Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2559_ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ (ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม)

2559_ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ (ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม)

Published by Thanarat Sa-Ard-Iam, 2023-07-02 00:57:24

Description: 2559_ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ (ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม)

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัย แผนงานวิจัย เรื่อง ภมู ศิ าสตร์วัฒนธรรม : ประวตั ศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และหลกั พุทธธรรมในประเทศไทย Cultural Geography : History, Propagation Routes of Buddhism, and Principle of Buddhadhamma in Thailand โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ดิ์ ทองทิพย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รบั ทุนอดุ หนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั MCU RS 610759126

รายงานการวิจัย แผนงานวิจัย เรื่อง ภมู ศิ าสตรว์ ัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และหลักพทุ ธธรรมในประเทศไทย Cultural Geography : History, Propagation Routes of Buddhism, and Principle of Buddhadhamma in Thailand โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ดิ์ ทองทพิ ย์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ไดร้ บั ทุนอดุ หนนุ การวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย MCU RS 610759126 (ลิขสทิ ธิเ์ ป็นของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั )

Plan Research Report Cultural Geography : History, Propagation Routes of Buddhism, and Principle of Buddhadhamma in Thailand By Asst. Prof. Dr. Taweesak Tongtip Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Surin Campus B.E.2559 Research Project Funded by Mahachulalongkornrajavidyalaya University MCU RS 610759126 (copyright Mahachulalongkornrajavidyalaya University)

ชือ่ รายงานการวจิ ยั : ภมู ิศาสตรว์ ัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่ ผูว้ จิ ัย : พระพุทธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรมในประเทศไทย ส่วนงาน : ผศ.ดร. ทวีศักดิ์ ทองทพิ ย์, นายชนิศร์ ชเู ลอื่ น ปีงบประมาณ : พระใบฎีกาสุพจน์ ตปสีโล, ดร. สหัทยา วิเศษ ทนุ อุดหนนุ การวิจยั : ผศ.ดร. ธนู ศรที อง สถาบันวจิ ัยพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๙ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บทคัดย่อ การวจิ ัยนมี้ ีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ ศกึ ษาประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ หลักพุทธธรรมในประเทศไทยสมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา และอยุธยา เก็บรวบรวม ข้อมูลจากเอกสาร การสังเกต สัมภาษณ์ และสัมมนากลุ่มย่อย วิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา ผลการวิจัยมีข้อคน้ พบดงั น้ี ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๓ ดินแดน บริเวณนี้เรียกว่าสุวรรณภูมิ พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามาในดินแดนสวรรณภูมิต้ังแต่ พ.ศ. ๒๓๕ พระโสณะและพระอุตระเป็นหัวหน้าคณะนาเข้ามาโดยเส้นทางเดินเรือทะเล สันนิษฐานว่าข้ึนฝั่งที่ บริเวณเมืองสะเทิมในประเทศเมียนมาร์หรือเมืองนครปฐมในประเทศไทยปัจจุบนั กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ ในบริเวณนี้ได้นับถือพุทธศาสนาเรื่อยมา ผ่านสมัยฟูนัน และทวารวดี พระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่ อาณาจักรทวารวดีระยะแรกเป็นนิกายเถรวาทแบบอโศก ส่วนอาณาจักรศรีวิชัยทางภาคใต้ของ ประเทศไทย นบั ถอื พระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน ต่อมาไดเ้ ผยแผ่ไปยังอาณาจักรขอม เม่ือขอมเรือง อานาจได้ขยายอทิ ธิพลปกครองดินแดนทางภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และ ภาคกลางของประเทศไทย และนาพระพุทธศาสนานิกายมหายานมาเผยแผ่ในดินแดนน้ีด้วย โดยมี ศูนย์กลางการปกครองในประเทศไทยอยู่ท่ีละโว้ ในสมัยลพบุรีจึงมีพระพุทธศาสนาอยู่สองนิกาย คือ นิกายเถรวาทที่มีมาตั้งแต่สมัยทวารวดี และมหายานที่ขอมนาเข้ามาสมัยลพบุรี และได้เผยขึ้นไปถึง อาณาจักรหริภุญชัยทางภาคเหนือของไทยด้วย แต่มิได้มีอิทธิพลมากเพราะพระพุทธศาสนาเถรวาท แบบพุกามและมอญมีอิทธิพลอยใู่ นดินแดนนนั้ สมัยสุโขทยั และล้านนา พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบ ลังกาและแบบมอญได้มีอิทธิพลอยู่ในสุโขทัย ถึงสมัยอยุธยาพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาได้มี อิทธิพลอยู่ในอยุธยาประชาชนนับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาซึ่งมีอิทธิพลมาต้ังแต่สมัย อาณาจกั รสุโขทยั เร่อื ยมาจนถงึ สมัยปจั จุบนั เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี ในพุทธศตวรรษท่ี ๓ พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบอโศก ได้เผยแผ่จากประเทศอินเดียมาสู่สุวรรณภูมิโดยเส้นทางเดินเรือ

ข ทะเล สันนิษฐานว่ามาข้ึนฝั่งที่บริเวณเมืองสะเทิมในประเทศเมียนมาร์หรือเมืองนครปฐมในประเทศ ไทยปัจจุบัน จากนั้นได้เผยแผ่เร่ือยมาผ่านสมัยฟูนัน ทวารวดี และลพบุรี พระพุทธศาสนามหายาน เผยแผ่จากประเทศอินเดียมาสู่สุวรรณภูมิโดยเส้นทางเดินเรือทะเล มาขึ้นฝั่งบริเวณแหลมมาลายู ใน อาณาจักรลังกาสุกะ ตามพรลิงค์ ได้เผยแผ่เร่ือยมาถึงสมัยอาณาจักรศรีวิชัย เจนละหรือขอม และได้ เข้ามามีอิทธิพลในภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลางของไทยสมัย ลพบรุ ี มศี ูนย์กลางการปกครองในประเทศไทยอยู่ท่ีเมืองละโว้ และทางภาคเหนือของไทยในสมยั ลพบุรี กไ็ ด้มีพระพทุ ธศาสนาเถรวาทแบบมอญและพกุ าม เผยแผ่จากเมืองพุกามและเมอื งพันในเมยี นมาร์เข้า มาในเมืองหริภุญชัยทางภาคเหนือของไทยด้วย ในสมัยสุโขทัย เม่ือพ่อขุนรามคาแหงขึ้นครองราชย์ พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาจากประเทศศรีลังกาได้ เผยแผ่มาในเมืองนครศรธี รรมราช และเข้า มาในสุโขทัยดว้ ย ทาใหม้ พี ระสงฆ์ในสุโขทัยแบ่งเปน็ สองฝา่ ย คือ ฝา่ ยคามวาสีเป็นเถรวาทแบบมอญท่ีมี วัดอยู่ในหมู่บ้าน และฝ่ายอรัญวาสีเปน็ เถรวาทแบบลงั กาที่มาจากเมืองนครศรีธรรมราชมีวัดอยู่ในป่า ในสมัยล้านนา มีพระสงฆ์สองกลุ่ม กลุ่มแรก คือ ลังกาวงศ์สานักรามัญ มีเส้นทางการเผยแผ่จาก ประเทศศรีลังกา มาเมืองยังพันในเมียนมาร์ เมืองสุโขทัย เมืองลาพูน และมาอยู่วัดสวนดอกใน เชยี งใหม่ กลุ่มท่ีสอง คือ ลงั กาวงศ์สานักสหี ล มีเส้นทางการเผยแผ่จากเชยี งใหม่ ไปยงั ประเทศศรลี งั กา ลังกา กลับมาท่ีอยุธยา ศรีสัชนาลัย สุโขทัย ลาพูน มาอยู่วัดป่าแดงในเชียงใหม่ สมัยอยุธยา พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกาได้มีอิทธิพลอยู่ในดินแดนน้ี และเผยแผ่ไปยังดินแดนต่าง ๆ ใน ประเทศไทย พ.ศ. ๒๒๙๕ สมัยของพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศยังได้ส่งพระสงฆ์เถรวาทแบบลังกาจาก อยธุ ยาไปเผยแผ่และฟืน้ ฟูพระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลังกาด้วย หลกั พทุ ธธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดีตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในประเทศไทย สมยั ทวารวดีและศรีวชิ ัย คือ อริยสัจสี่ บุญกิรยิ าวตั ถุ พระรตั นตรยั เป็นตน้ หลักพุทธ ธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดีสมัยลพบุรี คือ บุญกริยาวัตถุ พระรัตนตรัย สัจจะ จาคะ เป็น ต้น หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีสมัยสุโขทัย คือ สัทธรรมอันตรธานห้า ทศพิธราชธรรม ไตรลักษณ์ นรก สวรรค์ เป็นต้น หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดี สมัยลา้ นนา คือ บุญกิริยาวัตถุ มงคล ๓๘ นรก สวรรค์ นิพพาน เปน็ ต้น และ หลักพทุ ธธรรมท่ีปรากฏ ในหลักฐานทางโบราณคดีสมัยอยุธยา คือ บุญกิยาวัตถุ บุคคลหาได้ยากสองอย่าง ทิศหก ทศพิธราชธรรม อิทธบิ าทสี่ ศรัทธาสี่ พระรตั นตรยั คารวะหก ทศบารมี กุศลมูล อกศุ ลมูล เปน็ ต้น

ค Research Title: Cultural Geography : History, Propagation Routes of Buddhism, and Principles of Buddhadhamma Researchers: in Thailand Department: Asst. Prof. Dr. Taweesak Tongtip Fiscal Year: Mr. Chanit Chooluen Research Scholarship Sponsor: Phrabidega Supot Tapasilo Dr. Sahathaya Viset Asst. Prof. Dr. Thanoo Srithong Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Surin Campus 2559/2016. Mahachulalongkornrajavidyalaya University ABSTRACT The objectives of this research were to study the History, propagation routes of Buddhism, and principles of Buddhadhamma appeared in archaeological evidences in Dvaravati, Srivichai, Lob Buri, Sukhothai, Lanna, and Ayuttaya periods. It was a qualitative research. The data collection consisted of studying related documents, observation, in-depth interview, and group discussion. Descriptive analysis was used for data analysis. The results were found that: Buddhism was first arrived in Thailand in the period of Dvaravati in the third Buddhist century. This area was known as Suvarnabhumi. Buddhism was spread in the Suvarnabhumi area since the year 235 B.E., led by Phra Sona and Phra Uttara. It was presumed that the land was either Satherm in Myanmar or Nakhon Pathom in Thailand. This made the peoples in the said land believed in Buddhism descended from the periods of Funan and Dvaravati. Ashoka Theravada Buddhism came to Dvaravati kingdom and Mahayana Buddhism came to Srivichai kingdom. People in that period believed in Mahayana Buddhism. Then with the influence of Khmer kingdom coming in the East, Northeast, North, and Central regions of Thailand with Mahayana Buddhism, situated in Lawoe kingdom. Therefore, there were Theravada and Mahayana Buddhism in Lob Buri period. In the periods of Sukhothai and Lanna, Lanka and Mon Theravada Buddhism was believed till Ayuttaya period to the present time. In the third century, Ashoka Theravada Buddhism was propagated from India to Suvarnabhumi by sea. It is presumed that the land was either Satherm in Myanmar

