………………………………………….. ๑ ๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา............................................................... ๑ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย...................................................................................... ๓ ๑.๓ ปัญหาการวจิ ัย....................................................................................................... ๓ ๑.๔ ขอบเขตการวิจัย.................................................................................................... ๔ ๑.๕ นิยามศพั ท์ทใี่ ชใ้ นการวิจัย...................................................................................... ๕ ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย........................................................................................ ๖ ๑.๖ ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั ..................................................................................... ๖ บทท่ี ๒ แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง.................................................................... ๗ ๒.๑ แนวคิดทฤษฎเี กยี่ วกับสังคมพหวุ ฒั นธรรม............................................................. ๗ ๒.๒ แนวคิดในการอยรู่ ว่ มกัน........................................................................................ ๑๑ ๒.๓ แนวคิดเกี่ยวกบั การสรา้ งเครอื ข่าย...... .................................................................. ๑๕ ๒.๔ แนวคิดเกยี่ วกบั การมสี ว่ นรว่ ม................................................................................ ๑๙ ๒.๕ สันติวธิ วี ิถพี ุทธ........................................................................................................ ๒๙ ๒.๖ รายงานการวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง.................................................................................... ๔๓ บทท่ี ๓ ระเบียบวิธีวจิ ัย........................................................................................................ ๔๖ ๓.๑ รปู แบบการวจิ ยั ..................................................................................................... ๔๖ ๓.๒ พ้นื ทีก่ ารวิจยั ......................................................................................................... ๔๗

ฌ ๓.๓ ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง/ผู้ใหข้ อ้ มูลสาคญั ........................................................ ๔๙ ๓.๔ เครือ่ งมือการวิจัย........................................................................................... ๔๙ ๓.๕ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล.................................................................................... ๕๑ ๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมลู ......................................................................................... ๕๒ ๓.๗ สรุปกระบวนการวจิ ัย...................................................................................... ๕๓ บทท่ี ๔ ผลการศึกษาวิจัย.................................................................................................... ๔.๑ ผลการศกึ ษาการสร้างาชุมชนสนั ติสขุ ในอีสานใต้ท่ามกลางพหวุ ัฒนธรรมแบบ มสี ่วนรว่ ม............................................................................................................. ๔.๒ ผลการศึกษากระบวนการและผลการสรา้ งชุมชนสนั ติสขุ ในอสี านใต้ท่ามกลาง พหุวัฒนธรรมแบบมสี ่วนร่วม................................................................................. ๔.๓ สรปุ องคค์ วามร้ทู ี่ได้จากการวิจัย........................................................................... บทท่ี ๕ สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ......................................................................... ๕.๑ สรุปผลการวิจัย.................................................................................................. ๕.๒ อภิปรายผล........................................................................................................ ๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ...................................................................................................... บรรณานกุ รม..................................................................................................................... ภาคผนวก.......................................................................................................................... ผนวก ก เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจยั .......................................................................... ผนวก ข หนงั สือเชิญ, รายช่อื ผู้ทรงคณุ วุฒิและรายชอื่ ผู้ให้ข้อมลู วิจัย.................... ผนวก ค ภาพถ่ายกิจกรรมวิจัย............................................................................... ผนวก ง การนาผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์.............................................................. ผนวก จ ผลผลติ ผลลพั ธ์ และผลกระทบจากงานวิจัย.............................................. ผนวก ฉ แบบสรปุ โครงการวิจัย................................................................................. ประวตั ิผู้วิจยั ........................................................................................................................

บทที่ ๑ บทนา ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา สถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบันสังคมไทยกาลังเผชิญกับความขัดแย้งในระดับท่ีรุนแรง โดยเฉพาะความขัดแย้งในระดับโครงสรา้ งเป็นเรอื่ งของการแย่งชิงอานาจและการใช้อานาจนอกจากนี้ ยงั เปน็ ความขัดแย้งจากผลประโยชน์ (Interest Conflict) ท่ีมีการแย่งชิงผลประโยชน์กันประกอบกับ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง นี้ ยั ง เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ ท่ี มี ผู้ ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง ห รื อ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย (Stakeholders) เก่ียวข้องกันเป็นจานวนมาก ซ่ึงความขัดแย้งดังกล่าวที่เกิดข้ึน อาจก่อให้เกิดผลดี ผลเสียแตกต่างกัน ถ้าความขัดแย้งท่ีรุนแรงก็อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม แต่ถ้าความขัดแย้งไม่ รุนแรงก็อาจก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมได้ โดยการหันหน้ามาพูดคุยเจรจาต่อกัน เพื่อหาแนวทางใน การยุติความขัดแย้ง อันนาไปสู่การพัฒนาสังคม ชุมชนโดยการร่วมมือกันทุกภาคส่วน ท้ังในภาครัฐ และประชาชน ศาสนาเป็นสถาบันหลักทางสังคมมาตั้งแต่อดีต ในสภาวะสังคมปัจจุบัน ซึ่งสังคมไทยกาลัง เผชิญปัญหาที่สาคัญอยู่หลายเร่ือง จาเป็นต้องพัฒนาคนให้มีปัญญาหลาย ๆ ด้าน เพ่ือช่วยกัน แก้ปัญหาและพฒั นาสงั คมในทางสร้างสรรค์ และเพื่อมุ่งหวังให้เกิดสังคมสันติสุขอย่างแท้จริง บทบาท ที่สาคัญของศาสนาในส่วนนี้จึงควรเป็นการเสริมสร้างปัญญาให้กับประชาชน เป็นการช่วยเสริม บทบาทหนา้ ทีข่ องระบบการศึกษาให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น หลักพุทธธรรมที่สามารถนามาเสริมระบบ การศึกษาเพ่ือเพิ่มพูนสติปัญญาหลักใหญ่ ๆ ก็คือ หลักไตรสิกขา หรือศีล สมาธิ ปัญญา ซ่ึงถือว่าเป็น หัวใจของพระพุทธศาสนา ท่ีมีความสาคัญมากและหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งจะช่วยเสริม และพัฒนาปัญญาของมนุษย์ให้กว้างขวางและถูกต้องย่ิงข้ึน ในแง่การเมือง ระบบการเมืองจะช่วย เสริมสร้างสันติสุขให้กับสังคมอีกทางหน่ึง การเมืองจะต้องสร้างระบบการปกครองบ้านเมือง ระบบ การบริหารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ส่วนรวม หรือที่เรียกว่าธรรมาภิบาล หรือธรรมรัฐ (Good Governance) ขน้ึ มาให้ได้ โดยอาศยั หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาเพ่ือลดความขดั แย้งในชุมชน และ สรา้ งชุมชนให้เข้มแขง็ เกิดสงั คมสนั ตสิ ุขในทา่ มกลางพหวุ ฒั นธรรมอย่างมสี ว่ นรว่ มของคนในชมุ ชน หลักพทุ ธสันตวิ ิธี กล่าวคอื หลักธรรมท่ีนาไปเพ่ือสร้างชุมชนให้เกิดสันติสุขอย่างแท้จริง เช่น สาราณียธรรม ๖ ศีล ๕ และสังคหวัตถุ ๔ เป็นต้น เป็นหลักธรรมที่เสริมสร้างสังคมให้เกิดสันติสุข ซึ่ง

๒ รากฐานของการสร้างสันติสุขในชุมชนตามหลักทางพระพุทธศาสนานั้น มองว่าการมองโลกโดยไม่ แบ่งเป็นขาวและดาอย่างชัดเจนน้ัน เรียกอีกอย่างว่าการมองโลกแบบอทวิภาวะ ทัศนะการมองโลก ดงั กล่าวเปน็ รากฐานของปฏบิ ัตกิ ารสันติวิธี เพราะทาให้ตระหนกั ว่ามีแตส่ นั ตวิ ิธเี ท่านั้นถึงจะขจัดความ เลวร้ายออกไปจากสงั คมไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ในทางตรงขา้ ม การใช้ความรนุ แรงนั้นทาได้อย่างมากเพียงแค่ ขจัด “คนช่ัวร้าย”ออกไปได้เพียงช่ัวคราวเท่านั้น แต่ไม่สามารถขจัด “ความชั่วร้าย”ออกไปได้อย่าง แท้จริง ความชั่วร้ายยังคงอยู่เพราะ ๑) โครงสร้างหรือระบบที่หล่อหลอมเพิ่มพูนความชั่วร้าย เช่น ความเห็นแกต่ ัว ความโกรธเกลยี ด หรอื ความอยตุ ธิ รรม ยังไม่ไดร้ ับการแก้ไข ๒) ความชั่วร้ายในใจของ ผู้คนยังมีอยู่ รวมทั้งในใจของผู้ที่เป็นฝ่ายขจัดคนชั่วร้าย ท้ังโครงสร้างหรือระบบท่ีก่อปัญหา และ ความช่ัวร้ายในใจผ้คู นน้นั ไม่สามารถขจัดหรือแก้ไขได้ด้วยความรุนแรงใด ๆ มีแต่จะต้องใช้สันติวิธี เทา่ นั้นถงึ ลดความขัดแย้งและหมดไปในท่สี ดุ การสร้างสันติสุข จึงเป็นส่ิงที่เริ่มต้นจากฐานที่สาคัญคือ ความศรัทธาในศาสนา การมี ความคิดอิสระ การมีความรัก ความเมตตาต่อเพ่ือนมนุษย์ และสรรพสิ่งทั้งหลาย ซึ่งเป็นฐานที่ทุกคน จะต้องมีเป็นเบื้องต้น หลังจากน้ันทุกคนจึงต้องช่วยกันสร้างเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวอบอุ่น สขุ ภาพทส่ี มบรู ณ์ ชุมชนท่ีเข็มแขง็ สังคมสันติสุข และสิ่งแวดล้อมที่ย่ังยืน ในส่วนของรัฐจะต้องเข้ามา เสริมในองค์ประกอบทุก ๆ ส่วน เพื่อให้เกดิ ความสมบูรณโ์ ดยครบถ้วนทุก ๆ องค์ประกอบ ในลักษณะ ของการเกิดดุลยภาพ คือคนเป็นผู้สร้างสังคม สังคมเป็นผู้สร้างรัฐ และรัฐกลับมาสร้างคนและสังคม ต่อเนื่องกันไปเร่ือย ๆ ในลักษณะของการเคลื่อนไหวอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นการสร้างสันติสุข และ สันติภาพในลักษณะของการเคลื่อนไหว ซ่ึงจะก่อให้เกิดเป็นความสมดุลของทุกๆภาค ส่วน เป็นสันติ สุขท่ีมีความสอดคล้องและผสมผสานกลมกลืนกับธรรมชาติท่ามกลางสังคมพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วน ร่วมอย่างแท้จริง๑ จากข้อมูลเบื้องต้นเห็นได้ว่า พระพุทธศาสนา ถือว่าเป็นศาสนาแห่งสันติสุขที่ก่อให้เกิด สันติภาพ และการเน้นการรู้จักให้อภัยอย่างแท้จริง เพราะพระพุทธศาสนาสอนให้เรามีความรัก รวม ไปถึงการให้อภัยแก่เพื่อนมนุษย์ อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ดังปรากฏในวัฒนธรรมของสังคมไทย ชาวพุทธ เมื่อเราพลั้งเผลอ ทาผิดต่อกัน เกิดความเข้าใจผิดต่อกัน เกิดความขัดแย้งกันเราก็จะแสดง ความรักความเมตตาและมักให้อภัยซึ่งกันและกัน ข้อนี้เป็นการแสดงออกถึงวัฒนธรรมอันดีงามของ สังคมไทย ซ่งึ ไดร้ ับอิทธพิ ลด้านวฒั นธรรมคาสอนมาจากพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ความคิด และการประพฤติปฏิบัติดีของคนไทย การทาความดีต่อกัน ในระหว่างวงศ์ญาติมิตรสหายการรวมตัวกันเพื่อการเรียนในการแก้ปัญหาและการพัฒนาของสังคม หรือการพึ่งตนเอง จึงเป็นเหตุให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถอดบทเรียนการอยู่ในสังคมท่ามกลาง ๑สภาทนายความ, รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๔๐. (กรุงเทพมหานคร : บริษัท บพิธการ พิมพ์ จากัด, ๒๕๔๔), หน้า ๓๒.

๓ สถานการณ์ในปัจจุบันที่หน่วยงานของรัฐได้นานโยบายหมู่บ้านรักษาศีลโดยมีวัดเป็นศูนย์กลา งการ ประสานงานซ่ึงได้สอดคล้องกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาภายใต้กรอบของหลักธรรมต่างๆเพ่ือ เปน็ แนวทางการอยรู่ ว่ มกัน ใหเ้ กิดความผาสุกและช่วยเหลือกนั ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาการสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหุ วฒั นธรรมแบบมีส่วนร่วมด้วยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาโดยการสร้างค่านิยมคนในชุมชนให้รักษา เร่ืองวัฒนธรรมท้องถ่ินประเพณีชุมชนดั้งเดิมกิจกรรมชุมชนต่างๆนามาใช้ในการขับเคลื่อนสังคมพหุ วัฒนธรรมตามหลักสันติวิธีและมีสภาพความเป็นอยู่ในการอยู่ร่วมกันในรูปแบบของชุมชนสันติสุขยึด ม่ันในความรักความสามัคคีท่ามกลางวัฒนธรรมท่ีมีความหลากหลายทางเช้ือชาติ ศาสนา และ วัฒนธรรมซ่ึงเป็นอัตลกั ษณ์ของชมุ ชนในเขตพืน้ ท่อี ีสานใต้ โดยผา่ นกระบวนการแบบมีส่วนร่วมของคน ในชุมชน ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ๑.๒.๑ เพ่อื สรา้ งชมุ ชนสันติสขุ ในอีสานใต้ทา่ มกลางพหุวัฒนธรรมแบบมสี ่วนร่วม ๑.๒.๒ เพอ่ื วเิ คราะห์กระบวนการและผลการสร้างชมุ ชนสันตสิ ขุ ในอสี านใต้ท่ามกลางพหุ วฒั นธรรมแบบมีส่วนร่วม ๑.๓ ปญั หาการวจิ ยั ๑.๓.๑ การสรา้ งชุมชนสนั ติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหวุ ัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมเป็น อย่างไร ๑.๓.๒ กระบวนการและผลการสร้างชุมชสันติสขุ ในอีสานใตท้ ่ามกลางพหวุ ัฒนธรรมแบบ มสี ่วนร่วมเป็นอย่างไร

๔ ๑.๔ ขอบเขตของการวิจัย ๑.๔.๑ ขอบเขตด้านเน้ือหา ผู้วิจัยมุ่งศึกษาเพ่ือค้นหาความร่วมมือในการใช้พุทธศาสนาเป็นกลไก สาคัญในการสร้าง สังคมสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม โดยเร่ิมจากการศึกษาหลักพุทธสันติ วิธี สภาพบริบททางสังคมในอีสานใต้ และปัจจัยในการสร้างสังคมสันติสุข จากนั้นจึงดาเนินการวิจัย เชิงปฏบิ ัตกิ ารในการสรา้ งชุมชนสันตสิ ขุ ในอีสานใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม โดยการลง พืน้ ที่สัมภาษณ์ จดั เวทเี สวนาชมุ ชนสร้างสันติสุขต้นแบบเปน็ ต้น ๑.๔.๒ ขอบเขตดา้ นพน้ื ที่ สาหรับการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสาคัญ พื้นที่ศึกษาเขตอีสานใต้ ๓ จังหวัด ๔ ชุมชน ได้แก่ ๑. วัดโพธิ์ย่อย บ้านยางลาว ตาบลบ้านยาง อาเภอลาปลายมาส จังหวัด บุรีรัมย์ ๒.วัดป่าสุขสมบูรณ์ ตาบลสองช้ัน อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ๓.วัดสว่างอารมณ์ ตาบล ปราสาท อาเภอปราสาท จังหวดั หวดั สุรินทร์ และ ๔. บ้านอ้ออุดมสิน ตาบลไพล อาเภอลาทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา ๑.๔.๓ ผใู้ หข้ ้อมลู หลกั (Key-Informant) ประชากรศึกษาเป็นกลุ่มพระภกิ ษุสงฆ์หรือผู้นาศาสนา ผู้บริหารภาครัฐ ส่วนท้องถ่ิน และ ตัวแทน ชุมชน ที่อาศัยอยู่ในเขตพ้ืนท่ีอีสานใต้ ๓ จังหวัด โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มีความรู้ท่ีจะ สามารถให้ขอ้ มลู ที่สาคญั แบบเจาะจง (Purposive Sampling) คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)โดยกาหนดเกณฑ์ คือ เป็นผู้ที่มีความรู้ความเช่ียวชาญในประเด็นที่ศึกษา และเป็นผู้ท่ียินดีจะให้ข้อมูลเชิงลึกถึงปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนตามบริบทของพ้ืนท่ี กาหนดกลุ่มผู้ให้ ขอ้ มูล ดังน้ี ๑) กลุ่มพระสงฆ์หรอื ผู้นาทางศาสนา จานวนชมุ ชนละ ๑๐ รูป/คน ๒) กลุม่ ผู้บริหารภาครฐั /ผนู้ าทอ้ งถน่ิ จานวนชุมชนละ ๑๐ คน ๓) กล่มุ ตวั แทนชุมชน/ปราชญช์ าวบา้ น/นักวิชาการจานวนชมุ ชนละ ๑๐ คน รวมชมุ ชนละ ๓๐ รูป/คน เป็นจานวนทั้งสิน้ ๑๒๐ รปู /คน ๑.๔.๔ ขอบเขตดา้ นเวลา งานวจิ ัยคร้งั นม้ี ีขอบเขตระยะเวลา ๗ เดอื น ต้งั แต่ ๑ มนี าคม ๒๕๖๓ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓

๕ ๑.๕ นิยามศัพทเ์ ฉพาะท่ีใชใ้ นการวิจยั ๑.๕.๑ ชมุ ชนสนั ตสิ ุข หมายถงึ การท่คี นจานวนหน่ึงเทา่ ใดก็ได้ มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีการ ตดิ ต่อสื่อสารหรอื รวมกลมุ่ กัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีการเรียนรู้ร่วมกันในการกระทา มีการจัดการ เพื่อใหเ้ กิดความสาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์รว่ มกนั อาศยั อยรู่ ว่ มกันอย่างมคี วามสุขด้วยหลักสนั ตวิ ธิ ี ๑.๕.๒ สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง ชุมชนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น ประเพณี ภาษา ความเชื่อ การทามาหากินและวิถีชีวิต แต่ก็ยอมรับในความแตกต่าง ยอมรับใน วถิ ชี ีวติ บนพน้ื ฐานของการยอมรบั สทิ ธเิ สรภี าพและหนา้ ทข่ี องแตล่ ะคน ๑.๕.๓ หลักพุทธธรรม หมายถึง หลักธรรมคาสอนที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ แต่ในท่ีน้ี หมายถึงหลักธรรมท่ีนาไปเพ่ือสร้างชุมชนให้เกิดสันติสุขอย่างแท้จริง เช่น สาราณียธรรม ๖ ศีล ๕ และสังคหวตั ถุ ๔ เป็นตน้ ๑.๕.๔ การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสร้างสันตสิ ุข หมายถงึ การอยู่รว่ มกนั อย่างสันติ พ่ึงพาอาศัยกัน และกัน การเคารพกันและกัน ยอมรับในความแตกต่างท้ังความเช่ือ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม เช้ือ ชาติ ผวิ พรรณ มีเมตตาตอ่ กนั ม่งุ ประโยชน์ต่อส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม เสยี สละแบ่งปนั เพอ่ื ผทู้ ่ีด้อยโอกาสกว่า มคี วามซือ่ สัตย์ต่อกันและไม่ลบหลู่ดูหมนิ่ กันและกนั ๑.๕.๕ กลไกทางพระพุทธศาสนา หมายถึง หมวดหมู่ขององค์ประกอบทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีส่งเสริมการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข พิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาที่เหนี่ยวนาให้ผู้คนสามารถมาร่วมกันทากิจกรรมอย่างเ ดียวกันบนพ้ืนฐานของ หลักการให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา และสถาบันทางพระพุทธศาสนา ทั้งสถาบันสงฆ์ ศาสน สถาน และศาสนิกชน

๖ ๑.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย ในการวจิ ยั เรือ่ งการสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม ได้วางกรอบแนวคดิ ไว้ ดงั น้ี หลกั พทุ ธสนั ติ กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ชดุ ความรู้การสร้าง วธิ ใี นการสรา้ ง -เขมร ชมุ ชนสันติสขุ ใน ชุมชนสันตสิ ุข -สว่ ย/กยู อสี านใต้ท่ามกลาง -ลาว พหุวัฒนธรรมแบบ ปัจจัยท่สี ่งเสริม มีสว่ นรว่ ม การสร้างชุมชน การสรา้ งสันติ สันติสุข สขุ ในชมุ ชน ชุมชน ๙ ดีชวี ีมี ความแตกต่าง สขุ -ด้านการเมือง -ดา้ นวัฒนธรรม -ดา้ นทรัพยากร ๑.๗ ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั ๑.๗.๑ ไดท้ ราบวธิ ีการสรา้ งชมุ ชนสันติสขุ ในอสี านใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วน รว่ ม ๑.๗.๒ ไดท้ ราบกระบวนการและผลการสรา้ งชุมชนสนั ตสิ ุขในอสี านใตท้ า่ มกลางพหุ วฒั นธรรมแบบมีสว่ นรว่ ม