ง or Nakhon Pathom in Thailand, then continued to Funan, Dvaravati, and Lob Buri. Mahayana Buddhism was spread to Suvarnabhumi at Malayu Peninsula of Lankasuka and Tam Porn Ling by sea. It continued spreading to the kingdoms of Srivichai, Janla, and Lob Buri. And in Lob Buri period, Pagon Buddhism from Myanmar was also came in via Haripunchai kingdom. Sri Lanka Buddhism came to Nakhon Srithammarat of Thailand and continued till Sukhothai period. This divided the Buddhist monks in Sukhothai into two sections i.e. Gamavasi, the pagon Theravada Buddhism, building temples in community, and Aranyavasi, the Lanka Theravada Buddhism, building temples in forest. In the period of Lanna, there were two groups of the Buddhist monks. The first group was the Raman school of Langa Wong, spreading from Sri Lanka to Myanmar, Sukhothai, Lamphun, and Wat Suandok in Chiangmai. The second group was the Sihol school, spreading from Chiangmai to Sri Lanka and back to Ayuttaya, Srisatchanalai, Sukhothai, Lamphun, and Wat Padaeng in Chiangmai. In the period of Ayuttaya, Lanka Theravada Buddhism was the main belief, and spread to different places of Thailand and to Sri Lanka in B.E. 2295 in the king Borommarachathirat III. The Buddhist principles that appeared in the archaeological evidences in Thailand were as follows: In Dvaravati and Srivichai were Ariyasacca 4 (the Four Noble Truths), Punnakiriyavatthu 10 (the Bases of Meritorious Action), Rattanattaya (the Triple Gem), Sacca (the Truth), Caga (Liberality), etc. In Sukhothai period were Saddhama-antaradhan 5, Rajadhamma (ten virtues of a ruler), Tilakkhana (the Three Characteristics), Naraka (Hell), Sagga (Heaven), etc. In the Ayutthaya period were Punnakiriyavatthu (the Bases for meritorious action), Dullabha-puggala 2 (rare persons), Disa 6 (six directions), Rajadhamma (ten virtues of a ruler), Iddhipada (four paths of accomplishment), Saddha 4 (faith), Tilakkhana (the Three Characteristics), Puja 2 (acts of worship), Garava 6 (reverence), Parami (perfections), Kusalamula (the Wholesome Roots), and Akusalamula (the unwholesome Roots).

จ กิตตกิ รรมประกาศ การวิจัยเร่ืองภูมิศาสตร์วัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรมในประเทศไทย สาเรจ็ ลุลว่ งได้ด้วยดีโดยไดร้ ับการสนับสนุนจากส่วนงานและบุคคล หลายทา่ น ซงึ่ คณะผู้วจิ ยั ขอเอย่ นามท่านผูม้ ีอปุ การคุณเหลา่ นัน้ ไว้ ณ ที่น้ี ดงั น้ี ๑. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยผู้อานวยการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการทาวิจัย ตลอดทั้งได้ให้ คาปรึกษา อานวยความสะดวก และให้ขอ้ เสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการดาเนินการวิจัย จนงานวิจัย นี้ไดส้ าเร็จลงอยา่ งสมบรู ณ์ ๒. มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ โดยพระธรรมโมลี (ทอง อยู่ ญาณวิสทุ ฺโธ) รองอธกิ ารบดีวทิ ยาเขตสุรินทร์ ผอู้ านวยการสานักงานวิทยาเขตสุรินทร์ ผู้อานวยการ วิทยาลัยสงฆส์ ุรินทร์ ผู้อานวยการสานักวชิ าการวิทยาเขตสุรินทร์ คณาจารย์ และเจ้าหนา้ ที่ทุกฝ่าย ที่ ไดอ้ านวยความสะดวกในดา้ นการดาเนินการวจิ ัย ๓. คณาจารย์ในสาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา ท้งั ในระดับพุทธศาสตรบัณฑิตและพุทธศษสต รมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ทุกรูป/คน ได้ให้ความร่วมมือ สนับสนุนในการกาหนดประเด็นสาคัญและเป็นประโยชน์ตอ่ การทาวิจัยในคร้ังนี้ให้มีความชัดเจนมาก ยงิ่ ขน้ึ ทาใหง้ านวิจยั นม้ี คี วามถกู ตอ้ งและสมบูรณค์ รบถ้วนย่งิ ข้นึ ๔. นักวิชาการท่ีคณะผู้วิจัยเชิญมานาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในการสัมมนา รว่ มกับ คณาจารย์ และนิสิตทุกหลักสูตร ทุกสาขาวิชา ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวได้ถูกนามาใช้เขียนไว้ในงานวิจัยครั้งนี้ด้วย ๕. หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีคณะผู้วิจัยได้เข้าไปขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลการ วจิ ัยตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น อุทยานประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑสถาน สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย เปน็ ต้น ไดอ้ านวยความสะดวก ใหค้ วามร่วมมอื และไดใ้ ห้ข้อมลู ด้วยความเต็มใจ ๖. หัวหน้าหน่วยงาน นักวิชาการและเจ้าหน้าในสถานที่ต่าง ๆ ที่ได้ให้ความร่วมมือ อานวยความสะดวก ให้กบั คณะผู้วิจัยมโี อกาสได้สัมภาษณ์ เพ่ือเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลด้วยความเต็มใจ จงึ ขอขอบพระคุณทกุ ทา่ นไว้ ณ ท่ีนีด้ ้วย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทวีศกั ดิ์ ทองทิพย์ และคณะ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๙

ฉ สารบญั บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ....................................................................................................................ก บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ ...............................................................................................................ข กิตตกิ รรมประกาศ .....................................................................................................................ค สารบญั ...................................................................................................................................... ง สารบัญตาราง .......................................................................................................................... ซ สารบัญแผนภมู ิ .......................................................................................................................ฌ สารบญั ภาพ ............................................................................................................................ญ บทท่ี ๑ บทนำ ........................................................................................................................ ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ..................................................................... ๑ ๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย ........................................................................................... ๔ ๑.๓ ปญั หาการวจิ ัย ........................................................................................................... ๔ ๑.๔ ขอบเขตการวจิ ยั ........................................................................................................ ๕ ๑.๕ นยิ ามศพั ทท์ ่ีใชใ้ นการวิจยั .......................................................................................... ๕ ๑.๖ กรอบแนวคิดการวจิ ัย ................................................................................................ ๖ ๑.๗ วธิ ดี าเนินการวจิ ัย ...................................................................................................... ๖ ๑.๘ ประโยชน์ท่จี ะไดจ้ ากการวิจัย .................................................................................... ๙ บทท่ี ๒ ประวตั ศิ าสตร์ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรมในประเทศไทย สมยั ทวารวดีและศรวี ชิ ยั ..........................................................................................๑๐ ๒.๑ ประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และหลักพุทธธรรม ในประเทศไทยสมัยทวารวดี .....................................................................................๑๑ ๒.๑.๑ ประวัติศาสตรพ์ ระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี..........................๑๔ ๒.๑.๒ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ทวารวดี...................๒๒ ๒.๑.๓ หลกั พุทธธรรมทปี่ รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดตี ามเสน้ ทางการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมยั วารวดี...................................................๓๐ ๒.๒ ประวัติศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลักพทุ ธธรรม ในประเทศไทยสมัยศรวี ชิ ัย .......................................................................................๓๘ ๒.๒.๑ ประวตั ิศาสตร์พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยสมยั ศรวี ิชัย.....................๓๘ ๒.๒.๒ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั สมยั ศรวี ชิ ัย..............๕๒ ๒.๒.๓ หลักพทุ ธธรรมทป่ี รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดตี ามเส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยศรวี ิชัย..................................................๖๔

ช บทท่ี ๓ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและหลักพทุ ธธรรมสมยั ลพบุรี ........๗๑ ๓.๑ ประวัตศิ าสตรพ์ ระพุทธศาสนาในสมัยลพบรุ ี ............................................................๗๑ ๓.๑.๑ ประวตั ิศาสตรพ์ ระพทุ ธศาสนา นิกายมหายานสมัยลพบุรี.............................๗๒ ๓.๑.๒ ประวตั ศิ าสตร์พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท สมยั ลพบุรี ..............................๘๒ ๓.๒ เสน้ ทางการเผยแผแ่ ละภูมศิ าสตรว์ ัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ในสมัยลพบุรี..........................................................................................................๑๐๑ ๓.๒.๑ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมยั ลพบุรี ในภาคกลาง และภาคตะวันตก.......................................................................................๑๐๑ ๓.๒.๒ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสมัยลพบรุ ี ในภาคเหนือ......................๑๒๒ ๓.๒.๓ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสมัยลพบรุ ใี น ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคตะวันออก.............................................๑๒๕ ๓.๓ หลกั พุทธธรรมทีป่ รากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตามเสน้ ทางเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา สมัยลพบุรีในประเทศไทย ......................................................................................๑๔๕ ๓.๓.๑ จารึกหลักพุทธธรรมท่พี บในภาคกลางและภาคตะวันตก............................๑๔๖ ๓.๓.๒ จารกึ หลกั พทุ ธธรรมท่ีพบในภาคเหนอื .......................................................๑๔๘ ๓.๓.๓ จารึกหลกั พทุ ธธรรมทพ่ี บแถบภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคตะวันออก ....................................................................................๑๕๐ บทที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาและหลักพุทธธรรม สมัยสุโขทัยและลา้ นนา ........................................................................................... ๑๖๔ ๔.๑ ประวัติศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรมสมัยสโุ ขทัย..............................................................................๑๖๕ ๔.๑.๑ ประวตั ศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมยั สุโขทัย.........................๑๖๕ ๔.๑.๒ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมยั สุโขทยั ..................๑๗๓ ๔.๑.๓ หลักพุทธธรรมทีป่ รากฏในหลักฐานทางโบราณคดตี ามเสน้ ทาง การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยสโุ ขทัย.............................๑๘๒ ๔.๒ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและหลักพุทธธรรม ในประเทศไทยสมยั ล้านนา......................................................................................๑๘๙ ๔.๒.๑ ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ล้านนา ......................๑๘๙ ๔.๒.๒ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมยั ลา้ นนา ................๒๐๒ ๔.๒.๓ หลกั พทุ ธธรรมที่ปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดีตามเส้นทาง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยสโุ ขทัย.............................๒๐๗

ซ บทท่ี ๕ ประวตั ศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและหลกั พทุ ธธรรมสมัยอยธุ ยา.... ๒๒๖ ๕.๑ ประวัติศาสตร์พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยอยธุ ยา.....................................๒๓๐ ๕.๑.๑ ประวัตศิ าสตร์พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา ในช่วงพ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๐๐๐ ..................................................................๒๓๐ ๕.๑.๒ ประวัตศิ าสตรพ์ ระพุทธศาสนาในสมยั อยธุ ยา ในชว่ ง พ.ศ. ๒๐๐๐ – ๒๑๐๐ ...................................................................๒๓๓ ๕.๑.๓ ประวัตศิ าสตร์พระพุทธศาสนาในสมัยอยธุ ยา ในช่วง พ.ศ. ๒๑๐๐ – ๒๒๐๐ ...................................................................๒๓๔ ๕.๑.๔ ประวตั ศิ าสตรพ์ ระพุทธศาสนาในสมัยอยธุ ยา ในช่วง พ.ศ. ๒๒๐๐ – ๒๓๑๐ ...................................................................๒๓๗ ๕.๒ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยอยธุ ยา..............................๒๔๖ ๕.๒.๑ โบราณสถานที่เป็นวดั ในสมยั อยุธยา ..........................................................๒๔๖ ๕.๒.๒ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสมยั อยุธยาจากร่องรอยของ สถาปตั ยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และวรรณกรรม .........................๒๕๕ ๕.๒.๓ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาระหว่างสยามประเทศ กับศรีลังกา.................................................................................................๒๘๒ ๕.๓ หลกั พทุ ธธรรมที่ปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตามเสน้ ทาง การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยอยุธยา ..........................................๒๘๖ ๕.๓.๑ หลกั พทุ ธธรรมจากโบราณสถานท่ีเป็นวัดในสมยั อยุธยา.............................๒๘๗ ๕.๓.๒ วิเคราะหห์ ลักพุทธธรรมจากสถาปัตยกรรมในสมยั อยุธยา..........................๒๙๐ ๕.๓.๓ วิเคราะหห์ ลักพุทธธรรมจากประตมิ ากรรมในสมัยอยธุ ยา..........................๒๙๖ ๕.๓.๔ หลกั พทุ ธธรรมจากจิตรกรรมในสมยั อยธุ ยา ...............................................๒๙๙ ๕.๓.๕ หลักพทุ ธธรรมจากวรรณกรรมในสมยั อยุธยา.............................................๓๐๑ บทท่ี ๖ สรปุ ผลการวิจยั และ ข้อเสนอแนะ .......................................................................... ๓๑๕ ๖.๑ สรุปผลการวจิ ยั ........................................................................................................๓๑๕ ๖.๑.๑ สรุประวัติศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและหลกั พุทธธรรม ในสมยั ทวารวดีและศรีวชิ ยั ........................................................................๓๑๕ ๖.๑.๒ สรุประวัตศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและหลักพทุ ธธรรม ในสมยั ลพบรุ ี..............................................................................................๓๑๙ ๖.๑.๓ สรปุ ระวัตศิ าสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและหลกั พุทธธรรม ในสมัยสุโขทยั และลา้ นนา ..........................................................................๓๒๗ ๖.๑.๔ สรุปประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรมในสมัยอยุธยา.............................................................๓๔๑

ฌ ๖.๒ ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................๓๕๑ ๖.๒.๑ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย............................................................................๓๕๑ ๖.๒.๒ ข้อเสนอแนะการนาผลการวิจยั ไปปฏิบัติ....................................................๓๕๓ ๖.๒.๓ ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยครั้งตอ่ ไป..........................................................๓๕๓ บรรณานกุ รม ..................................................................................................................... ๓๕๕ ภาคผนวก ........................................................................................................................ ๓๗๑ ภาคผนวก ก บทความวิจยั ......................................................................................................๓๗๒ ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรมทเี่ กย่ี วข้องกบั การนาผลจากโครงการวิจัยไปใช้ประโยชน์ .............๓๙๒ ภาคผนวก ค ตารางเปรยี บเทยี บวตั ถุประสงค์ กจิ กรรมทว่ี างแผนไว้ และกิจกรรมทไี่ ด้ดาเนินการมาและผลทไี่ ดร้ บั ของโครงการ..............................๓๙๓ ภาคผนวก ง ตัวอย่างเครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั ........................................................................๓๙๖ ภาคผนวก จ รูปภาพกิจกรรมท่ีดาเนินการวจิ ัย.......................................................................๔๐๒ ภาคผนวก ฉ แบบสรปุ โครงการวิจยั .......................................................................................๔๐๓ ประวัตผิ ู้วจิ ยั ........................................................................................................................ ๔๑๑

ญ สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า ๒.๑ แหล่งโบราณคดสี มยั ทวารวดตี ามภูมภิ าคต่าง ๆ.............................................................๒๔ ๕.๑ วัตถุประสงค์ของพระมหากษตั ริย์สมัยอยธุ ยาในการทรงสถาปนาและสรา้ งวัด ...........๒๘๘ ๕.๒ ลกั ษณะสาคญั ของสถาปัตยกรรมที่สาคญั ในสมยั อยุธยา .............................................๒๙๓ ๕.๓ ประตมิ ากรรมทีม่ ีเอกลักษณ์โดดเดน่ และสาคัญในสมยั อยุธยา ....................................๒๙๗ ๕.๔ จิตรกรรมฝาผนังไทยท่ีสาคญั ๔ ยคุ ในสมัยอยธุ ยา.....................................................๓๐๐ ๕.๕ วรรณกรรมท่ีสาคญั ๓ ยุค ในสมัยอยธุ ยา ...................................................................๓๐๑

ฎ สารบญั ภาพประกอบ ภาพประกอบท่ี หน้า ๑.๑ แผนบรหิ ารการวิจัย........................................................................................................... ๗ ๒.๑ แผนทอี่ าณาจักรทวารวดีโบราณ......................................................................................๑๗ ๒.๒ พระพุทธรูปศิลปะทวารวดี ปางแสดงธรรม ประดษิ ฐาน ณ พระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม ..................................................................................๑๙ ๒.๓ ชิน้ สว่ นธรรมจักร เศียรพระพุทธรปู และพระพทุ ธรปู ประทบั ยืน ศิลปะทวารวดหี รอื มอญโบราณ อาเภอไชยา จังหวดั สุราษฏรธ์ านี ..................................๑๙ ๒.๔ ศิลาธรรมจกั ร โบราณวตั ถุทางพระพทุ ธศาสนาศิลปะสมัยทวารวดี.................................๒๑ ๒.๕ พระพทุ ธรูปศิลปะทวารวดี ทีม่ ีความสวยสดงดงามตามแบบเถรวาท...............................๒๑ ๒.๖ เจดยี ว์ ัดเขาไม้แดน อาเภอพยหุ คีรี จงั หวดั นครสวรรค์ ....................................................๒๙ ๒.๗ ธรรมจักรศลิ า สัญลกั ษณ์สาคัญของพระพุทธศาสนาและศลิ ปะทวารวดี .........................๒๙ ๒.๘ พระพุทธรูปศลิ ปะทวารวดี ..............................................................................................๒๙ ๒.๙ จารึกธรรมจกั ร (นครปฐม) ดา้ นท่ี ๑................................................................................๓๐ ๒.๑๐ จารึกถ้าฤๅษีเขางเู มอื งราชบรุ ี ดา้ นที่ ๑...........................................................................๓๑ ๒.๑๑ จารึกพระพมิ พ์ดินเผาวดั โคกไม้เดน ด้านท่ี ๑................................................................๓๒ ๒.๑๒ จารึกเยธมมฺ าฯ เมอื งศรเี ทพ ด้านที่ ๑...........................................................................๓๓ ๒.๑๓ จารกึ วดั จันทึก ขอ้ ความทง้ั ๔ ตอน...............................................................................๓๔ ๒.๑๔ จารกึ เนินสระบวั ด้านที่ ๑ ............................................................................................๓๔ ๒.๑๕ จารึกพระพิมพด์ นิ เผาเมืองฟ้าแดดสงู ยาง ๑ ด้านท่ี ๑ ..................................................๓๕ ๒.๑๖ จารึก เย ธมมาฯ บนพระซุ้มศรวี ิชัย ๑..........................................................................๓๖ ๒.๑๗ จารกึ เยธมฺมาฯ บนพระสถูปดนิ เผาเมืองยะรงั ด้านท่ี ๑ ...............................................๓๗ ๒.๑๘ จารกึ เยธมมฺ าฯ บนพระสถูปดินเผาเมอื งยะรงั ดา้ นที่ ๒ ...............................................๓๗ ๒.๑๙ แผนที่อาณาจกั รศรีวิชัย ................................................................................................๓๘ ๒.๒๐ กลุ่มเจดีย์โบโรบโุ ด........................................................................................................๔๗ ๒.๒๑ พระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร พุทธศลิ ป์สมยั ศรีวิชยั อายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔..............๔๗ ๒.๒๒ พระโพธิสัตวอ์ วโลกเิ ตศวร ๔ กร พุทธศิลป์สมัยศรวี ชิ ัย อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔....๔๘ ๒.๒๓ พระบรมธาตไุ ชยา วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี.................................................................................๔๘ ๒.๒๔ พระบรมธาตุเจดยี ์วัดพระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร อาเภอเมอื งนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ..................................................๔๙ ๒.๒๕ พระบรมธาตุเจดีย์วดั เขียนบางแก้ว อาเภอเขาชยั สน จังหวดั พัทลุง ................................๔๙

ฏ ๒.๒๗ เจดยี ว์ ัดแก้ว อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฏร์ธานี .............................................................๕๐ ๒.๒๘ เจดียว์ ัดถา้ สิงขร อาเภอคีรีรัฐนคิ ม จังหวัดสุราษฎร์ธานี................................................๕๐ ๒.๒๙ เจดยี ์วัดถา้ สิงขร อาเภอคีรรี ัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี................................................๕๑ ๒.๓๐ พระบรมธาตไุ ชยา อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ....................................................๕๖ ๒.๓๑ พระพทุ ธรปู ปางมารวิชยั ที่พบภายในวัดเวียง................................................................๕๗ ๒.๓๒ วดั หลงในเมอื งไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี .....................................................................๕๗ ๒.๓๓ วดั แก้วในเมืองไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี .....................................................................๕๘ ๒.๓๔ วัดพระบรมธาตุ อาเภอเมือง จงั หวัดนครศรีธรรมราช................................................๕๙ ๒.๓๕ พระมหาธาตเุ จดยี ว์ ดั เขยี นบางแก้ว จงั หวัดพทั ลงุ .........................................................๖๐ ๒.๓๖ เมืองโบราณ อาเภอยะรัง จังหวดั ปัตตานี .....................................................................๖๑ ๒.๓๗ พระพุทธไสยาสน์ วดั คหู าภิมขุ ( วัดถ้า) จังหวดั ยะลา...................................................๖๓ ๒.๓๘ จารึกวดั เสมาเมอื ง ด้านที่ ๑ .........................................................................................๖๕ ๒.๓๙ จารกึ วัดเสมาเมือง ดา้ นที่ ๒..........................................................................................๖๕ ๒.๔๐ จารกึ พระสถูปพิมพด์ ินดบิ เขานยุ้ ดา้ นท่ี ๑ ...................................................................๖๖ ๓.๑ พระพุทธรูปทองคาปางวชิ ยั สมัยลพบรุ ี พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร.................๗๓ ๓.๒ รัตนเจดีย์ วัดจามเทวี จังหวัดลาพนู ...........................................................................๗๔ ๓.๓ รัตนปราสาท.................................................................................................................๗๖ ๓.๔ แผงสัมฤทธ์พิ ระสมณโคดม ...........................................................................................๗๗ ๓.๕ พระสมณโคดมยืน สัมฤทธิอ์ ายุประมาณคร่ึงแรกของพุทธศตวรรษที่ ๑๙.....................๗๗ ๓.๖ พระสมณโคดมนาคปรก กลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ .......................................................๗๘ ๓.๗ พระสมณโคดม ทรงเคร่อื งในเรือนแกว้ .........................................................................๗๘ ๓.๘ พระสมณโคดมยนื ประทานพรพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙........................................................๗๙ ๓.๙ เจดีย์ทรงลังกา ..............................................................................................................๘๑ ๓.๑๐ วัชรธาตมุ ณฑล..............................................................................................................๘๕ ๓.๑๑ พระศากยมุนีจากพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร....................................................๘๙ ๓.๑๒ พระอมิตาภะพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ..........................................................๙๐ ๓.๑๓ พระวัชรสัตวพ์ ทุ ธะศิลา พพิ ิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์........................๙๑ ๓.๑๔ “พระวัชรสตั ว์”พระพทุ ธรปู เค้าหน้าพระเจา้ ชยั วรมันที่ ๗ ท่ีปราสาทหนิ พมิ าย .............๙๒ ๓.๑๕ พระวชั รธร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตพิ มิ าย.................................................................๙๓ ๓.๑๖ พระโลเกศวร พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาตพิ ิมาย .............................................................๙๔ ๓.๑๗ พระโลเกศวรปราสาทเมืองสิงห์ จงั หวัดกาญจนบุรี......................................................๙๕ ๓.๑๘ พระโลเกศวรเปล่งรศั มีปราสาทเมืองสิงห์ กาญจนบุรี ...............................................๙๖ ๓.๑๙ พระไภษัชยครุ ุ ศลิ ปะลพบรุ ี.........................................................................................๙๗ ๓.๒๐ ดา้ นซา้ ยมือพระนางปรชั ญาปารมิตา...........................................................................๙๘ ๓.๒๑ พระเคร่อื งในคติ “วัชรยานไตรลักษณ์” หรอื “พระนารายณ์ทรงปืน”........................๙๙ ๓.๒๒ พระพมิ พ์แสดงพระพทุ ธเจ้าสามองค์ประทับน่ังภายในซมุ้ ...........................................๙๙