บทท่ี ๒ แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจัยท่ีเก่ยี วข้อง การวิจัยเร่ือง การสร้างชุมชนสันติสุขในอีสานใต้ท่ามกลางพหุวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วม ในบทนค้ี ณะผวู้ จิ ัยจะมุ่งศึกษาในประเด็นดงั ต่อไปน้ี ๒.๑ แนวคิดเกี่ยวกบั สงั คมพหวุ ัฒนธรรม ๒.๒ แนวคิดสาคญั ในการอย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติ ๒.๓ แนวคดิ เกย่ี วกบั การสรา้ งเครือข่าย ๒.๔ แนวคิดเก่ยี วกบั การมสี ่วนรว่ ม ๒.๕ สันตวิ ิธวี ถิ ีพทุ ธ ๒.๖ รายงานการวจิ ัยทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ๒.๑ แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับสังคมพหุวฒั นธรรม ๒.๑.๑ ความหมายของวฒั นธรรม ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ๑ (๒๕๔๓) อธิบายความหมายและลักษณะของวัฒนธรรมว่า วัฒนธรรม คือ สิ่งอันเป็นวิถีชีวิตของสังคม คนในสังคมมีส่วนร่วมและคิดเห็นอย่างไร มีความเชื่อ อย่างไรถึงแสดงออกให้ปรากฏเห็น เป็นรูปภาพ ประเพณี กิจการงาน การละเล่น ศาสนา เป็นต้น ตลอดจนสิ่งต่างๆท่ีคนในสังคมมีส่วนสร้างขึ้น เช่น สิ่งอันจาเป็นแก่วิถีชีวิต และการครองชีพ ได้แก่ ปจั จัยสี่ เครือ่ งมือ เครื่องใช้ ความคดิ ความรสู้ กึ ความเชอื่ ซง่ึ แสดงปรากฏใหเ้ หน็ เปน็ ส่ิงต่างๆซึ่งมีการ สะสมเป็นความรู้ในความทรงจา จดไว้ในหนังสือและส่ิงต่างๆที่สร้างขึ้นและถ่ายทอดไว้ให้แก่กัน เป็น มรดกตกทอดสืบต่อกันมาช่ัวอายุคน มีการเพิ่มเติมเสริมสร้างข้ึนใหม่และปรับปรุงสิ่งเก่าให้เข้ากันได้ และมีความเจรญิ กา้ วหนา้ โดยวฒั นธรรมจะมลี ักษณะตา่ งๆดงั ต่อไปนี้ ๑. เปน็ แบบแผนของพฤตกิ รรมที่เกิดจากการเรยี นรู้ การเรยี นร้เู ปน็ เรื่องสาคัญทาให้ ๑ ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ, สงั คมและวัฒนธรรมไทย, (กรุงเทพฯ : มปพ, ๒๕๔๒).

๘ มนุษย์สร้างส่ิงที่เราเรียกว่า วัฒนธรรม เกิดข้ึน มนุษย์จะต่างจากสัตว์ เนื่องจากการกระทาต่างๆเป็น เรื่องของการเรียนรู้ เช่น การหวีผม การแปรงฟัน การเย็บผ้าเขียนหนังสือ ฯลฯส่วนสัตว์จะใช้ สัญชาตญาณการเรียนรู้น้ัน จะมีลักษณะสั่งสมจากประสบการณ์ ท่ีมนุษย์ได้เผชิญในชีวิตไม่ได้ถูก ถา่ ยทอดทางชวี ภาพหรอื พนั ธกุ รรมการเรยี นรนู้ ั้นเกิดจากการเป็นสมาชกิ ของกลมุ่ สงั คม ๒. เป็นส่ิงซึ่งสืบทอดจากบรรพบุรุษ เป็นมรดกทางสงคม ซึ่งส่งต่อๆกันมาหลายช่วง อายุคนซง่ึ คนรุ่นต่อมาได้นามาใช้ปฏิบัติทาให้คงอยู่ไม่สูญหาย แต่อาจปรับเปลี่ยนไป เช่น การแต่งกาย ภาษา ฯลฯ การเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรมนนั้ จะข้ึนอยู่กับภาวะสงั คมในขณะน้ันๆ ๓. เป็นส่วนรวมในสังคม มิใช่เป็นผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะแต่จะช่วยกันคิดสิ่งสร้างสรรค์ ร่วมกันปฏิบัติ ทาให้วัฒนธรรมน้ันยืดยาว เช่น ภาษาการแต่งกาย และวัฒนธรรม จึงเป็นวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนจานวนมากหรือของสงั คมนน้ั งามพิศ สตั ย์สงวน (๒๕๔๓)๒ กล่าวว่า วัฒนธรรม คือ พฤติกรรมของมนุษย์ท่ีเกิดข้ึน จากการเรยี นรู้ รวมทัง้ ผลติ ผลที่เกิดจากการเรยี นรู้ และนกั มานษุ ยวิทยาใช้เป็นเคร่ืองมือ เพ่ือทาความ เข้าใจประเพณีและวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกันของมนุษย์ในสังคมต่างๆ ทั่วโลกรวมท้ังเข้าใจตัวเองและ สังคมโดยไดแ้ บง่ ประเภทของวัฒนธรรม ออกเป็น ๒ ประเภท คอื ๑.วัฒนธรรมวตั ถุ (Material Culture) ซึง่ ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยีต่างๆ เช่น ตู้เย็น หม้อหุงข้าว แก้วน้า มีด โต๊ะ รถ เครื่องบิน โทรศัพท์ โทรทัศน์ จรวด บ้าน วัด หอประชุม เปน็ ต้น ไปจรถึงเคร่อื งจกั รกลประเภทตา่ งๆ ๒.วัฒนธรรมไม่เก่ียวกับวัตถุ (Non Material Culture) หมายถึง อุดมการณ์ คา่ นิยม แนวคิดในเรื่องการแข่งขันอย่างมีเหตุผล ประเพณี การปฏิบัติสืบต่อกันมา และเป็นที่ยอมรับ กันในชนกลุ่มของตนว่า ดีงาม เหมาะสม เช่น ศาสนา ความเช่ือ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ซึ่งเป็นนามธรรมท่ีมองเห็นไม่ได้ วัฒนธรรมประเภทนี้แบ่งเป็น ๕ ประเภท ได้แก่ ๑) สถาบันสังคม ๒) ศิลปะ ๓) ภาษา ๔)พิธีกรรมและ ๕) วัฒนธรรมที่เก่ียวกับการควบคุมทางสังคม เชน่ ศาสนา ความเช่ือทางสงั คม นยิ ม ประเพณี และกฎหมาย ได้สรปุ ลักษณะพนื้ ฐานทีส่ าคญั ของวัฒนธรรมไว้ ๖ ประการดังต่อไปน้ี ๒งามพิศ สัตย์สงวน, หลักมนุษย์วิทยาวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานครฯ: ภาควิชาสังคมวิทยาแล มานษุ ยวทิ ยาคณะรัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓,

๙ ๑.วฒั นธรรมเปน็ ความคิดรว่ มและคา่ นิยมทางสังคม ซ่งึ เป็นตวั กาหนดมาตรฐาน ของพฤตกิ รรม ๒. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ ได้รับการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่น หนึ่ง โดยผ่านกระบวนการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมหรือกระบวนการเรียนรู้ทางวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึง การอบรมส่ังสอน ของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ และประสบการณ์ต่างๆท่ีมนุษย์ได้รับการส่ังสมมาจาก การเป็นสมาชิกสังคม จากกระบวนการตา่ งๆทม่ี นษุ ยส์ ามารถเขา้ ใจได้ว่าตนควรมีพฤติกรรมอย่างไรใน แต่ละสถานการณ์ ๓. วฒั นธรรมมีพน้ื ฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ พฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกาเนิด มาจาก การใช้สัญลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็นเงินตรา สัญญาณไฟจราจร หรือสัญลักษณ์ทางศาสนาและ รวมถึงภาษา ซึง่ เคร่อื งมอื สือ่ ความหมายทง้ั หมดน้ี สามารถถ่ายทอดความรนู้ ัน้ ไปยังคนร่นุ หลงั ตอ่ ไปได้ ๔. วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมปัญญา ในลักษณะนี้วัฒนธรรมมี หน้าท่ีตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์ เช่น สอนให้มนุษย์รู้จักหารอาหารอย่างมี ประสทิ ธิภาพ วางกฎเกณฑใ์ ห้มนษุ ยด์ ารงชีวิตอยา่ งมรี ะเบยี บแบบแผน เพื่อให้สังคมทางานไปได้อย่าง เป็นระบบ นอกจากน้ันยังช่วยให้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม และเป็นพื้นฐานของการ พัฒนาทางด้านเทคโนโลยีเพอ่ื ความเจริญก้าวหน้าและความอยรู่ อดของมนษุ ย์ ๕. วัฒนธรรมคือกระบวนการท่ีมนุษย์กาหนดนิยามความหมายให้กับสิ่งมีชีวิต และสิ่งต่างๆท่ีอยู่รอบตัว ซึ่งอาจแสดงออกได้ในรูปแบบของศาสนา พิธีกรรม แนวคิดพ้ืนฐานของ ระบบการเมือง ก่อให้เกิดการสร้างสถาบัน หรือองค์กรข้ึนมา เพื่อรองรับการนิยามความหมายต่างๆ และเปลยี่ นแปลงไดต้ ามกาลเวลา ๖. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดน่ิง หากมีการเปลี่ยนแปลงปรับตัวอยู่ตลอดเวลาที่ อาจจะมีสาเหตุจากความคิดและค่านิยมท่ีมีวัฒนธรรมอื่น การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ซ่ึงเป็น ความพยายามท่จี ะควบคุมธรรมชาตแิ ละใช้พลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ สรปุ ไดว้ า่ วัฒนธรรม หมายถงึ การประพฤติปฏิบัติที่สืบทอดกันมาโดยมุ่งกระทาความอยู่ ดี มีสขุ ของคนและสงั คม โดยส่วนรวมวัฒนธรรม จึงต้องเชอื่ มโยงระหวา่ งสภาพในอดีตสู่ปัจจุบันและสู่ อนาคต ต้องเชื่อมโยงระหว่างคนในสังคม ซ่ึงมีวัยต่างกัน ต้องเช่ือโยงระหว่างสภาพตนเองต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และสภาพรอบโลก และต้องเชื่อมระหว่างคนกับธรรมชาติ วัฒนธรรมจะ

๑๐ พัฒนางอกงามได้ ต้องอาศัยความเช่ือมโยงและความเข้าใจในหลากหลาย ความแตกต่างและจุดร่วม ของวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ วฒั นธรรมของชาติและวัฒนธรรมของโลก ๒.๑.๒ ความหมายของสงั คมพหุวัฒนธรรม วลัยลักษณ์ ทรงศิริ และคณะ กล่าวถึงสังคมพหุลักษณ์หรือพหุสังคม (Plural Society) ว่าหมายถึงกลุ่มสังคมที่แยกย่อยออกเป็นกลุ่มภาษา กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มศาสนาหรือเช้ือชาติต่าง ๆ และกลมุ่ ชุมชนซึง่ เป็นคาเดยี วกับ Multicultural Society หรอื สังคมหลากวัฒนธรรมที่นามาใช้กับรัฐ ที่มีความแตกตา่ งหลากหลาย ซึ่งแนวคดิ แบบ Multiculturalism น้เี ป็นการมองความหลากหลายด้าน วัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคมเป็นเกณฑ์ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยเห็นว่าพหุสังคมและพหุ วัฒนธรรมมีความแตกต่างกันอยู่ โดยลักษณะของพหุสังคมนั้นเป็นสังคมท่ีมีความหลากหลาย แยก ยอ่ ยหากแต่ไมม่ คี วามสมั พันธ์ระหว่างชุมชนมากนัก ในขณะที่ลักษณะของสังคมพหุวัฒนธรรมนั้นเป็น ลักษณะของสังคมทม่ี กี ารยอมรับในความหลากหลายและมีการติดต่อเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน๓ อานันท์ กาญจนพันธุ์ ไดอ้ ธิบายเก่ียวกบั ความเป็นมาของแนวคิดพหุวัฒนธรรมในประเทศ ไทยว่าแนวคิดดังกล่าวได้เข้ามาพร้อม ๆ กับความเปลย่ี นผ่านทางสงั คมวฒั นธรรม ซง่ึ เป็นช่วงเวลาไม่กี่ ปีท่ีผ่านมาประชาชนชาวไทยไม่ค่อยรู้จักคาว่าพหุวัฒนธรรมเท่าใดนักนอกจากแวดวงวิชาการเท่านั้น ท้ังนี้อาจเป็นเพราะประเทศในช่วงระยะเวลา ๕0 ปีท่ีผ่านมาเป็นช่วงของการสร้างรัฐชาติที่เน้น อุดมการณ์ความเปน็ หน่ึงเดียวทางวัฒนธรรมและความเป็นไทย ดังน้ัน ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วฒั นธรรม ไดถ้ ูกบดบงั สลาย และกลมกลนื เปน็ อยา่ งมากในช่วงของสรา้ งรัฐชาติ๔ Will Kymlicka (๒00๗ อ้างถึงใน ศิริจิต สุนันต๊ะ,๒๕๕๖: 9) เห็นว่าหัวใจสาคัญของพหุ วัฒนธรรมนิยม(Multiculturalism) คือการเรียกร้องให้มีการยอมรับอัตลักษณ์ท่ีถูกเบียดขับ ๓ วลยั ลกั ษณ์ ทรงศิร,ิ แนวคิดเรอ่ื งพหนุ ิยมเบือ้ งตน้ ในรือเสาะ พหุวัฒนธรรม : ความหลากหลายและ มิตรภาพจากความทรงจาของ “คนใน”บนพน้ื ท่สี แี ดง, นาญิบ บนิ อะห์หมัด, (กรุงเทพฯ : มูลนธิ เิ ลก็ -ประไพ วริ ิยะพนั ธ,ุ์ ๒๕๕๖), หน้า ๙-๑๓. ๔ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ,์ แนวคดิ ชาตินยิ มกบั พหวุ ฒั นธรรม พหุวัฒนธรรมในบรบิ ทของการเปลย่ี นผา่ น ทางสงั คมและวฒั นธรรม, (เชียงใหม่ : ศนู ย์ภมู ภิ าคดา้ นสังคมศาสตร์และการพฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม,่ ๒๕๕๑), หน้า ๕.

๑๑ โดยเฉพาะอัตลักษณ์ทางเช้ือชาติชาติพันธ์ุ และวัฒนธรรม การเรียกร้อง และการให้สิทธิทาง วัฒนธรรมพหุนิยมเป็นแนวคิดท่ีเป็นลักษณะของทางสายกลาง กล่าวคือ ยอมรับในความแตกต่าง หลากหลายที่มีอยู่ในสังคม ส่วนประเด็นท่ีผูกพันกับแนวคิดพหุนิยมในทางตรงกันข้ามคือ “ชาตินิยม หรือ Nationalism” ซ่ึงถูกนามาเป็นเคร่ืองมือทางการเมือง การปลูกฝังความเป็นชาตินิยมมากทาให้ เกิดแนวคิดท่ีสุดโต่ง ในอดีตรัฐพยายามใช้วิธีการแบบ “Assimilation” หรือการกลืนกลาย” ซึ่งเป็น กระบวนการสาคัญในการสร้างรัฐชาติในหลายสังคมซ่ึงเป็นการทาลาย กีดกัน บังคับวัฒนธรรมกลุ่ม ย่อย(Sub-Culture) ใหก้ ลายมาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสังคมใหญ่ โดยในระยะหลังน้ีรัฐได้ปรับเปลี่ยน แนวนโยบายมาเป็น “Integration” หรือการบูรณาการผสมผสาน”โดยนโยบายพหุวัฒนธรรมเน้น การยอมรับ การอยู่ร่วมกันและการบูรณาการของความหลากหลายทางวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ภายในประเทศเดียวกัน ซึ่งจะเป็นวิธีท่ีทาให้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มคนชาติพันธุ์ต่าง ๆลดลง กว่าเดิม เพราะมุ่งนาสังคมไปสู่การตระหนักรู้ถึงการรวมอยู่ร่วมกันและความเป็นหนึ่งเดียวกันของ สงั คมทง้ั หมดจงึ ต้องปรบั เปลีย่ นวธิ กี ารมองแตป่ ระโยชน์เร่ือง“วัฒนธรรมเด่ียว” มาเป็น “พหุนิยมทาง วัฒนธรรม”กล่าวคือ ไม่มีต้นแบบวัฒนธรรมเพียงอย่างเดียว เช่นไม่มีแต่วัฒนธรรมไทยที่เป็น วฒั นธรรมหลวงเป็นหลกั เพียงอยา่ งเดียว แต่มีความหลากหลายมากมายอยู่ร่วมกนั ด้วย๕ ๒.๒ แนวคดิ ในการอย่รู ่วมกัน ๒.๒.๑ แนวคิดความเปน็ จริงสากล หรือ ตรสี ากล หัวใจเก่ียวพ้ืนฐานของ “สันติวิธี” ตามแนวทางของพระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต) ก็คือ หลักความเปน็ สากล ๓ ประการ (ตรีสากล) กล่าวคอื ๖ (๑) ความจริงท่ีเป็นสากล คือ หลักความจริงที่เป็นกลางๆ มีผลเสมอ เหมือนกนั แกท่ กุ คนทกุ ท่ี รวมทั้งทกุ ศาสนา ๕ ศิรจิ ติ สุนันต๊ะ, สถานะการโตแ้ ย้งเรอ่ื งพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย, วารสารภาษาและวฒั นธรรม, ปีที่ ๓๒ (ฉบบั ท่ี ๑), มกราคม-มถิ ุนายน ๒๕๕๖), หนา้ ๕-๓๐. ๖พระธรรมปฏิ ก (ป.อ.ปยุตโฺ ต), มองสันตภิ าพโลก ผา่ นภมู หิ ลงั อารยธรรมโลกาภวิ ัตน์, หนา้ ๑๘๙.

๑๒ (๒) ความเป็นมนุษย์ท่ีเป็นสากล คือความเป็นมนุษย์ท่ีจะต้องมองเห็น เข้าใจ ให้ความนบั ถอื เสมอกนั การทาร้ายและทาลายชีวิตมนุษย์ ไม่ว่าจะมีสังกัดใดหรือไม่ เป็นความไม่ดี ไม่ งามทัง้ ส้ิน (๓) ความมีเมตตาที่เป็นสากล คือ แผ่ความรู้สึกเป็นมิตร มีความรัก ความ ปรารถนาประโยชนส์ ุขแก่มนษุ ยท์ ั่วทกุ คนเสมอเหมือนกัน โดยไมม่ กี ารจากดั หรอื แบ่งแยก ๒.๒.๒ แนวคดิ เรอ่ื ง “ความสามัคคี” ในทัศนะของ มาร์ค ตามไท มองเร่ืองความสามัคคี ในแง่ของศักยภาพของสังคมท่ีจะทา บางอยา่ งรว่ มกันในบางสถานการณท์ เ่ี กิดขึ้น ความสามัคคีอาจจะไม่ใช่สิ่งท่ีปรากฏทุกวันในสังคม แต่ จะดารงอยู่ในลักษณะของแฝงในความหมายของศักยภาพ ดังนั้นสามัคคีจะเกิดข้ึน หรือแสดงตน ออกมาได้เม่ือคนในสังคมต้องการความร่วมมือเพ่ือกระทาการอะไรบางอย่าง หรือเพื่อปกปูองอะไร บางอย่างซง่ึ เป็นส่งิ ทคี่ นในสงั คมมองว่า มีคุณค่าและเม่ือใดคุณค่าดังกล่าวจะถูกทาลายความสามัคคีก็ จะถูกเรียกขึ้นมาเพอื่ ทาหนา้ ที่ในการปกปูองนอกจากนี้ นิธิ เอียวศรีวงศ์๗ ต้ังข้อสังเกตในประเด็นนี้ว่า ความสามัคคี หรือความพร้อมใจกันจะเกิดขึ้นได้ในสังคมน้ัน ต้องเกิดจาก ความเท่าเทียม ของคนใน สังคม ทั้งในด้านผลประโยชน์ หรือการต่อรอง หมายถึง ความพร้อมใจ ซึ่งเกิดจากการเจรจาต่อรอง กันอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ร้ขู ้อมลู ของกันและกันด้วย ตรวจสอบกันไดด้ ้วย จนเกิดความไว้วางใจซึ่งกันและ กัน๘ ๒.๒.๓ แนวคิดเร่ือง “สิทธมิ นษุ ยชน” ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights (UDHR) ให้ความหมายเกี่ยวกับสทิ ธมิ นษุ ยชน คือ ศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์ สทิ ธเิ สรีภาพ ความ เสมอภาค และความเปน็ พ่ีน้องว่า มนุษย์ทั้งหลายเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในเกียรติ ศักด์ิและ ๗ประเวศ วะสี, “ความสาคัญของสันติวิธีในเชิงยุทธศาสตร์”, ใน สันติวิถี: ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความ มั่นคง, สถาบันยุทธศาสตร์ สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (รวบรวม), (กรุงเทพมหานคร: สถาบันยุทธศาสตร์ สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ, ๒๔๕๒), หน้า ๒๒–๒๓. ๘นิธิ เอียวศรีวงศ์, “ความสาเร็จ หรือความล้มเหลวของลุ่มน้าแม่ตาช้างที่เชียงใหม่”, ในศิลปวัฒนธรรม (ปที ี่ ๒๔ฉบบั ที่ ๑๐) : สิงหาคม ๒๕๔๖), หนา้ ๖๘–๖๙.

๑๓ สิทธิ ต่างมีเหตุผล และมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยเจตนารมณ์แห่งภารดรภาพ เก่ียวข้องกับ สนั ติวธิ ีอย่างไร ศ.นพ.ประเวศ วะสี๙ กล่าวว่า (๑) การเคารพในความเป็นเพื่อนมนุษย์ระหว่างกัน จะ ทาให้สามารถแสวงหาข้อตกลงร่วมกันได้ (๒) การยึดมั่นในความเสมอภาคของความเป็นมนุษย์ โดย นาเสนอ หรอื รับรู้ข้อมูล และข่าวสารอย่างเท่าเทียมกันจะทาให้กระบวนการเจรจาสามารถเดินต่อไป ได้ หรอื อาจจะประสบความสาเรจ็ (๓) การยึดมั่นในความเสมอภาค จะทาให้คู่กรณีไม่สร้างอุบายเพ่ือ เอาเปรียบ (Trick) อันนาไปสู่การให้คาสัญญาลอยๆ ซ่ึงอาจจะเป็นการสร้างปัญหาในอนาคตได้ (๔) การเคารพ และยึดม่ันในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และความเสมอภาคจะทาให้เกิดผลดีต่อทุกฝุาย เพราะเป็นการเพ่มิ พูนปญั ญา จิตใจ และการพฒั นาการอยู่ร่วมกันใหม้ คี วามสุขมากขนึ้ ๒.๒.๔ แนวคิดเรอ่ื ง “ความยุติธรรม” การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธีจาเป็นต้องมีความยุติธรรมเข้ามาเก่ียวข้อง ตามทศั นะของ ประเวศ วะสี มองว่า สังคมต้องมีความยตุ ิธรรมความยตุ ธิ รรมในสงั คมเป็นรากฐานของ ความเจริญ สังคมใดกต็ ามท่ขี าดความยตุ ธิ รรมไมอ่ าจก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้ ไม่ว่าจะเป็นความ เจริญทางเศรษฐกิจ สังคมหรือจิตใจ แต่กลับเป็นบ่อเกิดของความทุกข์ ความขัดแย้ง การเสียกาลังใจ และนาไปสู่วิกฤติด้านต่างๆ รวมท้ังวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจท่ีเรากาลังเผชิญอยู่ ความยุติธรรมใน สังคมจึงเป็นเรื่องสาคัญ แต่เท่าท่ีผ่านมา สังคมไทยยังให้ความสาคัญกับเร่ืองนี้น้อยเกินไป ”๑๐ นอกจากน้ี วันชัย วัฒนศัพท์๑๑เห็นว่า ความรู้สึกไม่ยุติธรรม มักนาไปสู่ความขัดแย้ง และบางคร้ัง กลายเป็นความรุนแรงในทุกสังคม และชุมชน เพื่อเปล่ียนแปลงกระบวนการที่เขารู้สึกว่ายุติธรรม เกณฑ์ที่แสดงถึงความยุติธรรมในสังคม คือ การแบ่งปัน วิธีการ การได้รับการตอบแทน หรือฟื้นฟู ขอบเขตและระบบคุณธรรม หากไมช่ ัดเจน บกพร่องและไร้ความเป็นธรรม จาทาให้กลุ่มบุคคลท่ีได้รับ การปฏิบตั ริ ้สู กึ ไม่ยุติธรรม มารค ตามไท กลา่ วว่า หวั ใจสาคัญและเป็นแกนกลางของสันติวิธี คือ สันติ ๙ประเวศ วะสี, สันตวิ ธิ กี บั สทิ ธิมนุษยชน, หนา้ ๖-๗. ๑๐ประเวศ วะสี อ้างใน พิเชต สุนทรพิพิธ, ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา, บทบาทของผู้ตรวจการ แผ่นดินของรัฐสภากับการระงับข้อพิพาทอย่างสันติ, ดูเพ่ิมเติมใน <http://www.ombudsman.go.th/ articles_ main.asp?id=๑๐๐๐๘๐>. ๑๑วนั ชยั วัฒนศัพท์, ความขดั แยง้ : หลักการและเครอ่ื งมือแกป้ ญั หา, หน้า ๑๐๘-๑๑๐.

๑๔ ยุติธรรม (Just-Peace) เป็นเร่ืองท่ีครอบคลุมอยู่ในทุกๆ ศาสนา เช่นเดียวกับ ความรัก ความเสมอ ภาค๑๒ ๒.๒.๕ แนวคิดเรอ่ื ง “การมสี ่วนรว่ ม” สันติภาพจะเกิดขึ้นไม่ได้ถ้าขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน (Public Participation) ทีห่ มายถงึ กระบวนการซ่ึงสาธารณชนมีความห่วงกังวล มีความต้องการ และมีทัศนะ ทจ่ี ะมีส่วนร่วมกบั รฐั ในการตัดสินใจ เป็นกระบวนการสื่อสารสองทางที่มีเปูาหมายโดยรวมเพื่อให้เกิด การตัดสินใจที่ดีข้ึน และได้รับการสนับสนุนจากสาธารณชน”๑๓ วันชัย วัฒนศัพท์ กล่าวว่า กระบวนการที่ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่น้อยที่สุด คือ การได้รับทราบข้อมูลข่าวสารว่ารัฐจะทาอะไร หลงั จากไดต้ ดั สินใจเรยี บรอ้ ยแล้วแจง้ ใหป้ ระชาชนทราบ ถัดขึ้นมาคือ การท่ีรัฐรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน หลังจากได้ข้อมูลไปแล้วก่อนตัดสินใจ คือ ประชาพิจารณ์ สูงข้ึนมาอีกคือ ประชาชนได้มี โอกาสมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเร่ือง หรือในโครงการนั้น เพื่อให้เกิดข้อยุติโดยฉันทาคติ และสูง ท่ีสดุ คือ การสามารถลงมติแต่ละคนทลี ะคนวา่ “เอาหรือไม่เอา” ในการบวนการประชามติ”๑๔ การมี ส่วนร่วมมีความสาคัญในฐานะ (๑) เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อความรู้สึกสูญเสียอานาจ (๒) เป็น ช่องทางทจ่ี ะนาประชาชนมารว่ มกัน เพื่อแก้ปัญหาของส่วนรวม โดยสร้างความรู้สึกว่าเป็นปัญหาของ ทุกคน (๓) เป็นช่องทางท่ีจะสร้างให้เกิดการสื่อสารระหว่างกลุ่มในชุมชนเพ่ือท่ีเขาจะได้มาทาความ เข้าใจถงึ ความต้องการของแตล่ ะกล่มุ และสร้างความสมั พันธ์ท่ีดีจะยับย้ังการกระทาท่ีสุดโต่ง (๔) เป็น ช่องทางอีกทางหน่ึงในการสร้างชุมชนชนิดต่างๆ ส่ิงท่ีแรกคือ ฝึกอบรมผู้ท่ีจะเป็นผู้นาในอนาคต ในขณะท่ีประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการ เขาจะได้เรียนรู้วิธีท่ีจะมีอิทธิพลเหนือคนอื่นได้ อยา่ งไร และร่วมกันสรา้ งความร่วมมือไดอ้ ย่างไร (๕) สามารถสร้างให้เห็นสถานภาพของชุมชนว่าเป็น อย่างไร มันยังบ่งชี้ถึงการเป็นชุมชนที่สร้างสรรค์ จากการทางานร่วมกันเพื่อท่ีจะแก้ปัญหาน้ี มันบอก ๑๒มารค ตามไท, “ปัจจจัย และเง่ือนไขแห่งความสาเร็จของสันติวิธีในสังคมไทย”, บรรยายณ ห้อง ประชาธิปก สถาบนั พระปกเกล้า, (๑๑ มีนาคม ๒๕๔๗). ๑๓เจมส์ แอล เครตัน, วนั ชัย วฒั นศพั ท์ (ผู้แปล), การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการตดั สนิ ใจของชุมชน , หนา้ ๑. ๑๔วันชัย วฒั นศพั ท์, ความขัดแย้ง: หลกั การและเคร่ืองมือแก้ปัญหา, หนา้ ๑๔๔.

๑๕ ถึงความเป็นชุมชนท่ีเปิดเผย จากการตัดสินใจอย่างโปร่งใส บอกถึงความเป็นชุมชนที่ไว้เน้ือเชื่อใจ กัน๑๕ ๒.๓ แนวคิดเกีย่ วกบั การสรา้ งเครือข่าย เครือข่ายเป็นความสัมพันธ์เชิงกระบวนระบบที่เชื่อมโยงส่ิงต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยไม่ละท้ิง สาเหตุ ผลลัพธ์ และบริบทท่ีเก่ียวข้อง เป็นการมองสรรพส่ิงอย่างเป็นองค์รวม และเป็นระบบเปิดที่ สามารถจะเช่อื มโยงกับส่ิงอ่ืนๆ อย่างต่อเนื่องและสุดท้ายคือ ความเป็นกระบวนการท่ีทาหน้าที่ระหว่างกัน หรือการมีปฏิกิริยาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง การเป็นพวกกันหลายๆ องค์กรชุมชน เพื่อทางานร่วมกันอย่าง ต่อเน่ือง และมีเปูาหมายร่วมกันบางอย่างร่วมกัน เช่น เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ เกิดจากการท่ีกลุ่มออม ทรัพย์ในชุมชนต่างๆ มารวมกันเพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดจากการทากลุ่มออมทรัพย์ ฯลฯ๑๖ ซ่ึงสอดคล้องกับ เสรี พงษ์พิศ ให้คานิยามของ “เครือข่าย” ไว้ว่า เป็นการรวมกลุ่มของบุคคลในชุมชนระหว่างชุมชน กลุ่ม กับกลุ่ม ชุมชนกับชุมชน โดยมีหลักยึดตามขอบเขตพ้ืนที่ ประเด็นเน้ือหาและกระบวนการเรียนรู้เป็นหนึ่ง เดียว กระบวนการดังกล่าวเกิดจากท้องถ่ิน เหมาะสมกับท้องถ่ินท่ีจะช่วยให้บุคคลและชุมชนสามารถ ดาเนินชีวิตอยู่ได้ด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ คือ ภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน การปฏิบัติ แบบอย่างของผู้รู้ การ อบรมส่ังสอนในบริบททางสังคม คมนาคม แบบการติดต่อที่สะดวกย่ิงข้ึนทาให้การไปมาหาสู่ดูงาน การ ร่วมกันทา ข้ามเขตแดนของชุมชน อาเภอ จังหวัดและภาคเป็นไปได้ง่าย๑๗ และเครือข่าย คือกลุ่มของคน หรือองค์กรที่สมัครใจแลกเปล่ียนข่าวสารข้อมูลระหว่างกัน หรือทากิจกรรมร่วมกัน โดยมีการจัดรูปหรือ จัดระเบียบโครงสร้าง ท่ีคนหรือองค์กรสมาชิกยังคงมีความเป็นอิสระ กิจกรรมท่ีทาในเครือข่ายต้องมี ลักษณะเท่าเทียมกัน หรือแลกเปล่ียนซึ่งกันและกัน และการเป็นสมาชิกเครือข่ายไม่มีผลกระทบต่อความ เปน็ อิสระ หรอื ความเปน็ ตวั ของตัวเองของคน หรือองคก์ รน้ันๆ๑๘ ๑๕ เจมส์ แอล เครตัน, วันชัย วัฒนศัพท์ (ผู้แปล), การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของ ชมุ ชน, หนา้ ๖-๗. ๑๖อคิน รพีพัฒน์, การศึกษาและวิเคราะห์ชุมชนในการวิจัยเชิงคุณภาพ, (ขอนแก่น : หจก.โรงพิมพ์คลัง นานาวทิ ยา, ๒๕๔๙) ๑๗ เสรี พงศ์พิศ, เครือข่ายยุทธวิธีเพื่อประชาคมเข้มแข็ง ชุมชนเข้มแข็ง : วัฒนธรรมองค์กรของโลกยุค ใหม่, (กรงุ เทพมหานคร : สถาบันส่งเสรมิ วิสาหกิจชุมชน, ๒๕๔๘), ๑๘ขนฏิ ฐากาญจนรงั สนี นท์.(๒๕๔๒). การสร้างความเข้มแขง็ ของชุมชนโดยองคก์ รเครือขา่ ย. วารสารพัฒนา ชุมชน, ปที ่ี ๓๘ ฉบับท่ี ๙.

๑๖ ดังนั้น เครือข่าย จึงหมายถึง กลุ่มของคนหรือกลุ่ม หรือองค์กรที่มีความสมัครใจในการเรียนรู้ แลกเปล่ียนข้อมูล ขา่ วสาร ความรู้ ประสบการณ์ระหว่างกัน หรือลงมือทากิจกรรมร่วมกัน มีความสัมพันธ์ ระหวา่ งกันในหลายด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและอื่นๆ โดยมีการจัดรูปแบบการจัดการให้เป็นกลไก ขบเคล่ือนเช่ือมโยงกิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมเครือข่ายต้องมีลักษณะเท่าเทียมกัน และเห็นความตระหลัก ร่วมกนั ในเปูาหมายและแผนงานท่ีจะทา ๒.๓.๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ทสี่ าคัญต่อการจัดการเครือข่าย พระมหาสุทิตย์ อาภากโร๑๙ ได้กล่าวถึงประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ที่สาคัญต่อการจัดการ เครือข่าย ประกอบด้วย ๑. จุดมุ่งหมายร่วม การทางานเครือข่ายจะเกิดประสิทธิภาพสูงหากทุก ฝาุ ยสามารถกาหนดจุดหมายรว่ มกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจุดหมายที่ทุกฝุายเห็นและต้องการใหเ้ กดิ ขนึ้ ๒. บุคคล ในการทางานของเครือข่ายน้ัน บุคคลในเครือข่ายจะต้องมี จิตสานึกร่วม มีความถนัดในงานท่ีทา และมีส่วนร่วมในกระบวนการทางาน รวมท้ังได้รับผลประโยชน์จาก ความเปน็ สมาชิกในเครือข่าย ๓. การเชื่อมโยง การทางานของเครือข่ายจาเป็นต้องมียุทธศาสตร์ในการ เช่ือมโยงที่เหมาะสม โดยอาจเชื่อมต่อกันผ่านการทากิจกรรมต่างๆ การเชื่อมต่อโดยมีศูนย์ประสานงาน และการเช่ือมต่อโดยเทคโนโลยี ๔. การสร้างความร้สู กึ ร่วม หลงั จากการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว ทุกฝุาย จะตอ้ งมีความรูส้ ึกรว่ มกับกระบวนการทางานของเครือข่าย เพอื่ ให้เกิดพลังในการผลักดันเปูาหมาย ๕. การพัฒนาท่ีโปร่งใส ตรวจสอบได้ ระบบการทางานของเครือข่าย จะต้องสามารถและพัฒนาให้เกิดระบบการบริหารจัดการที่โปร่งใสและตรวจสอบได้จากทุกฝุาย ซ่ึงจะเป็น การสร้างความร้สู ึกทดี่ ตี ่อทุกฝายและผู้ท่จี ะเข้ามาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ๖. การจัดระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบการติดต่อส่ือสารและสารสนเทศ เป็นส่ิงที่มีความสาคัญย่ิงต่อความยั่งยืนของเครือข่าย เพราะจะช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ทราบถึงกจิ กรรมความเคล่ือนไหวของเครือขา่ ย ๒.๓.๒ กระบวนการจัดการเครือขา่ ย กระบวนการจดั การเครือข่ายว่า มี ๔ ขัน้ ตอนตามวงจรชวี ติ เครือข่าย ดงั น้ี ๑๙ พระมหาสุทติ ยอ์ าภากโร, เครือขา่ ย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ, พมิ พค์ รั้งท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร : โครงการเสริมสรา้ งการเรยี นรูเ้ พื่อชุมชนเปน็ สขุ , ๒๕๔๘) หน้า ๑๑๖.

๑๗ ๑. ขั้นการตระหนักและการก่อตัวของเครือข่าย เป็นขั้น ตอนท่ีมีความสาคัญยิ่ง เพราะ เป็นจุดเร่ิมต้นของการใช้พลังกลุ่มและความเป็นเครือข่ายในการจัดการกับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นมีวิธีการ ดงั น้ี (๑) การศึกษาข้อมูลและสภาพการณ์ เป็นการศึกษาข้อมูล สภาพการณ์ ความพร้อมภายในกลุ่มของตนเองและข้อมูลของกลุ่มเครือข่ายอ่ืนรวมทั้งสภาวการณ์ทางสังคม ทาให้ ทราบถึงกิจกรรมและบรบิ ททเ่ี ก่ยี วข้อง เพือ่ นามาเป็นแนวทางในการที่จะสง่ เสริมหรือจดั การเครือข่าย (๒) การสร้างศรัทธาและหาแนวร่วม เป็นการสร้างความเชื่อถือให้กับฝุาย ต่างๆ เชน่ ความเชื่อถือในเรอ่ื งของข้อมูล บุคคล ความสาคัญของปัญหา สร้างความคุ้นเคยกับบุคคลที่เป็น ผูน้ า (๓) การสร้างความตระหนักหรือการเสนอให้เห็นประเด็นปัญหา (๔) การแสวงหาข้อมูลทางเลือก การค้นหาความต้องการและการหาจุด รว่ มในการพัฒนาเครือข่าย (๕) การแสวงหาทางเลือกในการทากิจกรรมที่ส่งเสรมความสัมพันธ์และ การแสวงหาแกนนาเครือข่ายและ (๖) การสร้างระบบความสัมพันธ์ของเครือข่าย ๒. ขั้นการสร้างพันธกรณีและการบริหารเครือข่าย เป็นข้ัน ที่จะก่อเกิดความร่วมมือของ ความเป็นเครือขา่ ย และการบรหิ ารจัดการทั้งภายในและภายนอกเครือข่าย มวี ิธีการจัดการดงั นี้ (๑) การกาหนดวตั ถุประสงค์และข้อตกลงร่วม (๒) การกาหนดบทบาท หนา้ ที่ และการวางผังเครือขา่ ย (๓) การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นา (๔) การจัดระบบการตดิ ต่อสื่อสาร (๕) การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ท่ตี ่อเน่ือง (๖) การติดตามและประเมินผลแบบมสี ว่ นร่วม (๗) การส่งเสริมและดารงไว้ซึง่ ความสัมพันธ์ ๓. ขนั้ การพัฒนาความสัมพนั ธ์และการใชป้ ระโยชน์ มีวิธกี ารดงั น้ี (๑) การทบทวนและสรปุ บทเรียน (๒) การเสรมิ สรา้ งผ้นู าและหน่วยนาของเครือข่าย (๓) การเสริมสรา้ งกจิ กรรมสาธารณะแลเวทีแห่งการแลกเปลยี่ นความรู้ (๔) การขยายกิจกรรมและมโนทัศน์

๑๘ (๕) การสรา้ งความรู้ใหม่และการจัดการความรู้ท่ีต่อเน่ือง (๖) การเสริมสรา้ งวัฒนธรรมเครอื ข่ายเพ่ือขจัดความขดั แย้ง (๗) การเสรมิ สรา้ งความน่าเช่ือถือและระบบการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม ๔. ข้ันการรักษาความสมั พนั ธ์และความต่อเน่ือง มีแนวทางดงั น้ี (๑) การจัดกิจกรรมทีต่ ่อเน่ือง (๒) การรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหวา่ งสมาชกิ ของเครือข่าย (๓) การเสริมสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยเทคโนโลยีและความรใู้ หม่ (๔) การกาหนดและสร้างแรงจูงใจในการทางาน (๕) การบริหารจัดการข้อมูล ระบบส่ือสาร และการจัดการความรู้ท่ี ตอ่ เนอื่ ง (๖) การใหค้ วามช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาภายในเครือข่าย (๗) การเสรมิ สร้างผูน้ ารุ่นใหม่อย่างต่อเน่ือง๒๐ ดังน้ัน เครือข่ายทางสังคมและเครือข่ายในเชิงพื้นท่ีจึงเป็นรูปแบบการทางานในลักษณะ สรา้ งความร่วมมอื ประสานงานกันในแนวราบ ระหว่างผู้ท่ีเกี่ยวข้องด้วยการระดมสรรพกาลัง อันรวมถึงคน สติปัญญา ความสามารถ และทรัพยากรในการทางาน เพ่ือเอาชนะปัญหาในเชิงพ้ืนที่ และเป็นแนวทางท่ี ตรงกันกับแนวคิดของการพัฒนาปัจจุบันที่ให้ยึดพ้ืนท่ีประสานภารกิจและร่วมทรัพยากร (Area, Function, Participation) เป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาสังคมให้เข็มแข็ง ในขณะที่เครือข่ายเป็นการเร่ิมต้น ด้วยการสร้างเปูาหมายร่วมกันของภาคีสมาชิก ซึ่งแม้ว่า สมาชิกท่ีเก่ียวข้องจะมีบทบาทหน้าท่ี ความ รับผิดชอบ หรือความถนัดต่างๆ กัน แต่เมื่อทุกคนได้เข้ามารับรู้ในเปูาหมายหรือปัญหาร่วมกันแล้ว มี เปูาหมายร่วมกัน สมาชิกแต่ละส่วนก็จะได้แสดงบทบาทตามศักยภาพ ความถนัดของตน เพ่ือแก้ไขปัญหา และพัฒนาท่ีสนองต่อกลุ่มเปูาหมายได้อย่างแท้จริง โดยเครือข่ายทางสังคมในเชิงพ้ืนที่มีเข้าใจในสภาพ ปัญหาและเข้าถึงกลุ่มเปูาหมายไดโ้ ดยง่าย ๒๐พระมหาสุทิตย์อาภากโร, เครือข่าย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ, พิมพ์ครั้งท่ี ๒,(กรุงเทพมหานคร : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพอื่ ชมุ ชนเปน็ สขุ , ๒๕๔๘), หน้า ๑๑๘.