ฐ ๓.๒๓ ภาพถา่ ยทางอากาศบริเวณ อ.บ้านกรวด จ.บรุ รี ัมย์ ก่อนปี ๒๕๒๐ ....................... .๑๐๒ ๓.๒๔ เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสมัยลพบรุ ใี นภาคกลาง.........................................๑๐๓ ๓.๒๕ ปรางค์สามยอด เมืองลวะปรุ ะ ศูนย์กลางของอาณาจกั รขอมในเขตลมุ่ เจา้ พระยา ...๑๐๔ ๓.๒๖ ปรางค์วดั พระศรีรัตนมหาธาตุ จงั หวดั ลพบุรี...........................................................๑๐๕ ๓.๒๗ ปราสาทวัดพระพายหลวง ปราสาทขอมแบบ ๓ องค์ ในยคุ เริ่มแรกของกรงุ สุโขทัย ....................................................................................๑๐๘ ๓.๒๘ ปรางคอ์ ิฐหลังเดี่ยวบนเขาปู่จา่ ปลายพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖ จงั หวัดสุโขทัย ..................๑๐๙ ๓.๒๙ ปราสาทวดั ศรีสวาย ..................................................................................................๑๑๐ ๓.๓๐ หลักฐานทางด้านโบราณวตั ถุสถานพระพุทธศาสนาสมัยลพบุรใี นภาคกลาง ............๑๑๑ ๓.๓๑ ปราสาทเมอื งสิงห์ อาเภอเมืองสงิ ห์ จงั หวัดกาญจนบรุ ี .............................................๑๑๒ ๓.๓๒ ภาพถ่ายทางอากาศเมืองโบราณ “กลอนโด .............................................................๑๑๓ ๓.๓๓ พระนาคปรกมอี ุษณีษะในแบบของ “พระชยั พทุ ธมหานาถ” ทป่ี ราสาทเมอื งสงิ ห์ ...๑๑๕ ๓.๓๔ โพธิสัตวอ์ วโลกิเตศวรเปลง่ รัศมีอานุภาพ ปราสาทเมืองสิงห์.....................................๑๑๖ ๓.๓๕ ปรางค์วัดมหาธาตุ จังหวัดราชบุรี .............................................................................๑๑๗ ๓.๓๖ ปราสาทอานภุ าพที่ถูกทาลาย จนเหลอื เพยี งเนนิ ดนิ ขนาดใหญ่ ที่เมอื งศมั ภวู ะปฏั ฏนะ อาเภอบ้านโปง่ จงั หวัดราชบุรี...............................................๑๑๘ ๓.๓๗ ปราสาทกาแพงแลง ทเ่ี มอื ง \"ชยวชั รปุระ\" หรือจงั หวดั เพชรบุรี................................๑๒๐ ๓.๓๘ เสน้ ทางพระพทุ ธศาสนา สมัยลพบุรีในภาคตะวันตก................................................๑๒๑ ๓.๓๙ แผนที่และเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสมัยลพบุรี ในกลางและภาคตะวนั ตก.........................................................................................๑๒๒ ๓.๔๐ แผนศิลาจารกึ ประวตั วิ ัดจาเทวี .................................................................................๑๒๓ ๓.๔๑ เจดีย์จามเทวหี รอื เจดีย์กู่กดุ ......................................................................................๑๒๔ ๓.๔๒ แผนท่ีและเสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมยั ลพบุรใี นภาคเหนือ.....................๑๒๕ ๓.๔๓ แสดงปราสาททเ่ี ช่อื มโยงจากเมืองพระนครถงึ เมืองพิมาย ........................................๑๒๖ ๓.๔๔ แสดงท่ีตง้ั กลุ่มปราสาทตาเหมือนอาเภอพนมดงรกั จงั หวดั สรุ ินทร์..........................๑๒๘ ๓.๔๕ กลุ่มปราสาทตาเหมือนตาบลตาเมยี งอาเภอพนมดงรกั จงั หวัดสุรนิ ทร์ ....................๑๒๙ ๓.๔๖ พระชัยพุทธมหานาถ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาตสิ รุ ินทร์..............................................๑๓๐ ๓.๔๗ ปราสาทกฏุ ฤิ ๅษี จงั หวดั บรุ ีรมั ย์..................................................................................๑๓๒ ๓.๔๘ พระโพธิสตั วจ์ ากปราสาทปลายบดั อาเภอลาปลายมาศ จังหวดั บรุ รี ัมย์....................๑๓๓ ๓.๔๙ ใบเสมาที่แสดงถงึ การผสมผสานระหว่างศลิ ปะทวารวดี กบั ศิลปะขอมจากวัดเขาองั คาร..................................................................................๑๓๔ ๓.๕๐ เส้นทางประวัติศาสตร์ “ราชมรรคา”จากพระนครถงึ เมอื งพมิ าย...............................๑๓๕ ๓.๕๑ แผนผังรอบบริเวณปราสาทหินพมิ าย.........................................................................๑๓๗ ๓.๕๒ ปรางค์ประธาน ปราสาทหินพมิ าย.............................................................................๑๓๗ ๓.๕๓ แผนผังอโรคยาศาล....................................................................................................๑๓๘ ๓.๕๔ ภาพซ้ายพระพุทธเจา้ ไภสชั ยครุ ุไวฑูรยประภาสคุ ต....................................................๑๓๙

ฑ ๓.๕๕ พระโพธสิ ัตว์ศรจี ันทรไวโรจนโรหนิ ศี ะ ......................................................................๑๔๐ ๓.๕๖ รปู สลกั พระมานษุ โิ พธสิ ตั ว์ ๔ กร ...............................................................................๑๔๑ ๓.๕๗ พระโพธิสตั ว์หริหรหิ ริวาหนะ .....................................................................................๑๔๑ ๓.๕๘ พระพทุ ธรปู สมยั ลพบุรี และพระนางปรชั ญาปารมติ า ..............................................๑๔๓ ๓.๕๙ พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร..........................................................................................๑๔๓ ๓.๖๐ ปราสาทบ้านนอ้ ย ......................................................................................................๑๔๔ ๓.๖๑ แหลง่ โบราณคดี ทางพระพุทธศาสนาสมัยลพบุรี ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื และในภาคตะวนั ออก....................................................๑๔๕ ๓.๖๒ จารกึ ฐานพระพทุ ธรูปวดั ข่อย ด้านท่ี ๑ .......................................................................๑๔๖ ๓.๖๓ จารึกเสาแปดเหลยี่ ม (ลพบุรี) ด้านท่ี ๑-๘ .................................................................๑๔๖ ๓.๖๔ จารึกฐานพระพุทธรูปยืน ...........................................................................................๑๔๗ ๓.๖๕ แผนทแ่ี ละจารกึ หลกั พุทธธรรมที่ปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดีตามเส้นทาง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสมัยลพบรุ ี ในภาคกลางและภาคตะวันตก........................๑๔๘ ๓.๖๖ จารกึ วัดมหาวนั ด้านที่ ๑...........................................................................................๑๔๙ ๓.๖๗ จารึกวดั มหาวัน ด้านที่ ๒...........................................................................................๑๔๙ ๓.๖๘ จารกึ วัดมหาวัน ด้านท่ี ๓...........................................................................................๑๔๙ ๓.๖๙ จารกึ วดั มหาวนั ด้านท่ี ๔...........................................................................................๑๔๙ ๓.๗๐ จารึกวดั ดอนแกว้ ดา้ นที่ ๑ ........................................................................................๑๕๐ ๓.๗๑ จารกึ เนินสระบวั ดา้ นท่ี ๑ .........................................................................................๑๕๑ ๓.๗๒ จารกึ ปราสาทหินพมิ าย ๒ ดา้ นท่ี ๑...........................................................................๑๕๒ ๓.๗๓ จารึกปราสาทหินพมิ าย ๒ ดา้ นท่ี ๒...........................................................................๑๕๒ ๓.๗๔ จารกึ ปราสาทตาเมียนโตจ ด้านที่ ๑ ..........................................................................๑๕๒ ๓.๗๕ จารกึ ปราสาทตาเมยี นโตจ ด้านที่ ๒ ..........................................................................๑๕๒ ๓.๗๖ จารึกปราสาทตาเมียนโตจ ด้านที่ ๓ ..........................................................................๑๕๓ ๓.๗๗ จารกึ ปราสาทตาเมียนโตจ ดา้ นท่ี ๔ ..........................................................................๑๕๓ ๓.๗๘ แผนท่ีและจารึกหลกั พทุ ธธรรมทีป่ รากฏในหลักฐานทางโบราณคดตี าม เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมัยลพบุรีในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคตะวนั ออก ....................................................................................................๑๕๔ ๔.๑ บรเิ วณในอุทยานประวตั ิศาสตร์สุโขทัย .......................................................................๑๖๖ ๔.๒ พระปรางค์ ๓ ยอด วัดศรีสวาย จ.สุโขทัย ...................................................................๑๗๒ ๔.๓ อทุ ยานประวัตศิ าสตรศ์ รีสชั นาลยั ...............................................................................๑๗๖ ๔.๔ จารกึ นครชมุ ด้านที่ ๑.................................................................................................๑๘๓ ๔.๕ จารึกนครชุม ดา้ นที่ ๒.................................................................................................๑๘๓ ๔.๖ จารกึ ปขู่ นุ จติ ขุนจอด ด้านท่ี ๒ ....................................................................................๑๘๔ ๔.๗ จารกึ เจ้าธรรมรังสี ด้าน ที่ ๑.......................................................................................๑๘๕ ๔.๘ ศิลาจารึกสโุ ขทัยหลักที่ ๑ ด้านที่ ๒. ...........................................................................๑๘๖