๑๙ ๒.๔ แนวคิดเกีย่ วกบั การมีส่วนรว่ ม ๒.๔.๑ ความหมายของการมสี ่วนรว่ ม เพื่อที่จะให้แนวทางในการพิจารณาเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน ผู้วิจัยได้ขอ นาเสนอแนวคดิ และทฤษฎีของนกั วชิ าการหลายท่านทไ่ี ด้ศกึ ษาและรวบรวมไว้ดังนี้ การมสี ่วนร่วม หมายถึง กระบวนการทใ่ี ห้ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้ตระหนักรู้ รับรู้ มโี อกาสเข้ามาแสดงบทบาท ทศั นคติ และความคิดเหน็ ที่เกี่ยวข้องกบั การดาเนินการพัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในการแก้ปัญหาชมุ ชนของตนเอง เปน็ การเน้นการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์และความ ชานาญและมีการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและมีทักษะของประชาชนในการแก้ไขปัญหาร่วมกับการ ใช้วิทยาการภูมิปัญญาที่เหมาะสมชัดเจน โปร่งใส ต่อเนื่อง และเป็นระบบซ่ึงในท่ีนี้ คณะผู้วิจัยใช้ แนวทาง ยวุ วัฒน์ วุฒเมธี.ได้ให้ความหมายวา่ การมีส่วนร่วมหมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้า มาทากิจกรรมให้มากที่สุด เพ่ือให้เขาได้เป็นผู้ตัดสินใจ ลงมือทางานตามท่ีเขาตัดสินใจด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการทาให้เขาได้ปฏิบัติตามความสนใจและความต้องการ การท่ีเขาได้เข้ามามีส่วนร่วมใน โครงการน้นั จะทาให้เขาพัฒนายง่ิ ข้นึ ๒๑ ทวีทอง หงส์วิวัฒน์ ได้ให้ความหมายว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง หมายถึง การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการ การควบคุมการใช้ การ กระจายทรพั ยากร และปัจจัยการผลิตท่มี ีอยใู่ นสังคม เพอื่ ประโยชน์แก่การดารงชีพทางเศรษฐกิจและ สังคมตามความจาเปน็ อยา่ งสมศักดศ์ิ รี ในฐานะของสมาชกิ ในสังคม และได้พัฒนาการรับรู้ และภูมิปัญญา ซ่ึงแสดงออกในรูปการตัดสินใจการกาหนดชีวิตของ ตนเองอยา่ งเป็นตัวของตวั เอง ๒๒ ชนิ รัตน์ สมสบื ได้ใหค้ วามหมาย การมีส่วนร่วม หมายถึง การทางานร่วมกลุม่ เพอื่ ให้บรรลุ วัตถุประสงค์ด้วยความร่วมมือร่วมใจ โดยการกระทาการดังกล่าวในห้วงเวลาและลาดับเหตุการณ์ท่ี ๒๑ยุววัฒน์ วฒุ เมธี, “แนวคิดเก่ยี วกบั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน”, (กรงุ เทพฯมหานคร : ศนู ย์ มานุษยวทิ ยาสริ ินธร,๒๕๕๕), หนา้ ๓๓. ๒๒ทวีทอง หงสว์ วิ ัฒน์, “การประชมุ เรื่องการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา:นโยบายและ กลวิธ,ี (กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ศกึ ษานโยบายสาธารณสขุ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล,๒๕๔๗), หนา้ ๔๒.

๒๐ ทรงประสิทธภิ าพ คอื ถูกจงั หวะเวลาเหมาะสมกับงานดังกล่าว ด้วยความรู้สึกผูกพันให้ประจักษ์ว่า เชื่อถอื ได้ ๒๓ นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์ได้ให้ความหมายว่าการมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง “การ เกี่ยวข้องทางด้านจิตใจ และอารมณ์ของบุคลในสถานการณ์กลุ่มของการเก่ียวข้องดังกล่าวเหตุให้ กระทาบรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มน้ันทาให้เกิดความรับผิดชอบกับกลุ่มดังกล่าว สรุปความหมายของ การมีส่วนร่วมของประชาชน คือ ความรู้การศึกษาร่วมของบุคคลในกลุ่ม องค์กรหรือชุมชนซึ่งเป็น ตัวกระตนุ้ ให้บคุ คลนั้น๒๔ ทัดดาว บญุ ปาล การมสี ่วนร่วมทางสังคมของชุมชนของบุคคลน้ัน มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ สถานภาพทางสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานภาพทางอาชีพ และที่อยู่อาศัย โดยบุคคลที่มี สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจตกต่า จะเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนน้อยกว่าบุคคลท่ีมี สถานภาพ๒๕ทางสังคมและเศรษฐกิจสูง นอกจากนั้นแล้วได้มีการแหล่งอานาจและการตัดสินใจใน การเข้ารว่ มกิจกรรมตา่ ง ๆ ของชุมชน ซง่ึ จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้าน คือ ด้านการศกึ ษา และการเงินเป็นสิ่งหน่ึงที่แสดงถึงสถานภาพทางสังคม แหล่งอานาจทั้งสอง ชนิดน้ี ถ้าผู้ใดได้ครอบครองหรือมีไว้ ก็จะเป็นผู้ที่มีบทบาทสูงในชุมชน โดยเฉพาะในการมีส่วนร่วม ในการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ของชมุ ชน ดังน้ันแล้ว คงจะไม่ผิดนักหากจะกล่าวว่า แท้จริงแล้วบทบาทของพระสงฆ์นั้นอยู่คู่มากับ การพัฒนาสังคมไทยมาโดยตลอดนอกจากฐานะทางเศรษฐกิจและระดับการศึกษาแล้ว คุณลักษณะ ทางสังคม ไม่วา่ จะเป็นความเชื่อ ค่านยิ ม ตลอดจนนสิ ยั ประเพณีในชุมชน ก็อาจมีผลต่อการมีส่วน ร่วมของชุมชนเช่นเดียวกันกระทากิจกรรมให้สาเร็จตามจุดมุ่งหมายของกลุ่ม และเกิดความรู้สึก รับผิดชอบกับกลุ่มของตน ถ้าสมาชิกขาดความรู้ร่วมเป็นเจ้าของในการกระทากิจกรรมใด ๆ แล้ว สมาชิกก็จะไม่กระทากิจกรรมน้ัน ๆ เพราะถือว่าไม่ใช่เร่ืองของตนจึงไม่อยากยุ่งเก่ียว และไม่มีส่วน รว่ มรบั ผิดชอบใด ๆ เนือ่ งจากมิไดม้ สี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมดังกล่าว ทาให้เกดิ ความล้มเหลวในกล่มุ ๒๓ชินรัตน์ สมสบื , “การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการพฒั นาชนบท”,(นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช๒๕๓๙), หนา้ ๒๑. ๒๔นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์, “กระบวนการส่งเสริมความเข็มแข็ง”, (ขอนแกน่ : คลงั นานาวทิ ยา,๒๕๔๓). หน้า ๒๘๓. ๒๕ทดั ดาว บญุ ปาล, “พธิ กี ารจดั งานศพแนวประหยดั ”, (กรงุ เทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแห่งชาต,ิ ๒๕๓๐), หนา้ ๒๗.

๒๑ สุขพัฒน์อนนท์จารย์. ได้ให้ความหมายเก่ียวกับการมีส่วนร่วมหมายถึง กระบวนการให้คน เข้ามาเก่ียวข้องในการดาเนินการพัฒนา ร่วมคิด ตัดสินใจ ร่วมกันแก้ปัญหา เน้นการมีส่วนร่วม เกี่ยวข้องอย่างเข้มแข็ง แก้ไขปัญหาร่วมกับการใช้วิทยากรท่ีเหมาะสม ติดตามประเมินผลการ ปฏบิ ัติงานอย่างไกลช้ ดิ ๒๖ สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การท่ีบุคคลเข้าร่วมในกระบวนการร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมกันในการออกความคิดสร้างสรรค์ ร่วมในกระบวนการตดสินใจ รวมพัฒนา ร่วมรับผิดชอบ การ ดาเนินงานต่าง ๆ และทากิจกรรมพัฒนาร่วมกัน โดยการนาความสามารถที่บุคคลมีอยู่มาใช้เพ่ือให้ วัตถุประสงค์ของกลุ่มและนาไปสู่ความสาเร็จ รูปแบบของการมีส่วนร่วมท่ีพึงประสงค์และเป็นที่ ยอมรับร่วมกัน มีจุดสาคัญอยู่ท่ีประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่จะเป็นไปในลักษณะแบบ สมัครใจและเข้ารว่ มการตัดสินใจและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างแข็งขัน แต่คุณสมบัติดังกล่าวจะเกิดข้ึนได้ ตอ้ งอาศยั กระบวนการเริ่มต้น และการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งไมใ่ ช่เปน็ การจาลองแบบหรือการนาเอามา รวมใสไ่ ด้ในจดุ ใดจดุ หนงึ่ ชานาญ วัฒนศิริ การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การร่วมกันในการปะทะสังสรรค์ ทางสังคม ซึง่ รวมทงั้ การมสี ว่ นรว่ มของปจั เจกบุคคลและการมสี ่วนร่วมเป็นกล่มุ ๒๗ จานงค์ จิตรนิรัตน์ ให้ความหมายว่า การมีส่วนร่วมคือการที่กลุ่มของประชาชนก่อให้เกิด การรวมตัวที่สามารถจะกระทาการตัดสินใจใช้ทรัพยากร และมีความรับผิดชอบในกิจกรรมที่กระทา ในกล่มุ ๒๘ การมีส่วนร่วมของประชาชนไปสัมพันธ์กับเรื่องการสร้างประชาธิปไตยทางการเมือง หรือ มิฉะน้ันก็เอาไปเกี่ยวพันกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หรือการเติบโตตามคาว่า “พัฒนา” ช้ีนา หรือท่ีใช้กันบ่อยๆ คือ ในแง่ที่รัฐบาลจะเข้าไปกับสภาพของการ “มีส่วนร่วม” ท่ีรัฐบาลใช้ ความหมายของการมสี ่วนร่วมอยา่ งกว้างๆ เชน่ การมีส่วนช่วยเหลอื โดยสมคั รใจ๒๙ การให้ประชาชนเข้าร่วมกบั กระบวนการตัดสินใจและกระบวนการดาเนินการของโครงการ ตลอดจนร่วมรับผลประโยชน์จากโครงการเหล่านี้ ล้วนเป็นข้อความที่ดูจะมีความคล่องตัว ดูเป็นการ ๒๖สขุ พัฒน์ อนนทจ์ ารย์, “ปรชั ญา และศาสนา”, (กรงุ เทพฯ : สุขภาพใจ.๒๕๕๕), หนา้ ๖. ๒๗ชานาญ วัฒนศริ ิ, “ความเขม้ แขง็ ของชุมชนและประชาคม”, (วารสารพัฒนาชุมชน ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒), หนา้ ๑๗-๗๘. ๒๘จานงค์ จติ รนริ ตั น.์ “การกระทาทางสังคม.” (กรงุ เทพฯ : ภาควิชาสังคมวทิ ยาและมนุษย์วิทยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ พิมพ์คร้ังท๒ี่ . ๒๕๔๑).หน้า ๔-๘.

๒๒ ปฏบิ ตั งิ านทีจ่ รงิ จงั ซึง่ บ่งบอกว่าโครงการหรือแผนงานน้นั การมสี ่วนร่วมจะมีการกาหนดวัตถุประสงค์ และขนั้ ตอนการดาเนินงานอยา่ งไร สาหรบั ความหมายของการมสี ว่ นร่วมที่ระบุค่อนข้างเฉพาะเจาะจง เช่น การที่จะให้ประชาชนมีทั้งสิทธิและหน้าที่ท่ีจะเข้าร่วมแก้ปัญหาของเขา ให้เขาเป็นผู้มีความริเร่ิม และมุ่งใช้ความพยายามและความเป็นตัวของตัวเองเข้าดาเนินการและความคุมทรัพยากรและ ระเบยี บในสถาบันต่างๆ เพอ่ื แก้ปญั หาเหลา่ น้ี ก็เป็นการแสดงถึงความหมายที่บอกถึงสภาพการมีส่วน ร่วมท่ีเน้นให้กลุ่มร่วมดาเนินการ และมีจุดสาคัญท่ีจะให้การมีส่วนร่วมน้ันเป็นการปฏิบัติอย่างแข็งขัน มิใช่เปน็ ไปอยา่ งเฉยเมยหรือมีส่วนร่วมพอเป็นพธิ ีเท่าน้นั พงษธ์ ร ธัญญสิริ กลา่ ววา่ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน หมายถงึ ๑. กระบวนการซ่ึงมวลชนเข้ามามีส่วนเก่ียวข้องในข้ันตอนต่างๆ ของกิจกรรม ของสว่ นรวม ๒. มวลชนท่ีเข้าร่วมได้ใช้ความพยายามส่วนตัว เช่น ความคิด ความรู้ ความสามารถ แรงงาน ตลอดจนทรัพยากรของตนต่อกิจกรรมนั้นๆ หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า การ เกี่ยวข้องของกิจกรรมต่างๆ ของมวลชน๓๐ มาลี จันทโรธรณ์ กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชน ได้มีส่วน ร่วมในการคิดริเร่ิม การพิจารณาตัดสินใจ การร่วมปฏิบัติและร่วมรับผิดชอบในเร่ืองต่างๆ อันมี ผลกระทบถงึ ตวั ประชาชน๓๑ นิธิ เอียวศรีวงศ์ กล่าวว่า การมีส่วนร่วม หมายถึง การเก่ียวข้องทางด้านจิตใจและอารมณ์ (Mental and Emotional involvement) ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์กลุ่ม (Group situation) ซึ่งผลของการเกย่ี วขอ้ งดังกลา่ วเป็นเหตุเร้าใจให้กระทาการให้ (Contribution) บรรลุจุดมุ่งหมายของ กลมุ่ นน้ั กับทัง้ ทาให้เกดิ ความรสู้ กึ ร่วมรับผดิ ชอบกับกล่มุ ดังกลา่ วด้วย๓๒ ทวีทอง หงส์วิวัฒน์ ให้คาจากัดความของการมีส่วนร่วมของประชาชนว่าหมายถึง การท่ี ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขดี ความสามารถของตนเองในการจัดการและควบคุม การใช้และกระจาย ๓๐พงษ์ธร ธัญญสริ ิ, “ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางการศึกษา”, (กรงุ เทพฯ : สถาบันแห่งชาติเพื่อปฏิรูปการ เรียนรู้ (สกศ.) ๒๕๔๓), หน้า ๓๗. ๓๑มาลี จันทโรธรณ์, “วฒั นธรรม สมัยใหม่ จุดเปลีย่ นของวัฒนธรรมและวฒั นธรรมนยิ ม”, (กรงุ เทพฯมหานคร : ศนู ย์มานุษยวิทยาสริ ินธร,๒๕๕๔), หน้า ๑๑๒. ๓๒นธิ ิ เอยี วศรีวงศ์, การจัดการความรสู้ ู่การจัดการทางสังคม, (กรงุ เทพฯ: มลู นธิ .ิ วงศ.์ ๒๕๔๗), หน้า ๒๔.

๒๓ ทรัพยากร และปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ในสังคม เพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม ตามความจาเปน็ อย่างสมศกั ดศิ์ รีในฐานะสมาชิกสงั คม ๓๓ ไพรัตน์ เตชะรินทร์ กล่าวว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง กระบวนการท่ีรัฐบาล ทาการสง่ เสรมิ ชักนา สนับสนุน การสร้างโอกาสให้ประชาชนในชุมชนท้ังรูปแบบส่วนบุคคล กลุ่มชน สมาคม มลู นธิ ิ และองคก์ ารอาสาสมคั รรปู แบบต่างๆ ใหเ้ ขา้ มามีสว่ นรว่ มในการดาเนนิ งานเร่ืองใดเรื่อง หนง่ึ หรอื หลายเรือ่ งรวมกัน ๓๔ ปรัชญา เวสารัชช์ ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชนว่าหมายถึง การที่ ประชาชนเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยการใช้ความพยายามหรือใช้ทรัพยากรบางอย่างส่วนตน ในกิจกรรมซึ่ง มงุ่ สู่การพฒั นาของชมุ ชน๓๕ สัญญา สัญญาวิวัฒน์ ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชนว่าหมายถึง พฤติกรรมอันกอรปด้วยการร่วมและสมยอมตามพฤติกรรมที่คาดหวังของกลุ่มทางการและไม่ใช่ ทางการ หรือในความหมายกค็ ือ การทปี่ ระชาชนกอ่ ให้เกิดสิ่งต่างๆ ร่วมกนั นนั่ เอง๓๖ กลา่ วโดยสรปุ แลว้ การมสี ว่ นร่วม ของประชาชนมคี วามหมายเป็น ๒ นยั ด้วยกัน คอื ความหมายอยา่ งกวา้ ง การมีสว่ นรว่ มของประชาชน หมายถงึ การทป่ี ระชาชนเขา้ ไปมี ส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายของประเทศ และการบริหารประเทศ โดยผ่านกระบวนการทาง การเมือง เช่น การเป็นผู้บริหารพรรคการเมือง การเป็นสมาชิกพรรคการเมือง การเป็น สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรการเปน็ รัฐมนตรี การเปน็ คณะรัฐมนตรี เป็นตน้ รวมถงึ การเข้าไปมสี ว่ น รว่ มในการบรหิ ารท้องถนิ่ และการเปน็ สมาชิกสภาทอ้ งถ่นิ ด้วย ๓๓ทวที อง หงสว์ วิ ฒั น์, “การประชุมเรอ่ื งการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา:นโยบายและ กลวิธ”ี , (กรุงเทพมหานคร: ศูนยศ์ กึ ษานโยบายสาธารณสุข มหาวทิ ยาลัยมหิดล, ๒๕๔๗), หน้า ๔๒. ๓๔ไพรัตน์ เตชะรินทร์, “ความรว่ มมือการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา”, (กรงุ เทพมหานคร : สานกั งานข้าราชการพลเรอื น, ๒๕๕๔), หน้า ๖. ๓๕ปรัชญา เวสารัชช์, “การมสี ่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมเพ่ือพฒั นาชนบท”, รายงานการวิจัย, (กรงุ เทพมหานคร:สถาบันไทยศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์,๒๕๔๘), หนา้ ๕. ๓๖สัญญา สัญญาววิ ัฒน์, “การพ่ึงตนเองทางเศรษฐกจิ ในชนบท”, (กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาการพมิ พ์ ,๒๕๓๘), หนา้ ๒๘๘.

๒๔ ๒.๔.๒ เงอ่ื นไขและปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ การมสี ่วนร่วม การท่ีชุมชนจะตัดสินใจเข้ามามีส่วนร่วมกันในงานยุติธรรมชุมชน และร่วมรับผิดชอบใน โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งระบบนั้น ขึ้นอยู่กับเง่ือนไขและปัจจัยหลายประการ ทั้งปัจจัยส่วน บุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเป็นคุณลักษณะภายในของบุคคล ซึ่งเป็นการรับรู้ข้อมูลที่ เกดิ ขน้ึ จากภายนอก ๑) ความสาคัญของการมีสว่ นรว่ ม พระพทุ ธโฆษาจารย์ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในกิจกรรมเพ่ือพัฒนาชนบทยัง ไดอ้ ธบิ ายถึง การมสี ่วนรว่ มของประชาชนมคี วามสาคญั ครอบคลมุ ประเด็นตา่ ง ๆ ท่สี าคัญ ดงั นี้ (๑) การมีส่วนร่วมของประชาชนครอบคลุมการสร้างโอกาส ท่ีเอื้อให้ สมาชิกทุกคนของชุมชนและสังคมได้ร่วมกิจกรรมซึ่งนาไปสู่การมีอิทธิพลต่อกระบวนการพัฒนา และ เอื้อใหไ้ ดร้ ับประโยชนจ์ ากการพฒั นาโดยเทา่ เทยี มกัน (๒) การมีส่วนร่วมสะท้อนการเข้าเก่ียวข้องโดยสมัครใจ และเป็น ประชาธิปไตยในกรณีตอ่ ไปนี้ - การแบ่งสรรผลประโยชนจ์ ากการพฒั นาโดยเท่าเทียมกัน - การตัดสินใจเพ่ือกาหนดเปูาหมาย การกาหนดนโยบาย การ วางแผน และการดาเนนิ การโครงการพฒั นาทางเศรษฐกิจและสงั คม -. การสร้างโอกาสการเอื้อให้ได้รับประโยชน์จากการพัฒนาเท่าเทียม กัน (๓) เมอื่ พิจารณาในแง่นี้ การมีส่วนร่วมเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างส่วนท่ี เป็นประชาชนลงแรงและทรพั ยากร เพื่อพฒั นากบั ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการลงทุนลงแรงระดับท้องถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับชาติจะก่อให้เกิดความเช่ือมโยงระหว่างสิ่งท่ีประชาชนลงทุนลงแรงกับ ประโยชน์ทไี่ ด้ (๔) ลักษณะของการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจผิดแผกแตกต่าง ตามสภาพเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายและโครงสร้างการบริหารรวมท้ังลักษณะเศรษฐกิจสังคม ของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนมิได้เป็นเพียงเทคนิควิธีการ แต่เป็นปัจจัยที่สาคัญในการ ประกันให้เกดิ กระบวนการพฒั นาทีเ่ ออ้ื ประโยชน์ต่อประชาชน๓๗ ๓๗พระพทุ ธโฆษาจารย์, “กาลานกุ รม พระพทุ ธศาสนาในอรยิ ธรรมโลก, (กรุงเทพฯ: เพ็ทแอนดโ์ อม. ๒๕๒๘), หนา้ ๓๕.

๒๕ จรูญ สภุ าพ ได้กลา่ วถงึ การมีส่วนรว่ มทางการเมืองแบบโบราณไว้ ดังน้ี ๑. การมีส่วนร่วมแบบกรีก (Greek System) วัตถุประสงค์ของการมีส่วนร่วม ทางการเมืองแบบน้ี ต้องการให้ประชาชนซ่ึงเป็นพลเมืองของประเทศ ได้มีส่วนร่วมในทางการเมือง โดยตรง ซึ่งกาหนดให้ประชาชนทั้งนครรัฐประชุมร่วมกันเพ่ือเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความ คิดเห็น ความต้องการและกาหนดนโยบาย รวมท้งั กาหนดตัวผู้ปกครองด้วย๓๘ ๒. การมีส่วนร่วมแบบโรมัน (Roman System) การมีส่วนร่วมทางการเมือง แบบนี้ได้กาหนดให้มีสภาขึ้นแทนการประชุมประชาชนท้ังหมด ส่วนอานาจหน้าท่ีสภาน้ันครอบคลุม เสมอื นการปกครองโดยประชาชนโดยตรง ๓. การมีส่วนร่วมแบบศักดินา (Feudal System) เป็นลักษณะของ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายกับไพร่ (Vassal) ท่ีแต่ละฝุายมีหน้าท่ีต่อกัน เจ้านาย (Lord) มีหน้าที่ให้ ความคุ้มครองและปกครองไพร่ สว่ นไพรม่ หี นา้ ท่ีบรกิ ารด้านตา่ ง ๆ ให้เจา้ นาย ๔. การมีส่วนร่วมแบบสวิส (Swiss System) มีลักษณะสาคัญคือ เปิดโอกาสให้ ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรง เชน่ เดยี วกับระบบกรีก ๕. การมีส่วนร่วมแบบนิวอิงแลนด์ (New England System) มีการให้ ประชาชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มโดยตรง เช่นเดยี วกับแบบสวิส โอภาส ปัญญา ได้กล่าวถึงการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางตรงของประชาชนใน ปจั จบุ ันไวด้ ังนี้ - การแสดงประชามติ (Referendum) มีการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ พจิ ารณาและการตัดสินใจที่จะรับหรือไม่รับกฎหมาย ซึ่งจะออกผลบังคับให้แก่ตนท่ีผ่านการพิจารณา ของสภาเป็นข้ันต้นมาแล้ว ประชามติน้ี อาจจะมีท้ังแบบบังคับใช้ ประชาชนต้องแสดงประชามติและ ไม่บงั คับให้ต้องแสดงประชามติกไ็ ด้ ขึน้ อยู่ว่าความจาเป็นมากน้อยเพียงใด๓๙ - การริเร่ิมให้เสนอกฎมาย (Initiative) เกิดข้ึนในสวิสเป็นเวลานานแล้ว ได้แก่ การชุมนุมของผู้มีสิทธิเลือกต้ังเหมือนกับวิธีแบบประชุมชาวเมืองในสหรัฐอเมริกา แต่เป็นการเสนอ กฎหมายรูปการจะเป็นการทาคาร้อง และลงมติในบัตรเลือกต้ัง จุดประสงค์ของการริเร่ิมให้เสนอ กฎหมายนี้ เพ่ือใหป้ ระชาชนไดผ้ า่ นกฎหมายบางอย่าง ไม่ต้องฟังความคดิ เหน็ ของสภา ๓๘จรูญ สภุ าพ, “การพัฒนาประเทศ, (กรุงเทพฯ : พมิ พล์ ักษณ์. ๒๕๕๐), หนา้ ๙-๑๐. ๓๙โอภาส ปญั ญา, “ประสบการณจ์ ริงจากชมุ ชนเขม้ แขง็ ระดบั ตาบล ๔ ภาค, (กรุงเทพฯ : พมิ พ์ดี จากัด. ๒๕๔๒), หนา้ ๑๔๑.

๒๖ - การเลือกออกใหม่ (Recall) เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีอานาจในการ ปลดอานาจหน้าที่ของฝุายบริหารหรือรัฐบาลได้ เม่ือเห็นว่าผู้น้ันไม่ดาเนินการตามความต้องการของ ประชาชนหรือปฏบิ ัตติ นไม่สมควร แตจ่ ะตอ้ งเป็นตาแหน่งทม่ี าจากการเลือกตงั้ -. การร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมตัดสินใจ (Plebiscite) เป็นการเปิดโอกาส ให้ประชาชนแสดงความคดิ เหน็ และรว่ มตัดสนิ ใจในปญั หาที่สาคัญ เม่ือรัฐบาลไม่สามารถตัดสินปัญหา นั้น ๆ ได้ อุบล เสถียรปกิรณกรณ์ กล่าวถึง การมีส่วนร่วมไว้ว่าเป็นกระบวนการที่รัฐบาลทาการ สง่ เสรมิ ชักนา สนบั สนนุ และเสริมสร้างโอกาสใหป้ ระชาชนในชุมชนทั้งในรูปส่วนบุคคล เรื่องเดียวกัน กลุ่มคน ชมรม สมาคม มูลนิธิ และองค์การอาสาสมัครรูปแบบต่าง ๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนนิ งานเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือหลายเรื่องรวมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และนโยบายการพัฒนา ที่กาหนดไวโ้ ดยมีลักษณะดังต่อไปน้ี ๑. ร่วมทาการศึกษาค้นคว้า ปัญหาและสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ตลอดจนความต้องการของชมุ ชน ๒. ร่วมคิดสร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนา เพ่ือแก้ไขลดปัญหาของชุมชนหรือ สร้างสรรค์สงิ่ ใหมท่ เ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อชมุ ชนหรือสนองความต้องการของชมุ ชน ๓. ร่วมวางนโยบายหรือแผน หรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อขจัดและแก้ไขปัญหา และ สนองความตอ้ งการของชุมชน ๔. ร่วมตดั สนิ ใจในการใชท้ รัพยากรที่มีอยอู่ ย่างจากัดใหเ้ ปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม ๕. ร่วมปรับปรุงระบบการบริหารงานงานพัฒนาให้มีประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล ๖. ร่วมการลงทุนในกิจกรรมโครงการของชุมชนตามความสามารถของตน หนว่ ยงาน ๗. ร่วมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการกิจกรรมให้บรรลุตามเปูาหมายท่ี วางไว้ ๘. ร่วมควบคุมติดตามประเมินผล บารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่ได้ทาท้ัง โดยเอกชนและรฐั บาลให้ใชป้ ระโยชนต์ ลอดไป พุทธทาสภิกขุ กล่าวว่า การมีส่วนร่วมในการพัฒนาของประชาชน คือ การที่ประชาชนจะ เขา้ มามีบทบาทในการรว่ มคิด รว่ มทา รว่ มแก้ไข และรว่ มมีผลประโยชน์ ซ่งึ กระทาได้ดังน้ีคอื

๒๗ ๑. เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการกาหนดว่า อะไรคือ ความจาเป็นขั้นพ้ืนฐาน ของชุมชน ๒. เป็นผูร้ ะดมทรัพยากรตา่ ง ๆ เพอ่ื สนองตอบความจาเป็นพ้ืนฐาน ๓. เป็นผู้มีบทบาทในการปรับปรุงวิธีการกระจายสินค้าและบริการให้สมบูรณ์ ขึ้น ๔. เป็นผู้ได้รับความพึงพอใจ และเกิดแรงจูงใจท่ีจะสร้างกระบวนการพัฒนา อยา่ งต่อเนอ่ื ง ไชยชนะ สุทธวิ รชัย กลา่ วถงึ ลกั ษณะการมีสว่ นร่วมของประชาชนว่า ประชาชนอาจเข้าร่วม กระบวนการตัดสินใจว่าจะกระทาอะไรอย่างไร เข้าร่วมในการนาโครงการไปปฏิบัติโดยเสียสละ ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น แรงงาน วัสดุ เงิน หรือร่วมมือในองค์การหรือกิจกรรมเฉพาะด้าน เข้าร่วมใน ผลประโยชนท์ ่เี กิดจากการพฒั นา และร่วมในความพยายามประเมินโครงการ ๔๐การมีส่วนร่วมในการ คน้ หาปญั หาและสาเหตขุ องประชาชน เนอ่ื งมาจากเหตุผลพ้ืนฐาน คือ ชาวชนบทประสบปัญหาย่อมรู้ ปัญหาของตนได้มากที่สุด รวมถึงการมีส่วนร่วมในการวางแผนดาเนินการกิจกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหา เหล่าน้นั ผู้ท่ีเลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหาในชุมชนน้ันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้านแรงงาน การร่วม แรงในการประกอบกิจกรรมจัดทาให้ประชาชนมีความผูกพันกันมากข้ึน และก่อให้เกิดความรู้สึก ร่วมกนั ในการเปน็ เจ้าของกจิ กรรม และผลงานทปี่ รากฏซึ่งจะสง่ ผลใหป้ ระชาชนบารุงรักษาให้ดารงอยู่ อย่างสมบูรณ์และมีประโยชน์ยืนยาวในการทางานติดตามประเมินผลเพ่ือค้นคว้าเพื่อหาข้อดีและ ข้อบกพร่องอันเกิดจากการดาเนินกิจกรรม ซึ่งได้นามาเป็นบทเรียนในการหาทางปรับปรุงแก้ไขและ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ เจิมศกั ดิ์ ป่นิ ทอง ไดแ้ บง่ ขัน้ ตอนของการมสี ว่ นร่วมของประชาชนไว้ ๔ ขั้นตอนคือ ๑. การมีส่วนร่วมในการค้นหาปญั หาและสาเหตุ ๒. การที่ประชาชนมรส่วนร่วมในการช่วยเหลือในการปฏิบัติตามโครงการ พัฒนา ๓. การท่ีประชาชนมสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจตลอดจนกระบวนการพัฒนา ๔๐ไชยชนะ สทุ ธวิ รชยั , “ปัจจัยการมีส่วนรว่ มของประชาชนในการพฒั นาชุมชน, ศึกษาเฉพาะกรณี อาเภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี.ศลิ ปะศาสตรด์ ษุ ฏบี ัณฑิต, บณั ฑติ ศึกษามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ ๒๕๕๓), หนา้ ๓๗.

๒๘ ๔. การตดิ ตามประเมินผลในการแกไ้ ขปญั หา ๔๑ เกศแกว้ วมิ นมาลา ไดใ้ ห้ความเหน็ เกีย่ วกับการมีส่วนรว่ มทางการเมืองไวว้ า่ เป็นกิจกรรมที่ กระทาโดยสมัครใจของแตล่ ะบคุ คลในกจิ กรรมทางการเมือง รวมตลอดถึงการลงคะแนนเสียงการเป็น สมาชิก และกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มทางการเมือง เช่น ความเคลื่อนไหวของนักการเมือง กลุ่ม ผลประโยชน์ สถาบันทางการเมือง อีกทั้งกิจกรรมท่ีไม่เป็นทางการ เช่น การอภิปรายทางการเมือง หรือร่วมชุมนุมเพื่อรับฟังเหตุการณ์ความเป็นไปทางการเมือง การชักชวนทางการเมืองของเจ้าหน้าท่ี ของทางราชการ หรอื สมาชกิ ทางการเมอื งนน้ั ไดแ้ บง่ การมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งออกเป็น ๒ ลักษณะคือ ๑. การมีส่วนร่วมโดยตรง เป็นลักษณะที่ประชาชนเป็นผู้ดาเนินการปกครอง ตนเองโดยตรง เชน่ การบริหาร กาหนดนโยบาย และการตัดสินใจในการดาเนนิ งานดว้ ยตนเอง ๒. การมสี ่วนร่วมโดยทางอ้อม เป็นลกั ษณะทีป่ ระชาชนเขา้ มีสว่ นร่วม แต่มิได้เป็น ผดู้ าเนนิ การปกครองตนเองโดยตรง โดยการเลือกตั้งตัวแทนของประชาชนเข้าไปทาหน้าท่ีเปิดโอกาส ให้ประชาชนเลือกต้ังโดยเสรี แต่กาหนดกลไกเพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าควบคุมตามความ เคลื่อนไหวของฝุายปกครอง เพือ่ ให้การปกครองเปน็ ไปตามความต้องการของประชาชน ๔๒ สรุปได้ว่าการมีส่วนร่วมในกระบวนการร่วมแก้ไขปัญหาร่วมกันในการออกความคิด สร้างสรรค์ ร่วมในกระบวนการตดสินใจ รวมพัฒนา ร่วมรับผิดชอบ การดาเนินงานต่าง ๆ และทา กิจกรรมพัฒนาร่วมกัน โดยการนาความสามารถที่บุคคลมีอยู่มาใช้เพ่ือให้วัตถุประสงค์ของกลุ่มและ นาไปสคู่ วามสาเร็จ รูปแบบของการมีส่วนร่วมที่พึงประสงค์และเป็นท่ียอมรับร่วมกัน มีจุดสาคัญอยู่ที่ ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่จะเป็นไปในลักษณะแบบสมัครใจและเข้าร่วมการตัดสินใจ และเข้าร่วมกิจกรรมอย่างแข็งขัน แต่คุณสมบัติดังกล่าวจะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยกระบวนการเริ่มต้น และการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่ใช่เป็นการจาลองแบบหรือการนาเอามารวมใส่ได้ในจุดใดจุดหน่ึง ลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้นเริ่มตั้งแต่ประชาชนเข้ามาร่วมคิดค้นหาสาเหตุของปัญหา จากนั้นจึงสร้างแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ตัดสินใจใช้แนวคิดและวิธีการนั้น จากน้ันจึงประเมินผล รวมท้งั วเิ คราะห์ปญั หาอุปสรรคตา่ งๆ ๔๑เจิมศกั ด์ิ ป่นิ ทอง, “กลวิธี แนวทางวธิ ีการเสริมสรา้ งการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนา.”, (กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ . ๒๕๒๗), หนา้ ๖-๗ ๔๒เกศแกว้ วิมนมาลา.มาลา, “ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการบริหารแบบมีส่วนร่วมกบั เสรีภาพทาง วิชาการของอาจารยพ์ ยาบาลในสถานศกึ ษาพยาบาล, กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ๒๕๓๙), หนา้ ๑๔.

๒๙ ๒.๖ สันติวิธวี ิถพี ทุ ธ ๒.๖.๑ ความหมายของสนั ตวิ ิธี สันตภิ าพ หมายถึง ความสงบ เป็นสภาพการแก้ปัญหาโดยไม่ใช้กาลัง สภาวะที่ปราศจาก ความรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นความรุนแรงเชิงโครงสร้าง หรือความรุนแรงในมิติต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนแล้วทาให้ สังคมปราศจากสันติสุข สันติภาพมิอาจเกิดขึ้นได้ด้วยความบังเอิญ แต่เกิดขึ้นได้จากกระบวนการ หรือวิธีการท่ีเป็นระบบและรูปแบบชัดเจนและพิสูจน์ได้ กล่าวคือ สันติภาพเกิดข้ึนได้ต้องใช้สันติวิธี นอกจากนี้สันติภาพยังหมายรวมถึงหนทางหรือแนวทางท่ีจะกระทา วิธีท่ีจะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันตวิ ิธี สันตวิ ิธีมีหลายความหมาย ได้แก่ “วิธีการที่ไม่ใช้ความรุนแรง วิธีการปฏิบัติ ท่ีไม่รุนแรงในการแก้ปัญหาหรือดาเนินชีวิต” “สันติวิธีเป็นวิธีท่ีกลุ่มบุคคลหรือมวลชนใช้ต่อสู้เพ่ือให้ ไดม้ าในสิ่งที่ต้องการ”๔๓ ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของสันติวิธี ไว้ว่า วิธีท่ีจะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจา สงบศึกโดยสนั ติวธิ ี๔๔ พระไพศาล วิสาโล๔๕ ได้กล่าวว่า สันติวิธี คือ วิธีการท่ีไร้ความรุนแรง มุ่งให้เกิดความเป็น ธรรมในสงั คม โดยที่ในตัวมนั เองกเ็ ปน็ วิธีการซึง่ ให้ความเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝุาย โคทม อารียา๔๖ ได้แสดงทัศนะต่อสันติวิธีว่าเป็นวิธีการจัดการความขัดแย้งวิธีหนึ่ง การใช้ สันติวิธีมีเหตุผลสาคัญตรงที่ว่า เป็นวิธีการที่น่าจะมีการสูญเสียน้อยท่ีสุดทั้งระยะสั้นระยะยาว ทั้ง รูปธรรมและนามธรรมผิดกับการใช้ความรุนแรง ซ่ึงทุกฝุายอ้างว่าเป็นวิธีการสุดท้าย ซ่ึงบางกรณี สามารถบรรลผุ ลในระยะสั้นเปน็ รูปธรรมชดั เจน แต่หากความขัดแย้งดารงอยู่เพียงแต่ถูกกดไว้ โอกาส ที่จะเกิดความรุนแรงในระยะยาวย่อมมีอยู่ ส่วนในทางนามธรรม เช่น ความเข้าใจอันดี ความสามัคคี ปรองดองน้ันย่อมเกิดข้ึนได้ยากด้วยวิถีความรุนแรงบางคนมองสันติวิธีในลักษณะปฏิสัมพันธ์เชิงอา ๔๓พระโสภณคณาภรณ,์ “ความขดั แยง้ ในจติ มนษุ ยห์ น้า”, ใน สนั ตศิ กึ ษากับการแกป้ ญั หาความขัดแยง้ , วลยั อรณุ ี บรรณาธิการ, (กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๐), หน้า ๓๘. ๔๔ ราชบัณฑติ ยสถาน, พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ : นานมบี ๊คุ พับลิเคชนั่ . (ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๔๖), หนา้ ๑๑๖๖. ๔๕ พระไพศาล วิสาโล, สันติภาพโดยสันตวิ ิธี ในส่ือสนั ติภาพ สันติภาพในส่อื , (กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๐), หน้า ๒๓-๒๘. ๔๖ โคทม อารียา., บทความการสง่ เสรมิ สนั ติวิธี เอกสาร ๓๐ ปี ๑๔ ตลุ า จดหมายข่าว ประชาชน, ฉบบั ท่ี ๓ วันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๖ หนา้ ๒๓-๒๕.