ฒ ๔.๙ ศิลาจารกึ สโุ ขทยั หลักที่ ๑ ดา้ นที่ ๓. ...........................................................................๑๘๗ ๔.๑๐ พระเสตังคมณี หรอื พระแกว้ ขาว วัดเชียงม่ัน จ.เชียงใหม่..........................................๑๙๑ ๔.๑๑ เจดยี ์ช้างล้อม วดั เชยี งมั่น จ.เชียงใหม่........................................................................๑๙๒ ๔.๑๒ เจดยี ์วัดพระยนื อ.เมอื ง จ.ลาพนู ...............................................................................๑๙๔ ๔.๑๓ พระธาตเุ จดีย์วัดสวนดอก อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่...........................................................๑๙๔ ๔.๑๔ เจดยี ์วัดป่าแดงหลวง อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ ..................................................................๑๙๕ ๔.๑๕ วิหารมหาโพธิ์ วัดมหาโพธาราม หรอื วัดเจด็ ยอด จ.เชียงใหม่ ....................................๑๙๗ ๔.๑๖ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย ครงั้ ท่ี ๑ ลังกา – นครศรีธรรมราช - สุโขทยั ............................................................................๒๑๖ ๔.๑๗ เส้นทางการเผยแผ่พรพทุ ธศาสนาในสมยั สโุ ขทยั ครง้ั ที่ ๒ สโุ ขทัย - เมืองพนั - อนิ เดีย – ลังกา – สุโขทยั ..........................................................๒๑๗ ๔.๑๘ เส้นทางในหริภญุ ชัยชว่ งกอ่ นสมยั ลา้ นนา ครัง้ ท่ี ๑ ....................................................๒๒๐ ๔.๑๙ เส้นทางในหรภิ ุญชัยชว่ งกอ่ นสมัยลา้ นนา คร้งั ที่ ๒ ....................................................๒๒๑ ๔.๒๐ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสมัยล้านนา ครงั้ ที่ ๑...........................................๒๒๒ ๔.๒๑ เส้นทางภมู ิศาสตร์วฒั นธรรมในสมยั ลา้ นนา ครัง้ ที่ ๒ ................................................๒๒๓ ๕.๑ แผนท่ีแสดงอาณาจักรอยธุ ยาและอาณาจักรใกลเ้ คยี ง ในสมัยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑.................................................................................๒๒๘ ๕.๒ วัดพทุ ไธศวรรย์............................................................................................................๒๔๗ ๕.๓ วัดมหาธาตุ..................................................................................................................๒๔๘ ๕.๔ วัดพระราม..................................................................................................................๒๔๙ ๕.๕ วัดพระศรสี รรเพชญ ....................................................................................................๒๕๐ ๕.๖ วดั ไชยวฒั นาราม.........................................................................................................๒๕๑ ๕.๗ วดั บรมพุทธาราม.........................................................................................................๒๕๒ ๕.๘ วดั วรเชษฐาราม...........................................................................................................๒๕๓ ๕.๙ แสดงสรปุ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาโดยอาศัยรอ่ งลอย ด้านโบราณสถานที่เปน็ วัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ..............................................๒๕๔ ๕.๑๐ พระปรางคว์ ัดพทุ ไธสวรรย์..........................................................................................๒๕๕ ๕.๑๑ พระปรางคว์ ัดพระราม ................................................................................................๒๕๖ ๕.๑๒ พระปรางคว์ ดั ราชบรู ณ ...............................................................................................๒๕๗ ๕.๑๓ พระเจดยี ใ์ หญ่ ๓ องค์วดั พระศรีสรรเพชญ์..................................................................๒๕๗ ๕.๑๔ พระปรางค์ขึน้ วดั ไชยวัฒนาราม ..................................................................................๒๕๘ ๕.๑๕ เจดีย์ใหญว่ ัดภเู ขาทอง.................................................................................................๒๕๙ ๕.๑๖ ปรางค์วัดพระศรรี ัตนมหาธาตุ.....................................................................................๒๖๐ ๕.๑๗ พระเจดีย์ใหญว่ ดั ใหญช่ ัยมงคล....................................................................................๒๖๐ ๕.๑๘ พระศรีสรรเพชญดาญาณ............................................................................................๒๖๑ ๕.๑๙ พระพุทธนิมติ วิชติ มารโมลีศรีสรรเพชรบรมไตรโลกนาถ .............................................๒๖๒

ณ ๕.๒๐ พระพุทธรปู ทรงเครือ่ งนอ้ ยปางประทานอภัย ศิลปะอยุธยาตอนปลาย .......................๒๖๒ ๕.๒๑ บานประตูไม้จาหลกั รูปเทวดาทรงพระขรรค์...............................................................๒๖๓ ๕.๒๒ เศยี รพระพุทธรปู ทรงเครอื่ งสารดิ เป็นศิลปะอยุธยาตอนตน้ .......................................๒๖๓ ๕.๒๓ ธรรมาสน์สมัยอยธุ ยาตอนปลาย..................................................................................๒๖๔ ๕.๒๔ หีบพระธรรมลายรดนา้ ศลิ ปะอยุธยา พทุ ธศตวรรษที่ ๒๓ ไม้ลงรกั ปิดทอง ................๒๖๔ ๕.๒๕ ภาพจิตรกรรมในพระปรางคป์ ระธาน วดั ราชบรู ณะ....................................................๒๖๕ ๕.๒๖ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั เร่ืองพทุ ธประวัติสมยั อยธุ ยาตอนตน้ .........................................๒๖๖ ๕.๒๗ ตูพ้ ระธรรมลายรดน้า ฝมี ือครวู ัดเชงิ หวาย...................................................................๒๖๖ ๕.๒๘ เคร่อื งทองในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ....................................................................๒๖๗ ๕.๒๙ ลิลิตโองการแช่งน้า......................................................................................................๒๖๘ ๕.๓๐ ลลิ ิตยวนพา่ ย...............................................................................................................๒๖๙ ๕.๓๑ มหาชาติคาหลวง.........................................................................................................๒๗๐ ๕.๓๒ ลิลิตพระลอ.................................................................................................................๒๗๒ ๕.๓๓ กาพย์มหาชาติ.............................................................................................................๒๗๕ ๕.๓๔ สมทุ รโฆษคาฉนั ท์........................................................................................................๒๗๕ ๕.๓๕ เสอื โคคาฉันท์..............................................................................................................๒๗๖ ๕.๓๖ จนิ ดามณี.....................................................................................................................๒๗๘ ๕.๓๗ พงศาวดารฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนิติ.....................................................................๒๗๘ ๕.๓๘ พระมาลยั คาหลวง.......................................................................................................๒๗๙ ๕.๓๙ บทละครเรอ่ื งอิเหนา ...................................................................................................๒๘๐ ๕.๔๐ นกิ ายสยามวงศใ์ นศรลี ังกา ..........................................................................................๒๘๒ ๕.๔๑ แผนที่แสดงเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ระหว่างสยามประเทศกับศรีลังกา....๒๘๕ ๕.๔๒ สรุปเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ตั้งแต่เข้าสู่ประเทศไทยจนถึงสมยั อยุธยา.....๓๐๙ ๖.๑ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสมัยสโุ ขทัย ครั้งที่ ๑ ลงั กา – นครศรีธรรมราช - สุโขทยั .............................................................................๓๓๒ ๖.๒ เสน้ ทางการเผยแผพ่ รพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย คร้งั ท่ี ๒ สุโขทยั - เมอื งพัน - อนิ เดีย – ลังกา – สโุ ขทยั ........................................................................๓๓๓ ๖.๓ เสน้ ทางในหรภิ ญุ ชัยชว่ งก่อนสมยั ล้านนา ครั้งท่ี ๑ (เถรวาทแบบอโศก).......................๓๓๖ ๖.๔ เส้นทางในหริภุญชัยชว่ งก่อนสมัยล้านนา ครัง้ ที่ ๒ (เถรวาทแบบพุกามและมอญ) .......๓๓๗ ๖.๕ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมัยลา้ นนา ครั้งที่ ๑ (เถรวาทแบบลงั กาวงศ์สานักรามญั ) .............................................................................๓๓๘ ๖.๖ เสน้ ทางภูมศิ าสตรว์ ฒั นธรรมในสมยั ลา้ นนา ครง้ั ท่ี ๒ (เถรวาทแบบลังกาวงศส์ านกั สีหล) .............................................................................๓๓๙ ๖.๗ สรปุ เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ต้ังแตเ่ ขา้ สู่ประเทศไทยจนถงึ สมัยอยุธยา ......๓๔๖

ด คาอธบิ ายสญั ลกั ษณแ์ ละคายอ่ ในการอ้างอิงเอกสารช้ันปฐมภูมขิ องสารนพิ นธเ์ ล่มนี้ ได้อา้ งองิ จากพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๓๙ เล่มที่ ๔,๑๑,๒๐ โดยใช้สัญลักษณ์ และคา ย่อตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คือ ชื่อย่อคัมภีร์/เล่ม/ข้อ/หน้า ตัวอย่าง เช่น ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๒๒/๓๑๓. หมายถึง พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) เลม่ ท่ี ๑๑ ขอ้ ที่ ๓๒๒ หน้า ๓๑๓. เปน็ ตน้ พระวินยั ปิฎก วิ.ม. (ไทย) = วนิ ัยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย) พระสตุ ตันตปิฎก (ภาษาไทย) (ภาษาไทย) ท.ี ปา. (ไทย) = ทฆี นกิ าย ปาฏกิ วรรค อง.ฺ ทก.ฺ (ไทย) = อังคุตตรนกิ าย ทกุ นิบาต

บทท่ี ๑ บทนำ ๑.๑ ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ ภูมิศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีปรากฏอย่ตู ามภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศ ไทยในปจั จุบันได้สะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาท่ีมีต่อวิถีชีวิตของคนที่อาศัยอยู่ใน อาณาบริเวณน้ีเป็นเวลายาวนาน จากการศึกษาร่องรอยทางประวัติศาสตร์และเส้นทางการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในสมยั ของอาณาจกั รต่าง ๆ เช่น ทวารวดี ศรวี ิชยั ลพบุรี สุโขทยั ลา้ นนา และอยุธยา พบว่าพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เขา้ มาส่อู าณาบริเวณน้ตี ้ังแต่พุทธศตวรรษที่ ๓ เป็นตน้ มา ร่องรอยทาง ประวัติศาสตร์และเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเหล่าน้ีสามารถสืบค้นได้ท้ังที่เป็นข้อมูลจาก เอกสารวิชาการและข้อมูลจากหลักฐานทางโบราณคดี การศึกษาเก่ียวกับร่องรอยทางประวัติศาสตร์ ของพระพุทธศาสนาที่เผยแผ่เข้ามาในอาณาบริเวณนไี้ ดพ้ บวา่ มอี ยู่ ๒ นิกายหลัก คือ นิกายเถรวาทกับ นิกายมหายาน ทั้ง ๒ นิกายนี้ได้ถือกาเนิดข้ึนในประเทศอินเดียภายหลังจากที่พระพุทธเจ้าได้ ปรินิพพานแล้ว เมื่อพระพทุ ธศาสนาได้แตกออกเป็น ๒ นิกายหลักดังกล่าวแล้ว ในแต่ละนกิ ายกไ็ ดเ้ ผย แผ่ออกไปยังประเทศต่าง ๆ สาหรับพระพุทธศาสนาที่เข้ามาสู่ดินแดนสยามหรือประเทศไทยใน ปัจจุบันน้ี นักวิชาการได้แบ่งออกเป็น ๔ ยุค๑ ดังน้ี คือ ๑) ยุคพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบพระเจ้า อโศก (ประมาณ พ.ศ. ๒๓๔) ภายหลังจากพระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงอุปถัมภ์การทาสงั คายนาครั้งที่ ๓ ในประเทศอินเดียแล้วก็ไดส้ ่ง พระโสณะกับพระอตุ ตระใหเ้ ป็นศาสนทูตมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ดนิ แดนแถบน้ี ซ่งึ สมัยน้นั ดินแดนในแถบนีม้ ีชอื่ เรยี กวา่ สุวรรณภูมิ ๒) ยคุ พระพุทธศาสนาแบบมหายาน (พ.ศ. ๑๐๐๒-๑๒๐๐) อาณาจักรขอมหรือประเทศกัมพูชาในปัจจุบันได้รับเอาพระพุทธศาสนาแบบ มหายานมาจากอาณาจักรศรีวิชัย เข้ามาอาณาจักรขอมในรัชสมัยของพระเจ้าสูรยวรมันที่ ๑ แล้ว พระพุทธศาสนาแบบมหายานนี้กไ็ ด้แผข่ ยายไปยังบริเวณแถบล่มุ แม่น้าเจา้ พระยาและลุ่มแม่นา้ โขง แต่ ปรากฏว่าไม่ได้มีอิทธิพลต่อชาวพุทธในดินแดนแถบน้ีมากนัก เหตุเพราะว่าชาวมอญได้นาเอา พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทมาเผยแผ่ในดินแดนแถบน้ีอย่างม่ันคงอยู่ก่อนแล้ว และในที่สุด พระพุทธศาสนาแบบมหายานต้ังอยู่ได้ไม่นานกห็ มดสิ้นอิทธิพลในดินแดนแถบนี้ลงไป แต่ร่องรอยทาง ประวัติศาสตรย์ ังมคี วามสาคัญตอ่ การศึกษาภมู ศิ าสตรว์ ฒั นธรรมพระพุทธศาสนาในอาณาบรเิ วณนีเ้ ป็น อยา่ งมาก ๓) ยุคเถรวาทแบบพุกาม (พ.ศ. ๑๖๐๐) ยุคน้ันชาวพุกามได้เรืองอานาจอยู่ในดินแดนทาง ตอนเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน จึงได้นาเอาพระพุทธศาสนาเถรวาทแบบพุกามมาเผยแผ่ให้เจริญ แพร่หลายอยู่ในดินแดนแถบน้ันเรื่อยมาจนถึงสมัยสุโขทัยจึงลดอิทธิพลลงไป ๔) พระพุทธศาสนาเถร วาทแบบลังกาวงศ์ (ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๐) ผู้นาคนไทยที่ปกครองบ้านเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา พระองคแ์ รกคือ พอ่ ขนุ ศรีอินทราทิตย์ ปฐมกษตั ริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัยไดป้ ระกาศเอกราชและไดข้ ับ ๑ อัธยา โกมลกาญจน์, พระพทุ ธศำสนำบนแผ่นดินไทย, (กรุงเทพมหานคร: อกั ษรเจรญิ ทศั น์, ๒๕๔๕), หน้า ๕๑-๕๔.