๓๐ นาจ เชน่ การใช้ปฏิบตั ิการไรค้ วามรุนแรงเพื่อใหร้ ัฐหรือผู้มอี านาจเปลย่ี นแปลงนโยบายหรือพฤติกรรม บางคนใช้สันติวิธีเพราะความเช่ือว่าจะให้ผลที่ย่ังยืน และเป็นไปตามหลักจริยธรรมหรือศาสนธรรม บางคนใชส้ นั ติวิธีตามหลักการบริหารเพอ่ื ลดความขัดแย้ง ไปใส่ในรูปแบบอื่นท่ีจะจัดการได้ดีกว่า โดย ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง ดังนั้น สันติวิธีจึงหมายถึงวิธีการท่ีไม่ใช้ความรุนแรงทั้งทางตรงและทางอ้อมในการบริหาร จดั การชวี ติ ของตนเองและสังคม เปน็ เคร่ืองมอื ในการจัดการกบั ความขดั แย้งได้ด้วยความสงบและไม่ ใช้ความรุนแรง รวมไปถึงการใชช้ วี ิตดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี โดยสันตวิ ธิ จี าแนกออกเปน็ ๓ ประเภท คือ ๑) สันติวิธีในการต่อสู้และเรียกร้อง (Peaceful Demonstrate/Protest) การ เรียกรอ้ งจากผมู้ อี านาจอยา่ งสงบ โดยสนั ติ ไม่มีอาวธุ และไม่ใช้ความรุนแรงทงั้ ตอ่ ตนเองและผู้อ่นื ๒) สันติวิธีในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Peaceful Conflict Resolution) ความพยายามยุติความขัดแย้งโดยใช้สันติ เพื่อระงับยับย้ังไม่ให้ความขัดแย้งขยายไปสู่ความรุนแรง ต่อไป โดยใชก้ ารเจรจา การไกล่เกลย่ี การประนปี ระนอม เป็นตน้ ๓) สนั ตวิ ิธีในการดาเนินชีวติ หมายถงึ การดาเนินชีวิตท่ีไม่เบียดเบียนตนเองและ ผอู้ ่ืน การปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ทางสังคม สังคมมนุษย์เรียกร้องหาสันติภาพและให้ร่วมมือกันสร้างสันติภาพ สันติภาพในสังคมจะ เกดิ ขน้ึ ได้ ถ้ามนุษย์ในสงั คมทุกระดับ รู้จักสันติภาพท่ีแท้จริง สันติภาพที่มนุษย์เข้าใจกันนั้นมีหลาย นยั ยะ กลา่ วคอื สันตภิ าพ คือ ความสงบเรียบร้อย การไม่รบราฆ่าฟันกัน ไม่มีสงคราม อยู่กันโดยไม่ เบยี ดเบยี นกนั ความอยู่ดีมสี ขุ ของประชาชน ไม่กระทบกระทงั่ กันและกัน ไร้ความขัดแย้ง ภาวะไร้ สงครามและความมีจิตใจสูง คือรู้จักทาตนให้อยู่เหนือปัญหา และความทุกข์ทั้งปวง การปลอด สงคราม มิใชค่ วามรุนแรง การแกป้ ญั หาดว้ ยสันติวธิ ี แต่อยา่ งไรกต็ าม สนั ตภิ าพนั้นมหี ลายสานักซ่ึงมี ขอบเขตและการนยิ ามที่อาจจะแตกต่างกันไปตามบทบาทหน้าท่ีของแต่ละสานัก กล่าวคือ การนิยาม ความหมายของ “สันติภาพ”อาจสรุปแบ่งออกเป็น ๔ กลุ่มคือ ๑. สันติภาพคือสภาวะที่ปราศจาก สงคราม ๒. สันติภาพคือสภาวะท่ีปราศจากความรุนแรง ๓. สันติภาพคือสภาวะท่ีปราศจากความ รุนแรงและความขัดแยง้ ๔. สนั ติภาพคอื สภาวะที่ปราศจากความรุนแรงและเกิดความขดั แย้งได้๔๗ ๔๗พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยตุ ฺโต), วถิ สี ู่สนั ตภิ าพ, พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑, (กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก, ๒๕๔๖), หน้า ๑๒.

๓๑ นอกจากน้ี แนวคดิ สนั ติภาพยังสามารถกล่าวโดยสรุปเป็นภาพกวา้ ง ๆ ก็คือ ภาวะการไม่ใช้ ความรุนแรง สามารถแบ่งแยกออกได้เป็น ๒ ลักษณะใหญ่ ๆ คือ สันติภาพเชิงลบและสันติภาพเชิง บวก ๑) สันติภาพเชงิ ลบ (negative peace) สนั ติภาพเชิงลบ คอื สภาวะท่ีปราศจากความรุนแรงทั้งทางตรง และทางอ้อม ไม่ มกี ารกระทารนุ แรงทางรา่ งกายหรอื การทาสงคราม สังคมมคี วามสงบ ซ่งึ เราสามารถเรียกได้ว่าสังคมมี ความปกตสิ ุข ซึ่งการตีความของนกั สันตินยิ มแตล่ ะกลมุ่ นน้ั มอิ าจทจ่ี ะตดั สนิ ไดว้ ่า การตีความของกลุ่ม ใดถกู ต้องหรือไม่ มองได้หลายมิติ ๒) สนั ติภาพเชิงบวก (positive peace) สันติภาพเชิงบวก สันติภาพเชิงบวก คือ การเคารพมีสิทธิเสรีภาพ มีความ ยุตธิ รรม เคารพในสิทธิมนษุ ยชน การยอมรบั ความหลากหลายทางชาตพิ นั ธแ์ ละทศิ นคตทิ ี่แตกต่าง นอกจากนี้ สันติภาพยงั จาแนกประเภทออกเปน็ ๒ ประเภท หรือที่เรียกว่า สันติภาพเชิงทวิ ภาวะ คือ สันตภิ ายใน (Inner Peace) และสันติภายนอก(Outer Peace) ๑. สันติภาพภายใน (Inner Peace)หมายถึง สภาวะท่ีจิตหลุดจิตพ้น จาก พันธนาการของกิเลส หรือจากการครอบงาของส่ิงต่างๆ อันเป็นสภาพจิตท่ีไร้ความขัดแย้ง ไร้ความ รุนแรงทุกชนิด ซ่ึงพระพทุ ธศาสนาเรียกภาวะนี้วา่ “นพิ พาน”๔๘ ๒. สันติภาพภายนอก หมายถึง สภาวะท่ีบุคคล สังคม หรือโลก ไม่มีการ เบียดเบียนซึ่งกันและกัน มีความรัก และความสามัคคีประสมกลมกลืนระหว่างมนุษย์ด้วยกัน มี เสรีภาพ และเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชน เป็นการหาทางออกเพ่ือยุติปัญหาความขัดแย้งเพื่อไม่ให้รุกลาม ไปสคู่ วามรุนแรง หรือเม่ือเกดิ ความรุนแรงแล้วก็พยายามหาทางออกด้วยสันติวิธี อกี อย่างหนึ่ง สนั ติภาพในมติ ขิ องนักวชิ าการหลายท่านกลา่ วไวด้ งั น้ี การสร้างสันติภาพให้เกิดมีขึ้นในสังคมนั้น นักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่าสันติภาพ เกดิ จากความร้คู วามต้ังใจในการท่ีจะสร้างให้มีขึ้น กล่าวคือ การสร้างสันติภาพเป็นทฤษฎีท่ีมีหลักการ หรือข้ันตอนวิธีการ เป็นกระบวนการและแนวทางท่ีแน่นอนและหลากหลาย ดังท่ีปรากฎให้เห็นใน สงั คมโลก ๓ แนวทาง หรอื ๑๖ วิธกี ารไดแ้ ก่๔๙ ๔๘พระมหาหรรษา ธมมฺ หาโส, “รปู แบบการจดั การความขัดแย้งโดยพุทธสันติวิธี กรณลี ุ่มน้าแมต่ าชา้ ง จ.เชียงใหม่”, (มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ๒๕๕๔), หน้า ๑๒. ๔๙ประชมุ สขุ อาชวอารงุ , ประมวลความรูเ้ รอื่ งสันตภิ าพ,(กรงุ เทพฯ ๒๕๕๓), หน้า ๑๓๓.

๓๒ แนวทางท่ี ๑ การจัดการความขัดแย้งโดยวิธีทางการทูต หรือ การปรึกษาหารือ (Peaceful Diplomatic Means, Consultation ) มี ๔ วิธี คือ ๑. การเจรจาต่อรอง (Negotiation) ๒. การไต่สวน (Inquiry) ๓. การไกล่เกล่ยี Reconciliationคอื ๑. การไกล่เกล่ียโดยคนกลาง (Mediation) การประนีประนอมตกลง ๓.๒ การ ไกล่เกลี่ยโดยคนกลางเป็นเพียงผู้ช่วยติดต่อ (Good Officers or Facilitator) ๔. การ ประนีประนอม (Compromising) แนวทางท่ี ๒ การจัดการความขัดแย้งโดยวิธีทางกฎหมาย (Peaceful Legal Means) มี ๓ วธิ ี คอื ๑. อนญุ าโตตุลาการ (Arbitration) ๒. กระบวนการตัดสินทางศาลยุติธรรม (Judicial Approach) หรือ การดาเนนิ คดี (litigation) ๓. กระบวนการออกกฎหมายบังคบั โดยรฐั (Legislative Approach) แนวทางท่ี ๓ ทางเลือกเชิงสันติอ่ืน ๆ (Peaceful Alternative Means) มี ๙ วธิ ีการ คอื (๑) การหลกี เลี่ยง หรือการถอนตวั (Avoiding or withdrawing) (๒) การเผชญิ หนา้ ไมห่ นีปัญหาหรอื ย้ือรอเวลา (Confrontation) (๓) การโน้มน้าว การชักชวน การรบเร้า (Persuasion) (๔) การสนับสนนุ การใหโ้ อกาส ชว่ ยให้การตัดสินใจง่ายว่าจะทาอะไร (Supporting) (๕) การบังคับ ผลักดัน เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายมากกว่าความสัมพันธ์ (Competing, Forcing and compelling) (๖) การโอนอ่อนผ่อนตาม การเอ้ือประโยชน์ (Accommodating or smoothing) (๗) การร่วมมือกัน การแบ่งสันปันส่วน สร้างความสัมพันธ์และ เปูาหมาย(Collaborating, integrating, or problem solving) หรือ การมีส่วนร่วม ซ่ึงเป็น กระบวนการส่อื สารในระบบเปดิ (๘) การมีสว่ นรวม (Participation) (๙) ลงมติ หรอื การลงคะแนนเสียง (Voting)

๓๓ นอกจากน้ียังมีตัวอย่างแนวคิดสันติวิธีท่ีปรากฎในตาราเรียน ซึ่งเป็นวิธีการท่ีนักสันติภาพ ไดเ้ สนอไว้ ตวั อย่างเชน่ ยีน ซารป์ ไดน้ าเสนอวิธกี ารสร้างสันติวิธีเพ่ือต่อสู้กับกลุ่มอานาจนิยม สามารถ สรปุ ย่อๆ ได้ ๓ ประเภท และภายหลังได้มกี ารประยุกตไ์ ดถ้ งึ รอ้ ยกวา่ วิธกี าร ดงั น้ี ๑) การประท้วง หรือชักจูงโดยไม่ใช้ความรุนแรง เป็นวิธีการในเชิงสัญลักษณ์ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความไม่พอใจของกลุ่ม เช่น การชุมนุมเดินขบวน การเสียดสี ล้อเลียน การส่ง จดหมายผนกึ ๒) การไม่ให้ความร่วมมือ วิธีการน้ีอาจแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ ๓กลุ่มคือการ ไม่ให้ความร่วมมือทางสังคม การไม่ให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และการไม่ให้ความร่วมมือทาง การเมือง ๓) การแทรกแซงโดยไร้ความรุนแรง เช่น การอดอาหารประท้วง การน่ังยืดเย้ือ การ ขวางกันพาหนะกีดขวางทางเดิน การยึดพ้ืนที่ก่อสร้าง การแสดงมหรสพล้อการเมืองเผด็จการ การท่มุ สินคา้ ตีตลาด การตั้งองคก์ ารเศรษฐกิจแบบใหม่ข้นึ มา การตงั้ รฐั บาลหรือสถาบนั ซ้อน มหาตมะ คานธกี ็เป็นนักสันตภิ าพคนหนึง่ ทีไ่ ด้เสนอวิธีการเพื่อการสร้างสันติภาพในรูปแบบ ๓ แนวคิดหลัก ๆ กล่าวคือ สัตย์ (Satya) อหิงสา (Ahimsa) และสัตยาเคราะห์ (Satyagraha) หรือ พลงั แหง่ สัจจะซงึ่ มีนัยยะเพ่ือการปฏิบตั ิ ดงั น้ี๕๐ ๑. สัตย์ หรือ สัจจะ คือ พระเป็นเจ้าคานธีได้ให้ความสาคัญกับสัจจะอย่างสูงส่ง โดยมีความพยายามอย่างย่งิ ในการที่จะรกั ษาสัจจะ ๒. อหิงสา คือ แนวทางท่ีจะทาให้มนุษย์เข้าถึง “สัจจะ” อหิงสาเป็นการฝึกและ บังคับใจไม่ยอมให้มีการทาร้ายหรือแก้แค้นผู้ใด อหิงสามิใช่เป็นการยอมจานนหรือสิโรราบ หากจะมี การยอมจานนหรอื สิโรราบแลว้ ไซร้ การใช้หิงสาหรือกาลังจะดีกว่า ฉะนั้น เงื่อนไขท่ีสาคัญของอหิงสา หรือการไมใ่ ชค่ วามรนุ แรงก็คอื การสร้างความเป็นธรรมให้แก่ชีวิตทุกชนิด และทุกระดับ สรุปว่า การ ไม่ใชค้ วามรนุ แรงหรืออหิงสา ทใี่ ดมอี หิงสา ท่นี ่นั ย่อมมสี ัจจะ และสัจจะก็คือพระเปน็ เจา้ ๓. สตั ยาเคราะห์ คือ การดื้อเพ่ง กล่าวคือ ไม่มีความเกลียดชัง มีความอดทน มี การสวดภาวนาเป็นลักษณะสาคญั ของสตั ยาเคราะห์ ๕๑ ๕๐พระเทพวสิ ทุ ธเิ มธี (ปญั ญานนั ทภกิ ข)ุ , มองสนั ติภาพของโลก, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพธ์ รรมสภา, ๒๕๓๖), หนา้ ๑๐๖. ๕๑คณะครุศาสตรจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, เอกสารมนษุ ยก์ ับสันติภาพ, (กรงุ เทพมหานคร:โรงพมิ พ์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๒), หนา้ ๒๓.

๓๔ ความเป็นจริงทางสังคมย่อมเป็นไปไม่ได้ที่จะทาให้คนในสังคมไม่มีความขัดแย้งกัน เพราะ ความขัดแย้งทาให้เกิดการปรับตัวและเปลี่ยนแปลง หากเปล่ียนแปลงในทางสร้างสรรค์เรียกว่าเป็น การพัฒนา แตห่ ากเปล่ียนแปลงในทางรา้ ยก็จะทาใหเ้ กดิ ความรนุ แรง ดังนั้นสนั ติวิธีจึงเป็นทางเลือกที่ ใหแ้ ต่ละสังคมไดเ้ รยี นรู้และนาไปปรบั ใช้ให้สอดคลอ้ งกับบริบทของสงั คมของตนเอง สันติภาพในมติ ิของศาสนา เราได้เห็นข้อเสนอแนะในมิติทั้งแนวคิดและวิธีการในการสร้างสันติภาพของเหล่า นักวิชาการ ยังมีแนวคิดสันติภาพอีกมิติหนึ่งท่ีน่าสนใจ คือ สันติภาพในมุมมองของศาสนา ศาสนา เป็นความเช่ือถือของมนษุ ย์ เป็นเครื่องยดึ เหนี่ยวจิตใจและเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตอันประเสริฐ ทุกศาสนาล้วนมุ่งสอนให้คนเป็นคนดีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขอุดมการณ์ของการก่อต้ัง ศาสนาเป็นไปเพ่ือให้โลกสงบร่มเย็น อุดมการณ์ของศาสนาไม่ใช่เพื่อทาลายร้าง แต่เป็นการสร้าง สัมพนั ธภาพระหวา่ งมนษุ ย์กับมนุษย์ มนุษยก์ บั สตั ว์ หรอื ระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่อยู่รอบตัว คุณค่าของ ศาสนาย่อมมีบทบาทสาคัญเป็นอย่างมากในอันที่จะเข้าไปช่วยฟ้ืนฟู และเช่ือมสมานสังคมโลกให้ สามารถปรับวิธีคิด๕๒ และท่าทีของการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข สามารถยอมรับ และอดทนต่อ ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม ศาสนา ภาษา อดุ มการณ์และความเชื่ออยา่ งมสี ติ ในสถานการณ์สังคมโลกปัจจุบันกาลังเป็นส่ิงที่ท้าทายการทาหน้าท่ีของศาสนาว่าจะช่วย สรา้ งสนั ติสุขหรอื แกไ้ ขปัญหาความขัดแยง้ ในสังคมโลกไดอ้ ยา่ งไร ศาสนาจะเป็นส่วนหนึ่งของการร่วม นาเสนอทางรอด และรว่ มแก้ปัญหาให้มวลมนุษย์ได้จริงหรือ หรือว่าศาสนาจะกลายเป็นส่วนหน่ึงของ ปญั หาหรอื สร้างความขดั แยง้ เสยี เอง แตโ่ ดยหลักการและเปาู หมายของศาสนาก็เพ่ือสอนให้คนเป็นคน ดีมีศีลธรรม ดังนั้น ทุกศาสนาจะต้องมีหลักการหรือแนวคิดและวิธีการสร้างสันติภาพไม่อย่างใดก็ อย่างหน่ึง เพราะหน้าท่ีหลักของศาสนาต่างๆ ในโลกนี้ คือ การทาให้ผู้นับถือมีความสุข มั่นคงและ ปลอดภัยในการใช้ชีวิตอย่างย่ังยืน อยู่ร่วมกับคนอื่น สัตว์อ่ืน และส่ิงอ่ืนอย่างสงบ ศาสนามีคุณค่า สาหรับทาหน้าที่ในการสร้างความมั่นใจ และเช่ือม่ันในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ของกันและกัน ดงั น้ัน หลักสนั ติวธิ ีในมิติของศาสนายอ่ มเปน็ ทางเลือกอีกทางเลือกหนึ่ง ในการสนับสนุนและส่งเสริม ใหเ้ กดิ สนั ติภาพในสังคม กล่าวคือ ควรเน้นย้าให้นาหลักคาสอนในแต่ละศาสนามาปฏิบัติเพ่ือ ให้เกิด ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินทั้งในเชิงปัจเจก และสังคม เป็นการหันกลับมาสู่เปูาหมายของ ศาสนาท่ีแท้จริง เพราะการเกิดขึ้นของศาสนามีเปูาหมายสาคัญสูงสุดคือการอยู่รวมกันอย่างร่มเย็น และเปน็ สนั ติสุขของมวลมนุษยชาติการสร้างสันติภาพท่ียั่งย่ืน เราควรใช้ศาสนามาเป็นสะพานเช่ือมสู่ ๕๒พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), การศกึ ษาเพอื่ สันติภาพ, พมิ พค์ ร้ังท่ี ๖, (กรุงเทพมหานคร: มูลนธิ ิพุทธ ธรรม, ๒๕๓๙), หน้า ๕.

๓๕ สันติภาพ ดังนั้น ในการวิจัยน้ีจึงเป็นการค้นหาแนวคิด หลักการ รูปแบบ และวิธีการการสร้าง สันติภาพในมิติของศาสนา ๕ ศาสนา กล่าวคือ ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ซิกข์ ฮินดู เพื่อเป็น ทางเลือกและทางรอดของสังคมโลกในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข๕๓ เพราะแม้ว่าโลกจะก้าวไกลไป ขนาดไหน ศาสนากย็ ังเป็นปจั จยั ท่ีสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ชนิดท่ีไม่อาจมองข้ามได้ ดังนั้น สันติวิธี ในมิติ ของศาสนาจะเป็นแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน และจะเปน็ พน้ื ฐานแห่งสนั ติภาพทีย่ งั่ ยืน ๒.๖.๒ ประเภทของสนั ตภิ าพ สันติภาพในทางพระพุทธศาสนาน้ัน สามารถแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ สันติภาพ ภายนอกและสันติภาพภายใน หรือสันติภาพระดับโลกียะ และสันติภาพระดับโลกุตตระ คือ ในเชิง กายภายไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา และในเชิงตัวบุคคลคือภาวะของความสงบร่มเย็น ไม่ ถูกบีบคั้นครอบงาจากกิเลสตา่ ง ๆ ดงั จะเห็นได้จากแนวคิดของนักวชิ าการทางศาสนาที่กลา่ วไว้ ดงั นี้ องค์ทะไลลามะ มองว่า “สนั ตภิ าพจึงเร่ิมต้นท่ีเราแต่ละคน เมื่อเรามีความสุข สงบ ภายใน เราจะมีความสงบสุขต่อทุกคนรอบตัวเราเอง เมื่อสังคมของเรามีความสงบสุข ก็จะแบ่งปันความสงบ สขุ แก่สงั คมใกล้เคยี งเรื่อยไป” “สนั ตภิ าพท่ีแท้จริงตอ่ ตัวเราเอง และโลกรอบตัวเรา เป็นส่ิงท่ีจะเข้าถึง ได้ด้วยการพัฒนาสันติสุขทางใจ” ดังน้ัน “สันติภาพในที่นี้ไม่ได้หมายถึงการไม่มีสงครามเท่านั้น.... สันตภิ าพจะคงอยกู่ ต็ อ่ เม่ือเราได้ให้ความเคารพในสิทธิมนุษยชน เมื่อประชาชนได้รับการดูแลอย่าง ดี” สนั ติภาพ คือ ถ้อยคาท่ีตรงกันข้ามกับวิกฤติการณ์ ซึ่งคาว่า “วิกฤติการณ์” หมายถึง “มัน ผิดปกติ” ผิดปกติหรือไม่สงบ” ท่านชี้ว่า “วัตถุวิกฤติซ่ึงวัตถุหมายถึงโลก ธรรมชาติ บุคคล และจิต วิกฤติท่านอุปมาว่า ส่ิงเหล่านั้น ถูกตี ถูกเผา ถูกมัด และถูกกดให้จมน้า” ดังนั้น สันติภาพใน ความหมายของท่านก็คือ “สันติภาพมีอาการไม่กระทบกระทั่งกันและกัน และสันติภาพมี ปรากฏการณ์ คือ ทกุ คนย้ิมกันได้” ซึง่ การมองในลกั ษณะน้ีเป็นการช้ีให้เห็นว่า สังคมใด หรือกลุ่มใด กต็ าม ไม่กระทบกระทัง่ กนั มีความสงบสขุ อยูร่ ว่ มกันดว้ ยความยิ้มแย้มแจ่มใส ลักษณะเช่นนี้ก็มีนัย ทส่ี ่อแสดงให้เห็นถงึ “สันติเชิงสังคม” อันเป็นสนั ติเชงิ โลกยิ ะ ๕๔ ๕๓พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม, พิมพ์คร้งั ท่ี ๑๖, (กรุงเทพมหานคร: เอส.อารพ์ ร้ินตง้ิ แมสโปรดกั ส,์ ๒๕๕๑), หนา้ ๖๖. ๕๔ฉตั รสมุ าลย์ กบลิ สงห์ แปล, อัตชวี ประวตั ิขององคท์ ะไลลามะ: อสิ รภาพในการลี้ภยั , พมิ พค์ ร้ังท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร: สานักพมิ พ์ประพนั ธส์ าสน, ๒๕๓๘), หนา้ ๓๑๗-๓๑๙.

๓๖ พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยตุ ฺโต) มองวา่ แมว้ ่าจะไม่ไดม้ ีการรบราฆ่าฟันกันก็ตาม เช่น สังคมท่ี มีการแกง่ แยง่ แข่งขนั กนั ต่างคนตา่ งมุ่งหาผลประโยชน์ เอารัดเอาเปรียบข่มเหงกัน ไม่มีการช่วยเหลือ เก้ือกูนกัน จึงจัดได้ว่าเป็นสันติภาพไม่ได้ เพราะไม่มีความสงบและความสุขท่ีแท้จริง” ดังน้ัน “ภาวะ ขาดสนั ตภิ าพในโลกนี้จึงมีหลายแบบ”๕๕ พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร มีฤกษ์) สันติภาพเชิงสังคมน้ัน หมายถึง ความเป็นเอกภาพ ความประสานสอดคล้อง หรือประสมกลมเกลียว เสรีภาพ และความยุติธรรมของบุคคล หรือกลุ่ม บุคคลในสงั คม และสงั คมจะสามารถเต็มไปด้วยสันติภาพ ตราบเท่าที่สมาชิกในสังคมมีจิตใจท่ีเต็มไป ดว้ ยสันตภิ าพเช่นเดียวกัน ๕๖ พระไพศาล วิสาโล มองว่า “เมื่อพูดถึงสันติภาพ เรามักนึกถึงสิ่งท่ีตรงกันข้ามกับสงคราม ภาวะที่ปลอดพ้นจากจาการรบราฆ่าฟันกัน และความโกลาหลอลหม่าน แต่ถึงอย่างน้ันเราต้องมอง ความหมายในเชิงบวกด้วย กล่าวคือภาวะที่สงบ ราบรื่น ผู้คนดารงชีวิตเป็นสุข และมีสมานฉันท์ต่อ กัน๕๗ สรุปได้ว่า สันติภาพในพระพุทธศาสนา มีสันติภาพท่ีปราศจากความรุนแรงและปราศจาก ความขัดแย้ง และสันติภาพภายนอก หรือสันติภาพเชิงสังคม สังคมเชิงโลกิยะ พร้อมท้ังสันติภาพ ภายใน หรือ สันติภาพสูงสุด หรือ สันติภาพเชิงโลกุตระ ก็คือ นิพพาน อันเป็นสภาวะที่ปราศจาก ความรนุ แรง และความขดั แยง้ ภายในจติ ๒.๖.๓ หลักการพนื้ ฐานแหง่ สันติภาพ สังคมโลกจะสงบสุข เจริญหรือเสื่อมได้ก็ด้วยการกระทาของมนุษย์ (กรรม) มนุษย์เป็นผู้ สรา้ งสรรค์ พฒั นา และสรา้ งวิถชี วี ิตของตนเอง ชีวิตของมนษุ ย์ขน้ึ อย่กู บั ตัวของมนุษย์เอง พระพุทธศาสนาได้มีชุดคาสอนท่ีเป็นหัวใจพ้ืนฐาน หรือเป็นแนวปฏิบัติหรือเป็นกรอบและทิศทางใน การดาเนินชีวิต หลักโอวาทปาฏิโมกข์ยังจัดได้ว่าเป็นกรอบและทิศทางในการเผยแผ่ศาสนา และได้ ๕๕พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยตุ โฺ ต).การศึกษาเพอ่ื สนั ติภาพ,พิมพค์ รั้งที่ ๖, (กรงุ เทพมหานคร: มลู นิธิพทุ ธ ธรรม, ๒๕๓๙), หนา้ ๕. ๕๖พระเมธีธรรมาภรณ์. พจนานกุ รมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑๖, (กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์พรน้ิ ตงิ้ แมสโปรดกั ส,์ ๒๕๕๑), หนา้ ๖๖. ๕๗พระไพศาล วิสาโลสนั ติภาพโดยสนั ติวธิ ี”, , , (กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๓๐), หนา้ ๒๓.

๓๗ กลายมาเป็นอัตลักษณ์ท่ีสะท้อนบริบทสันติภของพระพุทธศาสนา โดยทรงวางหลักการ ๓ ข้อ อดุ มการณ์ ๔ ขอ้ และ วิธีการ ๖ ข้อ ดงั นี้ หลกั การ ๓ คือ ๑. สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง การไมท่ าบาปท้ังปวง ๒. กสุ ะลสั สปู ะสมั ปะทา การทากุศลให้ถึงพรอ้ ม ๓. สะจิตตะปะริโยทะปะนังการชาระจิตของตนใหข้ าวรอบ อุดมการณ์ ๔ คอื ๑. ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา ความอดทน ได้แก่ ความอดกลั้น ไม่ทา บาปทง้ั ทางกาย วาจาใจ ๒. นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์เป็น เปูาหมายพระพุทธศาสนา ๓. นะ หิปพั พะชิโต ปะรูปะฆาตี ความไม่เบียดเบียน ไม่ทาร้าย รบกวน หรือ เบียดเบยี นผอู้ ่ืน๕๘ ๔. สะมะโณโหติ ปะรงั วเิ หฐะยนั โต ความสงบทง้ั ทางกาย ทางวาจาและทาง ใจ วธิ กี าร ๖ คอื ๑. อะนปู ะวาโท การไม่ว่าร้าย ไดแ้ ก่ ไมก่ ลา่ วให้รา้ ยหรือกล่าวโจมตีใคร ๒. อะนูปะฆาโต การไมท่ ารา้ ย ๓. ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร สารวมในปาติโมกข์ ได้แก่ ความเคารพระเบียบ วนิ ัย กฎกตกิ า กฎหมาย ๔. มัตตัญญุตา จะ ภัตตัส๎มิง รู้จักประมาณ ได้แก่รู้จักความพอดีในการ บรโิ ภคอาหารหรอื การใช้สอย ๕. ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง อยู่ในสถานที่ที่สงัด ได้แก่ อยู่ในสถานที่สงบมี สง่ิ แวดล้อมทเ่ี หมาะสม ๖. อะธิจิตเต จะ อาโยโค ฝึกหัดจิตใจให้สงบได้แก่ฝึกหัดชาระจิตให้สงบมี สุขภาพคณุ ภาพ ๕๘PhraMedhiDhammaporn (Prayoonmererk), Buddhist Morality, (Bangkok: Mahachulalongkonrajavidalya University Press, ๑๙๙๔), p.๑๙, p.๖๐.

๓๘ หลักโอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักการที่สะท้อนสันติภาพสูงสุดหรือเปูาหมายสุงสุดทาง พระพุทธศาสนา คือ พระนิพพาน จากหลักการดังกล่าว ทาให้นักวิชาการทางศาสนามองสันติภาพ ของพระพทุ ธศาสนาแตกตา่ งกนั ไปหลายระดบั หรือปรากฏไดห้ ลาย ๒ มติ ิ กล่าวคือ ๑. สันติภาพ คือ สภาวะที่ปราศจากความรุนแรงและปราศจากความขัดแย้ง โดยพระ ธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต) พระเทพโสภณ (ประยูร มีฤกษ์) พระไพศาล วิสาโล และติชนัทฮันท์ สันติภาพสูงสุดภายในพระพทุ ธศาสนา คอื สนั ตภิ าพเชิงโลกตุ ระ คือ “นิพพาน” อันเป็น “สภาวะท่ี ปราศจากความรุนแรง และความขัดแย้งภายในจิต เป็นศาสนาที่ปฏิเสธความขัดแย้งท่ีนาไปสู่การใช้ ความรุนแรงทง้ั ทางตรงและทางอ้อมทกุ รูปแบบนน้ั ๒. สันติภาพคือสภาวะท่ีปราศจากความรุนแรง แต่ขัดแย้งกันได้ โดยท่านพุทธทาสภิกขุ พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต) พระไพศาล วิสาโล และกัลตุง มองว่าพระพุทธศาสนาในเชิงสังคมเชิง เป็นโลกิยะนั้นสามารถที่จะขัดแย้งกันได้ แต่ปัญหาก็คือ “ขัดแย้งอย่างไร ให้ได้ประโยชน์” หรือ ขดั แยง้ อยา่ งไร จงึ จะไม่นาไปสคู่ วามรนุ แรง ๕๙ ๒.๖.๔ สาเหตุของความขัดแย้งท่สี ง่ ผลตอ่ การสร้างสนั ติภาพ พระพุทธศาสนามองความขัดแย้งมีมูลเหตุมากจากตัณหา มานะ ทิฐิท่ีคอยลิดรอน สันตภิ าพหรือทาลายสนั ติ และเน่ืองจากกเิ ลส ๓ ตัวนกี้ ่อตัวข้ึนในจติ ใจของมนุษย์ กลา่ วคือ ๑. ตัณหา คือ ความยาก ก่อใหเ้ กิด ความอยาก การแสวงหา การได้มา การพินิจ พิเคราะห์ ความกาหนัดด้วยอานาจแห่งความพอใจ ความหมกมุ่นฝังใจ การยึดถือครอบครอง ความ ตระหน่ี ความหวงก้ัน สู่การถือท่อนไม้ การถือศัสตรา การทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท ความ อยากแยกเปน็ ๒ ประเด็นใหญ่ ๆ ดว้ ยกัน กลา่ วคอื ๖๐ ๑) ความอยากในวัตถุ (วัตถุกาม) ได้แก่ (๑) ความอยากได้ส่วนท่ีดี หรือสว่ นทีอ่ ร่อย ท่เี รียกวา่ กามคุณ คือ รูป เสยี ง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ (๒) ความอยากได้ทรัพย์ท้ังส่วน ท่ีเรียกว่า สวิญญาณทรัพย์ (ทรัพย์ท่ีมีชีวิต) และอวิญญาณทรัพย์ (ทรัพย์ที่ไม่มีชีวิต) ท่ีน่าใคร่น่า ปรารถนา ๕๙พระไพศาล วิสาโล“องคร์ วมแห่งสันติภาพ”, ใน สศู่ านตเิ สรี: ๕๐ ปี สันติภาพไทย,(กรงุ เทพฯ: เรอื น แกว้ การพมิ พ,์ ๒๕๓๘), หนา้ ๒๔–๒๗. ๖๐พระมหาหรรษา ธมมหาโส, ศึกษารูปแบบการจดั การความขดั แย้งโดยพทุ ธสนั ติ: ศึกษาวเิ คราะห์ กรณลี มุ่ นา้ แมต่ าชา้ ง จ.เชยี งใหม,่ วทิ ยานิพนธ์พุทธศาสตรดษุ ฏบี ณั ฑิต, (บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๘), หน้า ๕๘.

๓๙ ๒) ความอยากได้ท่ีเป็นตัวกิเลส (กิเลสกาม) ได้แก่ ความกาหนัด ความพอใจ หรือความปรารถนากามคุณ เปน็ ตน้ ๒. ทิฏฐิ คือ การยึดมั่นจุดยืน เมื่อมนุษย์เกิดยึดถือในทิฏฐิทั้งหลายว่ายอดเยี่ยม มองเหน็ วา่ ทิฏฐิอืน่ ทกุ อย่างนอกจากทิฏฐิน้ันว่า ‘เลว’ มนษุ ยเ์ หลา่ น้นั จึงไม่ล่วงพ้นการวิวาทไปได้ ทิฏฐิ ในบริบทนไี้ ด้แกท่ ิฏฐใิ นแง่ “ลบ” ประกอบไปดว้ ยสักกายทฏิ ฐิ ๒๐ มิจฉาทิฏฐิ ๑๐ อันตคาหิกทิฏฐิมี วัตถุ ๑๐ จนถึงทิฏฐิ ๖๒ การท่ีมนุษย์ยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิ (ทิฏฐุปาทาน) อย่างใดอย่างหนึ่งดังท่ีได้ กลา่ วแลว้ จงึ ทาใหเ้ กิดการทะเลาะววิ าทกนั ๓. มานะ คือ การถอื ตวั กริ ยิ า ลาพอง ทะนงตน มานะการถือตัวในสถานะของ ความเป็นชาติ โคตร ความเป็นบุตรของผู้มีตระกูล ความเป็นผู้มีรูปงาม ทรัพย์ การศึกษา หน้าท่ีการ งาน หลักแห่งศิลปวิทยา วิทยฐานะ ความคงแก่เรียน ปฏิภาณว่า เราเลิศกว่าเขา ประเด็นจึงอยู่ ตรงทวี่ า่ “การถือตัว ความลาพอง หรือความทะนงตน” น้ัน ทาให้เกิด การทะเลาะวิวาทจนนาไปสู่ การฆา่ กนั หรือการทาสงครามฆ่าล้างเผ่าพนั ธ์ุกันได้ ๖๑ กิเลส ๓ ตัว กล่าวคือ ตัณหา มานะ และทิฐิจะเป็นส่ิงท่ีทาให้มนุษย์ขาดแคลน สันติภาพทั้งภายในและภายนอก เป็นส่ิงท่ีก่อให้เกิดความเน่ินช้าในการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และ เหน่ียวรั้งการพัฒนาองค์กรและสังคมด้วย ทาให้สังคมทะเลาะวิวาทจนนาไปสู่การฆ่ากัน หรือทาลาย กนั ๒.๖.๕ รปู แบบการจัดการความขดั แย้งโดยพุทธสนั ตวิ ธิ ี เมือ่ เกดิ ความขัดแยง้ แล้ว พระพทุ ธศาสนาได้นาเสนอทางออก หรือจัดการความขัดแย้งโดย พุทธสันติวิธีด้วยการมุ่งประเด็นท่ีว่าด้วยความจริงขั้นโลกิยะ แต่ก็ส่งผลสืบเนื่องถึงการแก้ไขปัญหา ขั้นโลกุตตระด้วย สันติในลักษณะดังกล่าว คือ ความสงบท่ีเกิดข้ึนจากการไม่ทะเลาะวิวาทกัน ด้วยทิฏฐิหรือยึดมั่นในความคิดเห็นของตนเอง จนนาไปสู่ความรุนแรงในมิติต่าง ๆ เช่น การการ ทะเลาะ แก่งแย่ง บาดหมาง วิวาท และมุ่งร้ายต่อกัน เป็นต้น ซึ่งสันติในลักษณะน้ีเราสามารถท่ีจะ เรยี กไดว้ า่ เป็นสันตภิ ายนอก เป็นสนั ติเชงิ สงั คม คอื ไมม่ ีสงครามหรอื วา่ ไมม่ คี วามขัดแย้ง หรือว่า ไม่ มคี วามรนุ แรงท้ังทางตรงและทางอ้อม หรือว่า มีความขัดแย้งได้ แต่ปราศจากความรุนแรงทั้งทางตรง และทางออ้ ม แนวทางปฏิบัติเพื่อการปูองกัน แก้ไขความขัดแย้งและเสริมสร้างสันติภาพทาง พระพุทธศาสนานั้นจะต้ังอยู่บนพื้นฐานของหลักศีลธรรม คือ ทั้งศีลและธรรมเป็นคร่ืองมือสาคัญใน การพัฒนาความเป็นมนุษย์ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาจิตใจมนุษย์ แก้ปัญหาแบบมนุษย์ด้วยตัว ๖๑ข.ุ จู. (ไทย) ๓๐/๑๐๓/๓๕๑-๓๕๓. ดูเทียบใน ข.ุ ม. (ไทย) ๒๙/๑๗๘/๕๐๘-๕๑๐.