๒ ไล่อิทธิพลของพวกขอมออกไปแล้วตงั้ นครสโุ ขทยั เป็นราชธานพี ระพุทธศาสนาในยุคสุโขทยั นี้มีทั้งนกิ าย เถรวาทและนิกายมหายานปะปนกันเนื่องจากทั้งนิกายเถรวาทและมหายานน้ันต่างก็ได้เผยแผ่อยู่ใน ดนิ แดนแถบนี้มาแล้วก่อนหน้านี้จนถึงรัชสมยั พ่อขุนรามคาแหงมหาราชพระมหากษตั ริย์องค์ท่ี ๓ ของ ราชวงศ์พระร่วงพระองค์ขึ้นครองราชย์ เม่ือ พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๔๒ทรงสดับกิตตคิ ุณความเคร่งครัดของ พระสงฆ์ลังกาวงศ์ท่ีเมอื งนครศรีธรรมราชจึงโปรดให้นิมนต์คณะสงฆ์ลังกาข้ึนไปตั้งลังกาวงศข์ ึ้นที่กรุง สุโขทัยเมื่อพระพุทธศาสนาลัทธิเถรวาทแบบลังกาวงศ์ข้ึนไปประดิษฐานท่ีสุโขทัยแล้วนิกายเถรวาท แบบมอญเก่าก็ดีนิกายมหายานก็ดีก็ค่อยๆสลายตัวลงจนหมดไปในระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙ ประเทศต่าง ๆเช่นไทยพม่ากัมพูชามอญลาวก็ได้เปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบ ลังกาวงศ์ท้ังหมดและก็ได้นับถือติดต่อกันเร่ือยมาตามลาดับจนถึงปัจจุบันยุคสมัยของความรุ่งเรือง ดงั กล่าวสรปุ ได้ดงั นี้ สมัยทวารวดี พระพุทธศาสนาไดเ้ จริญรุ่งเรืองอยู่ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ – ๑๖ สันนิษฐานกันว่าศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีน่าจะอยู่ในอาณาบริเวณจังหวัดนครปฐม ราชบุรี สพุ รรณบุรีในปัจจบุ ัน มีหลักฐานทางโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาท่ีสาคัญเช่น วงล้อพระธรรมจักร กบั กวางหมอบ เสาเสมาศลิ า พระพทุ ธรูปศลิ า พระปฐมเจดีย์ เจดีจลุ ประโทน เปน็ ตน้ สมัยศรีวิชัย พระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองอยู่ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๘ สั น นิ ษ ฐ าน กั น ว่ าศู น ย์ ก ล าง ข อ ง อ าณ าจั ก ร ศ รี วิ ชั ย น่ า จ ะ ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง อ าณ าบ ริ เว ณ จั ง ห วั ด นครศรีธรรมราช อาเภอไชยา อาเภอสทิงพระ สุราษฎร์ธานีในปัจจุบันมีหลักฐานทางโบราณคดีทาง พระพทุ ธศาสนาท่ีสาคญั เช่น พระบรมธาตุไชยา พระพุทธสิหิงคเ์ ป็นพระพทุ ธแบบลังกาทีเ่ ผยแผไ่ ปยัง กรงุ สุโขทยั และได้มีอทิ ธิพลอยู่ในประเทศไทยจนถึงปัจจบุ ัน เป็นต้น สมัยลพบุรี พระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองอยู่ในช่วงระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ – ๑๔ สันนิษฐานกันว่าศูนย์กลางของอาณาจักรลพบุรีน่าจะอยู่ในอาณาบริเวณจังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน หลักฐานทางโบราณคดีทางพระพุทธศาสนาในสมัยลพบุรีได้รับอิทธิพลจากทวารวดีและขอมท่ีสาคัญ เช่น พระพทุ ธรูปศิลาปางนาคปรกประตมิ ากรรมแบบทวารวดี พระพทุ ธรูปปางมารวิชัย ปางเสดจ็ จาก สวรรค์ช้นั ดาวดึงส์ ปางหา้ มญาติ ปางหา้ มสมุทร ปางปา่ เลไลยก์ เป็นตน้ สมัยสุโขทัย ในยุคนี้พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนามีอยู่ ๒ นิกาย คอื นิกายเถรวาทกับนิกาย มหายาน แต่ชาวพุทธส่วนใหญ่นับถือพระสงฆ์นิกายเถรวาท วัดท่ีสาคัญคือ วัดมหาธาตุ เจดียท์ ี่สาคัญ เป็นแบบพุ่มข้าวบิณฑ์เจดีย์ทรงแบบน้ีมีเฉพาะท่ีอาณาจักรสุโขทัยเท่าน้ัน คือ มีในจังหวัดสุโขทัย กาแพงเพชร ตาก ยังมีเมืองท่ีสาคัญอยู่ทางเหนือ ห่างประมาณ ๖๐ กิโลเมตร คือ ศรีสัชนาลัย โบราณสถานคล้ายคลึงกับสุโขทัย เช่น วัดเจดีย์ ๗ แถว เป็นสถูปแบบพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นเมืองอุปราช ของสโุ ขทัยและในสมัยนยี้ ังมกี ารสร้างพระพทุ ธรปู ต่าง ๆ ไว้เคารพบูชาอีกด้วย สมยั ลา้ นนาประมาณปี พ.ศ. ๑๘๓๙ พระยามงั รายแห่งอาณาจกั รล้านนา ได้ทรงสรา้ งราช ธานีข้ึนชื่อว่า “นพบุรี ศรีนครพิงค์เชียงใหม่” ณ ลุ่มแม่น้าปิง ได้สร้างวัดต่างๆ ทั้งท่ีเป็นฝ่ายคามวาสี และอรัญญวาสี จนพระพุทธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรอื งขน้ึ ตามลาดบั เมืองในอาณาจักรล้านนา เช่น เชียงราย ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา เป็นต้น ต่างก็นับถือพระพุทธศาสนา พิธีกรรมและความเช่ือทาง ศาสนามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของชาวล้านนาอย่างมากในปี พ.ศ. ๒๐๒๐ รัชสมัยพระเจ้าติโลกราชแห่ง

๓ เชียงใหม่ ไดท้ าสังคายนาพระไตรปิฎกข้ึนครั้งแรกในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน ณ วัดมหาโพธาราม หรือวดั เจด็ ยอดสมัยล้านนานีเ้ องเกิดพระเถระนักปราชญ์ชาวล้านนาหลายรูป และได้รจนาคัมภรี ส์ าคัญ ทางพระพุทธศาสนาไว้เป็นจานวนมาก เช่น พระสิริมังคลาจารย์ แต่งมังคลัตถทีปนีเวสสันตรทีปนี จักรวาลทีปนีสังขยาปกาสกฎีกา, พระญาณกิตติเถระ แต่งโยชนาวินัย โยชนาอภิธรรม, พระรัตน ปญั ญา แตง่ วชิรสารัตถสงั คหะ และชินกาลมาลีปกรณ์, พระโพธริ ังษี แต่งจามเทววี งศ์, พระนนั ทาจารย์ แต่งสารตั ถะสงั คหะ และพระสวุ รรณรงั สีแต่งปฐมสมโพธสิ งั เขป เปน็ ต้น๒ สมยั อยธุ ยา การสถาปนาอาณาจักรอยธุ ยาเริม่ ขึ้นใน พ.ศ.๑๘๙๓ และสิ้นสดุ ลงเม่อื พ.ศ. ๒๓๑๐ งานประณีตศิลป์สมัยอยุธยาส่วนใหญ่ทาขึ้นเพ่ือประดับตกแต่งพุทธศาสนสถานและพุทธ ศาสนาวัตถุต่าง ๆ ในมีความวิจิตรสวยงาม งานประณีตศิลป์ท่ีเกิดขึ้นมีหลายประเภท เช่น เครื่องไม้ จาหลักได้แก่ ตู้พระธรรม ธรรมาสน์ พระพุทธรูป บานประตู หน้าต่าง หน้าบันพระอุโบสถ ตู้เก็บ หนังสอื ลายรดน้า คอื การนาทองมาปิดลงบนรักสีดาบนพ้ืนที่เขยี นภาพหรือลวดลายแลว้ รดนา้ ลา้ งออก นยิ มใช้ในบานประตูโบสถ์วิหาร ตู้พระธรรม ตใู้ ส่หนังสอื เป็นต้น การทพ่ี ระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้ามาเผยแผ่และมนั่ คงอยใู่ นอาณาบรเิ วณนีเ้ ป็นเวลายาวนานจึงมี คณุ คา่ หรือมีอิทธิพลตอ่ วถิ ีชีวิตของคนในสงั คมไทยตัง้ แตอ่ ดตี เรื่อยมาจนถงึ ปัจจุบนั ซ่ึงเห็นไดจ้ ากความ เล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาของคนท่ีอาศยั อยู่อาณาบริเวณนี้ในยุคสมยั อาณาจักรตา่ ง ๆ ได้สร้าง องค์ประกอบสาคัญท่ีสง่ เสริมความเจรญิ รุ่งเรือง ความมั่นคงในพระพุทธศาสนาขน้ึ มามากมาย เชน่ ๑) มีการสรา้ งการสร้างพระพุทธรูปไวบ้ ูชา พระพุทธรปู นี้เป็นส่ิงทีส่ ร้างข้ึนเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนศาสดา ในสมัยอาณาจักรทวารวดี อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรขอม อาณาจักรสุโขทัย ล้วนมีการสร้าง พระพุทธรูปไว้บูชาซ่ึงเป็นพุทธศิลปท์ ี่มีความสวยงามตามยุคนั้นๆ ๒) มีการศกึ ษาศาสนธรรม ในอดตี มี ก า ร ศึ ก ษ า ห ลั ก ค า ส อ น ท า ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ผ่ า น ท า ง พ ร ะ ส ง ฆ์ เป็ น ผู้ ถ่ า ย ท อ ด ด้ ว ย ก า ร เผ ย แ ผ่ พระพุทธศาสนาในรูปแบบต่างต่าง เช่น การเทศน์ การปฏิบัติเป็นแบบอย่างในการดาเนินท่ีดี ต่อมา เมื่อการศึกษาเจริญข้ึนก็มีการศึกษาหลักพุทธธรรมจากคัมภีร์และมีการเรียนการสอนพุทธธรรมจาก คมั ภรี ์และตาราวิชาการทางดา้ นพระพทุ ธศาสนาเรื่อยมา ๓) มีการสรา้ งศาสนทายาท พระพุทธศาสนา ทีเ่ ขา้ มาเผยแผ่ในแถบนไี้ ดท้ าให้มีผู้เลอื่ มใสศรัทธามากมายตั้งแตก่ ษัตริย์ลงมาจนถึงสามญั ชนและในชน เหล่านี้มีส่วนหนึ่งท่ีเป็นเพศชายได้เข้ามาบรรพชาเป็นสามเณรและอุปสมบทเป็นพระภิกษุใน พระพุทธศาสนาเป็นศาสนทายาทสืบทอดพระพุทธศาสนาจากรุ่นสู่รนุ่ เรอ่ื ยมาจนถึงสมยั ปัจจุบัน ๔) มี การสร้างศาสนสถาน เม่ือพระสงฆ์เผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ประชาชนเกิดความ ศรทั ธาเลอื่ มใสก็ไดส้ รา้ งศาสนสถานหรือวัดถวายให้พระสงฆไ์ ด้พักอาศัยประจาอยู่ในสถานทีต่ ่าง ๆ ซึ่ง มีอยเู่ ปน็ จานวนมาก ๕) มีการประกอบศาสนพิธี ชาวพุทธในดินแดนแถบนี้ผู้มีความศรัทธาเล่ือมใสใน พระพุทธศาสนา ได้มีการทาบุญ ให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ประกอบศาสนพิธีในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา เชน่ วันวสิ าขบูชา วันอัฐมบี ูชา วนั อาสาฬหบูชา วนั มาฆบูชา เปน็ ต้น หรือในประเพณี และเทศกาลท่ีสาคัญ เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีทาบุญทอดกฐิน ประเพณลี อยกระทง เป็นตน้ ๒ พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตโฺ ต), พระพุทธศำสนำในอำเซีย, พิมพ์ครั้งท่ี ๔, (กรุงเทพมหานคร : โรง พมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชววิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา้ ๑๑๖.