๔๐ มนุษย์เอง พระพุทธเจ้าทรงใช้ชุดของแนวคิด “แนวคิดเชิงรับ”“แนวคิดเชิงรุก” และ “แนวคิดแบบ คู่ขนาน” มาเปน็ แบบในการจดั การความขัดแย้ง ดังนี้ ๑ แนวคิดพื้นฐาน “เชิงรับ” หมายถึง แนวคิดท่ีมุ่งเน้นพัฒนา หรือกล่อมเกลา คุณภาพจติ ของมนษุ ยใ์ ห้มี “ภูมติ ้านทาน” ๒ ประการ คือ ๑.๑ หลักขันติธรรม “ขันติ” หมายถึง ความอดทนที่เกิดข้ึนจากการ ท่ีเราถูกกระทาโดยฝุายตรงข้าม ลักษณะขันติ เช่น “สมณะในธรรมวินัย ไม่ด่าตอบบุคคลผู้ด่าอยู่ ไม่เสียดสีตอบบุคคลที่เสยี ดสีอยู่ ไมป่ ระหารตอบบุคคลผู้ประหารอยู่” ๒.๒ หลักอนัตตา “อนัตตา” หมายถึง “การลดทอน ร้ือถอน ทาลาย และสลายการยึดม่ันถือมั่นในความเป็นอัตลักษณ์” เพราะอัตตาตัวตนทาให้เกิดการยึดมั่น ในความเป็น “ชาตินิยม” หรือ “ชาติพันธุ์” ของตัวเองจนเป็นท่ีมาของการ “ดูถูก”“ดูหม่ิน”“เหยียด หยาม” และ “เกลียดชัง” คนอื่น ลักษณะของคนที่ละอัตตา เช่น “มุนีย่อมไม่กล่าวยกย่องตนใน บคุ คลที่เสมอกัน ผู้ต่ากว่า ผสู้ ูงกว่า และย่อมไมย่ ดึ มั่นถือมน่ั ” ๒. แนวคิดพ้นื ฐาน “เชงิ รกุ ” หมายถึง การสร้างปฏิสมั พนั ธ์ ๒ ประการ คือ ๒.๑ หลักคารวธรรม หมายถึง “ความเคารพผู้ใหญ่ หรือบรุ ุษอาวุโส ผู้ทรงธรรมซ่ึงทาหน้าที่ในการช้ี ‘ขุมทรัพย์’ ให้แก่เรา ความเคารพในองค์ความรู้ท่ีเราได้รับการช้ีแนะ จากบุคคลอ่ืน และความเคารพที่ประชุม หรือมติที่ประชุม” การแสดงความเคารพ ยกย่อง ให้ เกียรติ หรอื ใหค้ วามสาคัญแก่ “บุคคล”“ขอ้ มลู หรอื องค์ความรู้ธรรม” และ “ประชาคม” โดยลาดับ ๒.๒ หลักสามัคคีธรรม หมายถึง “ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะ” ดังท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงช้ีให้เห็นถึงความสาคัญว่า “ธรรมอย่างหนึ่ง เมื่อเกิดข้ึนในโลก ย่อมเกิดข้ึน เพื่อเกื้อกูลแก่คนหมู่มาก เพ่ือความสุขแก่คนหมู่มาก เพ่ือประโยชน์ เพ่ือเก้ือกูลแก่คนหมู่มาก เกิดขนึ้ เพื่อความสุขแกเ่ ทวดาและมนุษยท์ ั้งหลาย ธรรมอยา่ งหนงึ่ คอื ความสามัคคี ๓. แนวคดิ พืน้ ฐาน“แบบคขู่ นาน” คอื การจัดการความขัดแย้งโดย “แนวคิดเชิง รุก” และ “แนวคิดเชิงรับ” อย่ใู นชุดของแนวคิดเดียวกนั ได้แก่ ๓.๑ พรหมวหิ ารธรรม ได้แก่ “เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา” แนวคิดเชิงรับ” ไดแ้ ก่ “เมตตาและอเุ บกขา” และ “แนวคดิ เชงิ รุก” ได้แก่ “กรุณา และมทุ ิตา” ๓.๒ อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดความเจริญโดย ส่วนเดียว ไม่มีเสื่อมคือ (๑) หม่ันประชุมกันเน่ืองนิตย์ ประชุมกันบ่อยๆ (๒) เม่ือจะประชุมก็พร้อม เพรยี งกนั ประชมุ เมอ่ื เลิกประชุมกพ็ รอ้ มเพรียงกนั เลิก และพร้อมเพรียงกันช่วยทากิจที่ควรจะช่วยกัน ไม่บญั ญัต(ิ ๓) ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติ ไม่ลบล้างส่ิงท่ีบัญญัติไว้แล้ว ถือปฏิบัติมั่นในวัชชีธรรมท่ีว่าง

๔๑ ไว้ตามเดิม (๔) สักการะ เคารพ นับถือผู้ใหญ่ในชุมชน และพร้อมที่จะรับฟังข้อเสนอแนะจากท่าน เหล่าน้ัน (๕) ไม่ข่มเหง ไม่ฉุดคร่าขืนใจกุลสตรี หรือกุลกุมารี (๖) สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเจดีย์ ท้งั ในเมอื ง และนอกเมือง และไม่ละเลยการบูชาอันชอบธรรมที่เคยให้ เคยกระทาต่อเจดีย์เหล่าน้ันให้ เสื่อมสูญไป (๗) จัดการ รักษา คุ้มครอง ปูองกันพระอรหันต์ทั้งหลายโดยชอบธรรมด้วยตั้งใจว่า “ทา อยา่ งไร พระอรหันต์ที่ยงั ไมม่ ี พงึ มาสแู่ วน่ แคว้นของเรา และทา่ นท่มี าแล้วพึงอยู่อยา่ งผาสกุ ”๖๒ อปริหานิยธรรม แนวคิดเชิงรุก คือ กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วม (Participation)โดยการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือกันทั้งก่อนการประชุม ขณะประชุม และหลังประชุม ให้พร้อมเพรียงกัน สอดรับกับแนวคิด “หลักเสวนาประชาชน” หรือ “สานเสวนา” (Citizen’s Dialogue) อปริหานิยธรรม แนวคิดเชิงรับ คือ การพยายามรักษาส่ิงที่ดีและมี คุณค่าในสังคม ไม่ว่าจะเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีของท้องถิ่นอันเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็น การแสดงออกซ่งึ การใหเ้ กียรติและเคารพ ๓.๓. สาราณียธรรม หมายถึง “ธรรมเป็นเหตุ หรือเป็นที่ต้ังแห่งการ ระลึกถึงกัน” เป็น “กาแพง” หรือ “ภูมิคุ้มกัน” สาหรับ “ปูองกัน” ความขัดแย้ง กล่าวคือ (๑) ตั้ง เมตตากายกรรม ในเพ่ือนพรหมจารีท้ังหลายทั้งต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยขวนขวายกิจธุระของ เพื่อนด้วยกาย เช่น พยาบาลภิกษุที่เป็นไข้ เป็นต้นด้วยจิตที่เมตตา (๒) ต้ังเมตตาวจีกรรมในเพ่ือน พรหมจารที ั้งหลายท้งั ตอ่ หน้า และลบั หลงั คอื ช่วยขวนขวายในกิจธุระของเพ่ือนด้วยวาจา เช่น กล่าว ตกั เตอื น เปน็ ตน้ ด้วยจติ เมตตา (๓) ตงั้ เมตตามโนกรรมในเพ่ือนพรหมจารีทั้งหลายท้ังต่อหน้าและลับ หลงั คอื คดิ แตส่ ง่ิ ทีก่ ่อให้เกิดประโยชน์แก่เพ่ือน (๔) แบ่งปันลาภท่ีตนได้มาแล้วโดยชอบธรรม ให้แก่ เพ่ือนพรหมจารีทั้งหลาย ไม่ห่วงเอาไว้บริโภคผู้เดียว (๕) รักษาศีลของตัวเองให้บริสุทธิ์เหมือนกับ เพ่ือนพรหมจารีอื่นๆ และไม่ทาตนให้เป็นท่ีน่ารังเกียจ หรือตาหนิจากผู้อื่นในแง่ของศีลาจารวัตร (๖) เมื่อเกิดปัญหาได้บทสรุปไปในทิศทางเดียวกันกับเพื่อนพรหมจารี ไม่วิวาทกับใครๆ จนนาไปสู่ความ รนุ แรง๖๓ สาราณียธรรมเป็น “แนวคิดเชิงรุก” ประกอบไปด้วยการเข้าไปส่วน ร่วมเพื่อช่วยเหลือเพ่ือนมนุษย์ทางร่างกาย วาจา และใจในกิจกรรมต่างๆ หรือแม้กระท่ังการ เอื้อเฟื้อเผอื่ แผ่ “วัตถุ” เป็นการปอู งกนั ความขัดแย้งเชิงรุก ช่วยสร้างความสัมพันธ์ (Relationship) ๖๒ที.ม.อ. ๒/๑๓๔-๑๓๖/๑๖๖-๑๒๘. ๖๓ขุ.อ.ุ (บาลี) ๒๕/๔๑/๑๕๙, ข.ุ อุ. (ไทย) ๒๕/๔๑/๒๕๕, ส.ส. (บาลี) ๑๕/๑๑๙/๙๑, ส.ส. (ไทย) ๑๕/ ๑๑๙/๑๓๗.

๔๒ และเปน็ กระบวนการ ปรับทัศนคติ ปรับท่าทีเก่ียวกับกระบวนทัศน์ให้ “ยืดหยุ่น” (Flexibility) และ ไมแ่ ข็งตัวจนเกนิ ไป ชว่ ยสร้างบรรยากาศของความ “สมานฉนั ท์” ใหเ้ กดิ ข้นึ ๓.๔ สังคหวัตถุธรรม หมายถึง “คุณเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่น ไว้ได้” หรอื “หลักการสงเคราะห์ คอื ช่วยเหลือกนั ยดึ เหนยี่ วใจกนั ไว้” กล่าวคอื ก. การให้ (ทาน) การให้วัตถุ” (วัตถุทาน) “การให้ความรู้” (ธรรมทาน) และ “การใหอ้ ภยั ” (อภยั ทาน) คอื ข. วาจาเป็นท่ีรัก คือ การพยายามหลีกเล่ียงถ้อยคาที่ ขดั แยง้ กันอันนาไปส่กู ารทะเลาะววิ าทกนั ด่ากนั และเสยี ดสี มีหลักเกณฑ์ ดงั นี้ (๑) ตถาคตรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ และวาจานั้นไมเ่ ปน็ ทรี่ ัก ไมเ่ ป็นทช่ี อบใจของคนอน่ื ตถาคตไม่กลา่ วคาน้นั (๒) ตถาคตคนรู้วาจาท่ีจริง ที่แท้แต่ไม่ประกอบด้วย ประโยชน์ และวาจานั้นไมเ่ ปน็ ที่รัก ไม่เป็นทชี่ อบใจของคนอื่น ตถาคตไม่กลา่ วคานนั้ ๖๔ (๓) ตถาคตรู้วาจาท่ีจริง ท่ีแท้ และประกอบด้วยประโยชน์ แตว่ าจานั้นไม่เป็นที่รกั ไม่เป็นท่ีชอบใจของคนอื่น ในขอ้ นนั้ ตถาคตร้กู าลท่จี ะกลา่ ววาจานน้ั (๔) ตถาคตรู้วาจาที่ไม่จริง ไม่แท้ ไม่ประกอบไปด้วย ประโยชน์ แต่วาจาน้นั เปน็ ท่ีรัก เป็นทชี่ อบใจของคนอื่น ตถาคตไม่กลา่ ววาจานน้ั (๕) ตถาคตรู้วาจาที่จริง ท่ีแท้ ที่ประกอบด้วยประโยชน์ และวาจานัน้ เป็นท่ีรกั เป็นทีช่ อบใจของคนอืน่ ตถาคตไมก่ ล่าววาจานน้ั (๖) ตถาคตรู้วาจาที่จริง ที่แท้ ท่ีประกอบด้วยประโยชน์ และวาจานั้น เป็นที่รัก เป็นท่ีชอบใจของคนอื่น ในข้อนั้น ตถาคตรู้กาลที่จะกล่าววาจานั้น ข้อน้ัน เพราะเหตุไร เพราะตถาคตมคี วามเอน็ ดูในหม่สู ตั วท์ ้ังหลาย กล่าวโดยสรุป สิ่งท่ีเรียกได้ว่าเป็น “วาจาสุภาษิต” ของพระพุทธเจ้านั้น ต้องประกอบไป ดว้ ยคาที่ “จรงิ ไพเราะ เหมาะกาล ประสานสามัคคี มปี ระโยชน์ และประกอบไปด้วยเมตตาธรรม” ค. การประพฤติประโยชน์ (อัตถจริยา) การประพฤติส่ิงที่เป็น ประโยชน์ ๓ ข้อ คอื การสร้างสรรคป์ ระโยชน์ให้เกิดแก่ตน แก่หมู่ญาติ และชาวโลก การทนนิ่งอยู่ ไมไ่ ด้ เมอื่ เพอื่ นมนษุ ยก์ าลังประสบกับปญั หาความขดั แย้งในลักษณะตา่ ง ๆ ๖๔พระครวู าปีวชิโรภาส, สงครามศาสนาครสิ ต-์ อสิ ลาม, เอกสารประกอบวชิ าประวัติและพฒั นาการ ความขดั แย้งและสันติภาพในโลกยุคใหม,่ (สาขาวชิ าสันตศิ กึ ษา : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๘), หนา้ ๓.

๔๓ ๓.๕ หลกั ศีลธรรม คือ ข้อปฏบิ ัติ เพ่ือการจัดระเบยี บสังคม ศลี ขอ้ ที่ ๑ คือ เว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต การเข้าไปเบียดเบียนทาง ทงั้ ทางตรงและทางอ้อม การเคารพและให้เกยี รติ สตั ว์เหลา่ อ่นื รักตน เหมือนกัน เพราะฉะนั้น ผู้รัก ตนจึงไมค่ วรเบียดเบียนผูอ้ ื่น ศีลข้อท่ี ๒ การงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การ เคารพในทรัพย์สิน และสิทธิทางธรรมชาติสิ่งแวดล้อมของคนอื่น ไม่เข้าไปแย่งชิง ฉกฉวย ผลประโยชน์ ศีลข้อท่ี ๓ การงดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม เคารพในสิทธิ คู่ครองของผูอ้ น่ื ศลี ขอ้ ที่ ๔ การงดเว้นจากการพดู เทจ็ ศีลขอ้ ท่ี ๕ การงดเว้นจากการดื่มสุรา และเมรัยอันเป็นท่ีต้ังแห่งความ ประมาท การดื่มสุราเมรัย และส่ิงเสพติดอ่ืนๆ น้ัน จะเป็นท่ีมาของการขาดสติ ทาให้เสียทรัพย์ เกิด โรค เสียชื่อเสียง ไม่รู้จักอาย และทอนกาลังสติปัญญาของตัวเองแล้ว ยังเป็นท่ีมาของการทะเลาะ วิวาทด้วย๖๕ กล่าวโดยสรุปหลักการดังกล่าว จัดได้ว่าเป็นเกณฑ์มาตรฐานของศาสนาพุทธ ซึ่ง ส่งผลใหเ้ กิดรูปแบบหรือแนวทางปฏบิ ัตทิ เี่ รียกว่า พทุ ธสันติวิธี พร้อมทั้งยังเป็นแนวทางให้เหล่าสาวก ของพระองค์ได้ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการความขัดแย้งอย่างสันติ โดยไม่ใช่ความรุนแรง หรือ ปราศจากความรุนแรงทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม เปน็ คาสอนหรอื หลักธรรมท่ีเป็นแนวปฏิบัติที่นาไปสู่ การสร้างสันติสุขในชีวิตและสังคม เป็นชุดหลักธรรมท่ีสะท้อนแนวทางการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นกรอบในการคุ้มครองสิทธิ และให้เกิยรติ ตลอดถึงเกิดความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ช่วยเหลื่อซึ่งกันและ กนั ได้ ๒.๖ รายงานการวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง วิลาส โพธิสาร ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง “การปรับตัวของชาวกูยในบริบทพหุวัฒนธรรมในเขต อีสานใต้” รายงานการวิจัยพบว่า พื้นที่เขตอีสานใต้มีความหลากหลายทางกลุ่มชาติพันธ์ ได้แก่ กลุ่ม ชาติพันธ์กูย เขมรถ่ินไทย(ไทยเขมร) ไทยโคราช ไทยจีน และแขก ปาทาน(ชาวปากีสถาน) ส่วนกลุ่ม ๖๕ณรงค์ เสง็ ประชา,มนุษยก์ ับสงั คม, พิมพ์คร้งั ท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร :สานกั พิมพโ์ อเดียนสโตร,์ ๒๕๓๘), หนา้ ๑๑๘ – ๑๑๙.

๔๔ ชาตพิ นั ธ์ุกยู เป็นกลุม่ ทีน่ ่าสนใจเพราะไดเ้ ขา้ มาตงั้ ถ่ินฐานไม่น้อยกว่า ๓00 ปี และอาศัยอยู่หนาแน่นใน พน้ื ทจ่ี งั หวดั สุรินทร,์ ศรีสะเกษ และบุรีรัมย์ คุณลักษณะท่ัวไป ได้แก่การทานา ทาไร่ ทอผ้า เลี้ยงสัตว์ และหาของปุา พยายามเรียนรู้บริบทรอบตัว เช่น ความสัมพันธ์กับระบบนิเวศน์และกลุ่มชาติพันธุ์ ข้างเคียง อัตลักษณ์เด่นของชาวกูยในช่วงหลักสงครามโลกคร้ังที่สอง พบว่า พอใจกับการยึดเหน่ียว ทางจิตใจระบบนิเวศน์กับอานาจเหนือธรรมชาติ สร้างพิธีกรรมให้เป็นรูปธรรมความเชื่อสูงเกี่ยวกับผี บรรพบุรุษ ผสมผสานกับวัฒนธรรมพุทธและพราหมณ์ให้เป็นรูปแบบของชาวกูย เช่นผีปูุตา ในยุค โลกาภิวตั นไ์ ด้เกิดการไหลเวยี นของขอ้ มูลขา่ วสารและวฒั นธรรมจากภายนอกเข้าสู่ชุมชนอย่างรวดเร็ว ชาวกูยต้องเผชิญกับกระแสจากภายนอกเข้ามาครอบงาจากอานาจรัฐและทุนนิยมส่งผลกระทบต่อ การปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของชีวิต และการดารงรักษาความเป็นชุมชนและรัฐชาติ ลักษณะบริบท ของการปรบั ตัวได้แก่ ความสัมพนั ธ์กบั ระบบนิเวศน์ สงั คมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ ความเช่อื ศาสนาและ การแตง่ กายใหใ้ กลเ้ คยี งกับสังคมสมยั ใหม่๖๖ ณัฏฐินี ปิยะศิริพนธ์ ได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง “ชุมชนพหุวัฒนธรรมท่ามกลางวาทกรรม ชาตินิยมในพ้ืนท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย” รายงานการวิจัยพบว่า การขับเคล่ือนสังคมพหุ วัฒนธรรมท่ามกลางวาทกรรมชาตินิยมในพื้นที่ ๓ จังหวัดชาย สรปุได้ว่ามีองค์ประกอบที่สาคัญ ๓ สว่ นคอื ๑) การสร้างชุมชนศรัทธาตามหลักคา สอนของศาสนา ๒) การสร้างกลไกของชุมชนท้ังกลไก หนุนเสริมการขับเคลื่อนชุมชนพหุวัฒนธรรม และกลไกที่ขจัดความขัดแย้งในชุมชน และ ๓) การ รณรงค์และกาหนดกจิ กรรมพหวุ ฒั นธรรม๖๗ มาร์ค ตามไท และคณะ ได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง “มิติทางปรัชญาและวัฒนธรรมของการ สร้างสันติภาพ” รายงานการวิจัยพบว่า อุปสรรคด้านญาณวิทยาเป็นอุปสรรคท่ีมักทางานร่วมกับ อุปสรรคด้านอื่นๆ ในกระบวนการสร้างสันติภาพ จุดมุ่งหมายในที่น้ีเน้นเฉพาะท่ีอุปสรรคด้านญาณ วิทยา ผู้วิจัยแยก “การรู้” ของผู้เก่ียวข้องในสถานการณ์ความขัดแย้งรุนแรงออกเป็นสองประเภท ด้วยกันได้แก่ ประเภทแรก การรู้ความจริงของเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนแล้วและการรู้ความจริงของ ๖๖ วิลาส โพธิสาร, การปรับตวั ของชาวกูยในบรบิ ทพหุวัฒนธรรมเขตอีสานใต้, รายงานการวจิ ัย, ทุนอดุ หนนุ จากสานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาตกิ ระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๔๘, บทคัดย่อ. ๖๗ ณัฏฐินี ปิยะศิริพนธ์, ชุมชนพหุวัฒนธรรมท่ามกลางวาทกรรมชาตินิยมในพื้นท่ี ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ของไทย, วารสารรฏั ฐาภริ กั ษ,์ (ปีที่ ๖๐ (ฉบบั ท่ี ๒), พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๑), บทคดั ยอ่ .

๔๕ เหตุการณท์ ี่กาลงั เกิดขึ้นท่ีอาจนาไปสู่ภาวะไร้สันติ และประเภทท่ีสอง การรู้ว่ามีทางเลือกอ่ืนท่ีไม่ต้อง ใชค้ วามรนุ แรงหรือนาไปสู่ความรุ่นแรง ในการพิจารณาการรู้ในแบบแรกควรเข้าใจว่าการที่ใครสักคน บอกได้ว่า “รู้” เขาควรมีความเชื่อท่ีจริงและมีเหตุผลสนับสนุนท่ีดีโดยตัวแปรที่สาคัญท่ีสุดคือ การมี เหตุผลสนับสนุนท่ดี ี อุปสรรคของการมีเหตุผลสนับสนุนท่ีดีได้แก่ จานวนและคุณภาพของข้อมูล การ มีข้อมูลไม่เท่ากันของผู้เกี่ยวข้อง อารมณ์ความรู้สึกในกระบวนการใช้เหตุผล สาหรับการรู้ในแบบที่ สองเราอาจรู้ทางเลือกอื่นๆด้ด้วยวิธีเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์พบกระบวนทัศน์ใหม่ตามทัศนะของ ทอมัส คูห์น หรือใช้การศึกษาประวัติศาสตร์ความขัดแย้งด้วยวิธีทดลองทางความคิดแบบตรงข้าม ข้อเท็จจริง เม่ือมีบางคนพบทางเลือกใหม่ที่ดี เพื่อทาให้ผูเกี่ยวข้องอ่ืนเห็นด้วยกับทางเลือกใหม่ก็จะ พบกับอุปสรรคเชน่ เดยี วกบั การรู้ในแบบแรกและเพิม่ เติมด้วยอุปสรรคของการทาใจไม่ได้กับทางเลือก ใหมแ่ ละความต้องการการสูญเสยี ๖๘ ๖๘ มาร์ค ตามไทและคณะ, มติ ิทางปรัชญาและวัฒนธรรมของการสร้างสนั ตภิ าพ, รายงานการวิจยั , (ทนุ อุดหนนุ จากสานักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั , ๒๕๕๕), บทคดั ย่อ