๔ วัฒนธรรมและประเพณีซ่ึงมีความหลากหลายท่ีเกิดข้ึนในอาณาบริเวณเป็นที่ตั้งของ ประเทศไทยปัจจุบันส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม เหล่าน้ไี ด้ส่งผลให้คนไทยส่วนใหญ่มคี ุณลกั ษณะที่ดีงามติดตามมาด้วย คือ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน มี เมตตา กรณุ า เอือ้ เฟ้ือ เผอ่ื แผ่ เสียสละ ย้ิมง่าย ไหว้สวย เป็นต้น นอกจากวัฒนธรรมและประเพณอี ันดี งามท่ีมรี ากฐานมาจากพุทธศาสนาจะทาใหค้ นไทยส่วนใหญม่ ีคุณลักษณะทดี่ ีงามดังกล่าวแล้วยงั เป็นสิ่ง ร้อยรวมเอาวิถีชีวิตและภมู ิปัญญาของคนในสงั คมไทยส่วนใหญ่เข้าไว้ดว้ ย ดงั นั้นคณะผวู้ ิจัยจงึ มีความสนใจศึกษาภูมิศาสตร์วัฒนธรรม โดยอาศัยประวัติศาสตร์ หลัก พทุ ธธรรมและเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสมัยทวารวดี ศรีวิชยั ลพบรุ ี สุโขทัย ล้านนา และ อยุธยา ผลของการวิจัยน้ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการส่งเสริม อนุรักษ์ และพัฒนาคุณค่าทาง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของชาติ บนฐานภูมิปัญญาไทยในอนาคตต่อไป ผู้วิจัยเห็นถึง ความสาคญั และประโยชน์ทีจ่ ะได้รับดังกล่าวจงึ ทาวิจัยในเรอื่ งนี้ ๑.๒ วัตถุประสงคห์ ลกั ของแผนงำนวิจัย ๑.๒.๑ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพุทธศาสนา และวเิ คราะหห์ ลักพทุ ธธรรมที่ปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดี ในสมยั ทวารวดี และ ศรีวชิ ยั ๑.๒.๒ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพทุ ธศาสนา และวิเคราะหห์ ลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ในสมยั ลพบรุ ี ๑.๒.๓ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพุทธศาสนา และวิเคราะห์หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดีในสมัยสุโขทัย และ ลา้ นนา ๑.๒.๔ เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพทุ ธศาสนา และวิเคราะหห์ ลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ในสมยั อยธุ ยา ๑.๓. ปัญหำกำรวจิ ยั ผู้วิจยั ต้องการหาคาตอบเกี่ยวกบั ปญั หาการวิจยั ต่อไปนี้ ๑.๓.๑ ประวัตศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา และ วิเคราะหห์ ลกั พุทธธรรมทป่ี รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ในสมัยทวารวดีและศรวี ชิ ยั เป็นอย่างไร ๑.๓.๒ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา และ วิเคราะหห์ ลักพุทธธรรมทีป่ รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ในสมยั ลพบุรี เปน็ อย่างไร ๑.๓.๓ ประวัตศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา และ วเิ คราะหห์ ลกั พุทธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดี ในสมยั สโุ ขทยั และล้านนา เป็นอยา่ งไร ๑.๓.๔ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาและ วิเคราะห์หลักพทุ ธธรรมทีป่ รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ในสมยั อยุธยา เป็นอย่างไร

๕ ๑.๔ ขอบเขตกำรวจิ ยั ผูว้ จิ ยั ไดก้ าหนดขอบเขตการวิจัยและกรอบแนวคดิ ไวด้ งั น้ี ๑.๔.๑ ด้านเอกสารและหลักฐานทางโบราณคดี ไดแ้ ก่ คัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คัมภีร์ขั้นหลัง พระไตรปิฎก เช่น อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา โยชนา เป็นต้น และเอกสารทางวิชาการท่ีนักวิชาการ นาเสนอไวใ้ นแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เชน่ ศูนยว์ ทิ ยบริการ หอสมดุ ห้องสมุด เปน็ ต้น หลักฐานทางโบราณคดี โดยเฉพาะหลักฐานที่มนุษย์ทาขึ้น (Artefacts) ทั้งท่ีเป็น โบราณสถาน โบราณวัตถุทีป่ รากฏตามเส้นทางการเผยพระพุทธศาสนาในประเทศไทยในสมยั ทวารวดี ศรีวชิ ยั ลพบรุ ี สโุ ขทัย ล้านนา และอยุธยา ๑.๔.๒ ดา้ นเนื้อหา ผวู้ จิ ยั ไดก้ าหนดขอบเขตในการศกึ ษาด้านเนื้อหาดงั น้ี คือ ศึกษา เนื้อหาของภูมิศาสตร์วฒั นธรรมดา้ นประวัติศาสตร์ หลักพทุ ธธรรมและเสน้ ทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมยั ทวารวดี ศรีวชิ ัยลพบรุ ี สโุ ขทัย ลา้ นนา และอยธุ ยา ๑.๔.๓ ดา้ นพ้นื ท่ี คือ ศกึ ษาประวตั ิศาสตร์ หลกั พุทธธรรมและเส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในสมยั ทวารวดี ศรวี ชิ ยั ลพบุรี สโุ ขทยั ล้านนา และอยธุ ยา ในพ้ืนที่ของประเทศ ไทย และหากเส้นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแต่ละสมัยเชื่อมโยงไปยังประเทศใกล้เคียงหากมี หลักฐานชัดเจนและมีเวลาพอก็จะตามไปศึกษาในประเทศนั้น ๆ ด้วย ๑.๔.๔ ด้านระยะเวลา เรม่ิ และสิ้นสดุ การดาเนนิ การวจิ ัย ในปงี บประมาณ ๒๕๕๙. ๑.๕ นยิ ำมศพั ทท์ ใ่ี ชใ้ นกำรวจิ ยั ภูมิศาสตร์วัฒนธรรมในประเทศไทย หมายถึง ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและหลกั พุทธธรรมในประเทศไทย สมัยทวารวดี ศรวี ิชัย ลพบุรี สุโขทยั ล้านนา และ อยธุ ยา ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทย หมายถึง เร่ืองราวลาดับเหตุการณ์ความ เป็นมาในอดีตของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา และ อยุธยา เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หมายถึง แนวหรอื พ้ืนทีส่ าหรับใช้สัญจรในการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย สมยั ทวารวดี ศรวี ิชัย ลพบรุ ี สุโขทยั ล้านนา และอยุธยา หลกั พทุ ธธรรมในประเทศไทย หมายถงึ หลักพทุ ธธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดี ตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา และอยุธยา

๖ ๑.๖. กรอบแนวคิดกำรวจิ ัย ผู้วิจัยได้วางเกรอบแนวคิดของการวิจัยและนามาเขียนให้เห็นตามแผนภูมิ ดังน้ี ภาพแผนภูมทิ ี่ ๑.๑ แสดงกรอบแนวคดิ ของการวจิ ยั ภูมศิ ำสตร์วัฒนธรรม: ประวัตศิ ำสตร์ เส้นทำง เอกสำรและ ประวัติศำสตร์ เส้นทำงกำรเผยแผ่ กำ ร เผ ย แ ผ่ พ ระ พุ ท ธ ศ ำ ส น ำ แ ล ะ ห ลั กพุ ท ธ รำยงำนกำร พระพุทธศำสนำและหลักพุทธธรรมใน ธรรมในประเทศไทย สมัยทวำรวดี ศรีวิชัย วจิ ัยทเี่ ก่ียง ประเทศไทย สมัยทวำรวดี ศรีวิชัย ลพบรุ ี สุโขทยั ล้ำนนำ และอยธุ ยำ ขอ้ ง ลพบรุ ี สุโขทยั ล้ำนนำ และอยุธยำ ๑.๗ วิธดี ำเนนิ กำรวิจัย ผู้วจิ ยั ไดก้ าหนดวธิ ีการวิจยั และแผนการดาเนินงาน พรอ้ มท้ังข้นั ตอนการดาเนินงาน ตลอดแผนงานทาการวจิ ยั ดังตอ่ ไปนี้ ๑.๗.๑ รูปแบบกำรวิจัย การวิจัยน้ีเป็นรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantity Research) โดยเก็บข้อมูลจาก เอกสาร เช่น คัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย คัมภีร์ข้ันหลังพระไตรปิฎก เช่น อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา โยชนา ปกรณ์วิเสส ตลอดทั้ง เอกสารทางวิชาการที่นักวิชาการนาเสนอไว้ในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และหลักฐานทางโบราณคดี ท้ัง โบราณสถานและโบราณวัตถุ ท่ีปรากฏตามเส้นทางการเผยพระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย สมัยทวาร วดี ศรวี ชิ ัย ลพบรุ ี สุโขทัย ลา้ นนา และอยุธยา ๑.๗.๒ เครือ่ งมอื กำรวิจัย เคร่อื งมือการวจิ ยั มี ๓ แบบ คือ แบบบนั ทึกเอกสาร แบบ บันทึกการสังเกต และแบบสัมภาษณก์ ารได้มาของเคร่อื งแต่ละแบบมรี ายละเอยี ด ดังนี้ ๑.๗.๒.๑ แบบบันทึกเอกสาร ผู้วิจัยได้สร้างแบบบันทึกขึ้นมาเพื่อใช้บันทึกการ ค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร โดยในแบบบันทึกจะมีประเด็นของรายละเอียดเกี่ยวกับการบันทึกการ คน้ ควา้ ดังนี้ คือ ชื่อผอู้ ่านและบนั ทกึ ชอ่ื เอกสารที่บันทึกและเนื้อหาท่ีพบ ๑.๗.๒.๒ แบบบันทึกการสังเกต ใช้ในการบันทึกจากการสังเกตและเกบ็ รวบรวม ข้อมูลภาคสนามจากหลักฐานทางโบราณคดี ทั้งโบราณสถานและโบราณวัตถุ ท่ีปรากฏตามเส้นทาง การเผยพระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา และอยุธยา ใน ประเดน็ เก่ียวกับประวตั ิศาสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่ และภมู ศิ าสตร์วฒั นธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๗.๒.๓ แบบสัมภาษณ์ ใช้บันทึกข้อมูลจากการสัมภาษณ์นักวิชาการในประเด็น เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ และภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ในประเทศ ไทย สมัยทวารวดี ศรวี ชิ ยั ลพบรุ ี สุโขทยั ลา้ นนา และอยธุ ยา ๑.๗.๓ กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือท่ีสร้างข้ึนดาเนินการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลดังตอ่ ไปน้ี ๑.๗.๓.๑ ใช้แบบบันทึกเอกสาร เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้วิธีบันทึกข้อมูลดังน้ี คือ ชื่อผู้อ่าน ช่ือเอกสารท่ีค้น และ เนื้อหาที่พบ โดยย่อความให้ได้ใจความตรงตามความหมายของ ข้อความเดิม บันทึกโดยถอดข้อความเป็นข้อความของผู้วิจยั เอง คัดลอกข้อความแล้วทาอัญประกาศ ซง่ึ จะกระทาเมื่อขอ้ ความนนั้ อยู่ในเกณฑ์ดังตอ่ ไปนี้ คือ เป็นข้อความสาคัญมาก เป็นข้อความท่จี ะมกี าร พิสูจน์หรือทดสอบข้อเท็จจริง เป็นข้อความที่ผู้วิจัยต้องการอ้างอิงสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง

๗ เป็นข้อความท่ีเขียนไว้ดีมาก ถ้อยคาสานวนกะทัดรัดชัดเจนซึ่งจะถอดความเป็นภาษาของผู้วิจัยเอง อาจทาไดไ้ มด่ เี ท่าเดมิ ๑.๗.๓.๒ ใช้แบบบันทึกการสังเกต บันทึกและเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามใน ประเด็นเก่ียวกับประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่และภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย สมยั ทวารวดี ศรวี ชิ ยั ลพบุรี สโุ ขทัย ลา้ นนา และอยธุ ยา ๑.๗.๓.๓ ใช้แบบสัมภาษณ์ บันทึกข้อมูลการสัมภาษณ์นักวิชาการในประเด็น เกี่ยวกับประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ และภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ในประเทศ ไทย สมยั ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบรุ ี สุโขทยั ลา้ นนา และอยธุ ยา ๑.๗.๔ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ดาเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูลแบบบรรยาย หรือพรรณนา (Descriptive Analysis) ตามประเด็นท่ไี ดก้ าหนดไวใ้ นวตั ถุประสงคข์ องการ แผนการบริหารงานวิจัยและขนั้ ตอนการดาเนินงานตา่ ง ๆ แสดงใหเ้ ห็นดังตารางดงั นี้ ตารางที่ ๑.๑ แสดงแผนการบรหิ ารงานวจิ ัย แผนกำรบริหำรงำนวิจยั เดือน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑. ประชุมเตรยี มความพรอ้ มของคณะ นกั วิจยั โครงการย่อย ๒. กาหนดประเด็นวิจยั กิจกรรมการ วจิ ยั แนวทางในการทาวิจัย และ แผนงานทางานวจิ ัย ๓. ศึกษาและเก็บรวบรวมขอ้ มูล วจิ ัย ตามวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย ในพืน้ ท่ภี าค กลาง ภาคใต้ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ๔. ประชุมติดตามผลผลการดาเนนิ โครงการในระยะที่ ๑ ๕. วิเคราะหป์ ระวัติศาสตร์เส้นทางการ เผยแผ่และภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัย ทวารวดี ศรวี ิชัย ลพบุรี สุโขทัย ลา้ นนา อยุธยา และประชุมติดตามผลการ ดาเนนิ โครงการในระยะที่ ๒ ๖ เขยี นรายงานการวิจยั ฉบบั ร่าง และ ฉบบั ร่างสมบูรณ์ ๗ รายงานวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ และ บทความวจิ ัย

๘ วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัยตำมที่เสนอไว้เขียนเป็นรูปแบบกระบวนการได้ตามแผนภูมิ ดังน้ี ภาพแผนภมู ทิ ี่ ๑.๒ แสดงวิธดี าเนินการวจิ ยั ในรูปแบบกระบวนการ ; ภมู ศิ าสตรว์ ฒั นธรรม : เอกสำรและ ประวัตศิ าสตร์ เส้นทาง สถาบันอุดมศกึ ษา ประวัติศาสตร์ เสน้ ทาง รำยงำนกำร การเผยแผ่ ภูมิศาสตร์ คณะสงฆ์ การเผยแผ่ วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง วิจัยที่ พระพุทธศาสนาและ และรฐั บาลไดข้ ้อมลู พระพุทธศาสนา และ เก่ยี วข้อง วิเค ราะห์ ห ลั กพุ ท ธ สารสนเทศในด้าน หลักพุทธธรรมใน ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใ น ภูมศิ าสตรว์ ฒั นธรรม หลกั ฐำนทำง หลักฐานทางโบราณคดี ประเทศไทย โบรำณคดีใน ในสมัยทวารวดีและศรี ผลการวจิ ยั เผยแพร่ใน สมยั ทวำรวดี วิชยั ระดบั ชาติแสถาบัน ศรวี ชิ ยั ลพบรุ ี สโุ ขทยั ประวัติศาสตร์ เส้นทาง อดุ มศึกษา ลำ้ นนำ และ การเผยแผ่ ภูมิศาสตร์ คณะสงฆ์ อยธุ ยำ วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง และรัฐบาลได้ข้อมลู พระพุทธศาสนาและ สารสนเทศในดา้ น ประชุมกลุ่ม วิเค ราะห์ ห ลั กพุ ท ธ ภมู ิศาสตรว์ ฒั นธรรม ยอ่ ย ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใ น ชดุ องคค์ วามรู้ หลกั ฐานทางโบราณคดี ภูมศิลาะสรตะรดว์ บั ัฒนนาธนรรามชา:ติ ในสมัยลพบุรี ประวัตศิ าสตร์ หลกั พทุ ธธรรมและ ประวัติศาสตร์ เส้นทาง เสน้ ทางการเผยแผ่ การเผยแผ่ ภูมิศาสตร์ พระพทุ ธศาสนา วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง ในสมยั ทวารวดี พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ล ะ ศรวี ิชัย ลพบรุ ี สุโขทัย วิเค ราะห์ ห ลั ก พุ ท ธ ล้านนา และอยธุ ยา ธ ร ร ม ท่ี ป ร า ก ฏ ใ น หลักฐานทางโบราณคดี ใน ส มั ยสุ โข ทั ย แ ล ะ ล้านนา ประวัติศาสตร์ เส้นทาง การเผยแผ่ ภูมิศาสตร์ วั ฒ น ธ ร ร ม ท า ง พระพุทธศาสนาและ วิเค ราะห์ ห ลั กพุ ท ธ ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใ น หลักฐานทางโบราณคดี ในสมัยอยธุ ยา

๙ ๑.๘ ประโยชน์ทีไ่ ด้จำกกำรวจิ ัย ภายหลงั จากไดท้ าการวจิ ยั ในเร่ืองน้สี าเรจ็ แลว้ ก็จะกอ่ ให้เกิดประโยชน์ดงั นี้ ๑.๘.๑ ได้ชุดความรู้ภูมิศาสตร์วัฒนธรรม : ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่และ ภมู ิศาสตร์วัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมยั ทวารวดี ศรีวิชยั ลพบุรี สุโขทยั ล้านนา และอยุธยา ๑.๘.๒ ไดส้ ารสนเทศดา้ นประวตั ศิ าสตรเ์ ส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทและ มหายานในสงั คมไทยที่อยตู่ ามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ๑.๘.๓ ได้สารสนเทศเกี่ยวกับหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตาม เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานในสังคมไทยท่ีอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ของ ประเทศไทย ในสมัยทวารวดี ศรีวชิ ัย ลพบุรี สโุ ขทยั ล้านนา และอยุธยา ๑.๘.๔ ได้สารสนเทศด้านเส้นทางดา้ นภูมิศาสตร์วฒั นธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท และมหายานในสงั คมไทยทอ่ี ยู่ตามภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ในสมัยทวารวดี ศรีวชิ ัย ลพบรุ ี สโุ ขทัย ล้านนา และอยธุ ยา ๑.๘.๕ ไดส้ ารสนเทศด้านบทบาทของพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานในการสร้าง คณุ ค่าทางวัฒนธรรมของสงั คมไทย สมยั ทวารวดี ศรีวิชยั ลพบรุ ี สุโขทัย ล้านนา และอยุธยา ในมิติ การจัดการด้านภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรม และหลกั ฐานทางโบราณคดี ๑.๘.๖ เอกสารงานวิจัยนีน้ อกจากจะได้รบั ตพี ิมพ์เผยแพร่ในมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลัยแล้ว ยังเผยแพรไ่ ปยงั หน่วยงานหลกั และหน่วยงานในเครอื ข่ายของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ท่มี ีอยู่ทั่วประเทศ ตลอดถึงหนว่ ยงานอืน่ ๆ ท่ีเกย่ี วข้องนาเอาผลท่ีได้จากการวิจัย นไ้ี ปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปด้วย

บทท่ี ๒ ประวัตศิ าสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และหลกั พทุ ธธรรม สมัยทวารวดแี ละศรีวิชยั ทวารวดี เป็นคาภาษาสันสกฤต แยกเป็นสองคา คือ “ทาวาร” แปลว่าประตู และ “วดี” แปลว่ารั้ว แต่ถ้าเป็นคาประเภท “ปัจจัย” (Suffix) ท่ีมีคาว่า วดี ต่อท้าย แปลว่า “มี” เช่น คาว่า “ปทุมวดี” แปลวา่ มีดอกบวั เปน็ ต้น เม่ือวิเคราะหต์ ามศพั ท์แลว้ ทวารวดี น่าจะแปลว่า มปี ระตูอยู่ใน รั้ว การต้ังชื่อของอาณาจักรน้ีได้พบทีม่ าคือเม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๒๗ แซมมวล บีล ( Sammuel Beal) ได้ อ่านบันทึกการเดินทางของหลวงจีนเห้ียนจังได้พบคาว่า “โตโลโปตี้” ในภาษาจีน ซ่ึงคาน้ีหากเป็น ภาษาสันสกฤตก็จะเขียนเป็น “ทวารวดี”๑ จากการสืบค้นช่ืออันเป็นท่ีมาของคาว่า “ทวารวดี” ใน เบื้องต้น คณะผู้วิจัยได้พบหลักฐานอันเป็นท่ีมาของชื่อนี้มีอยู่อย่างน้อย ๒ แหล่ง คือ ๑) หลักฐาน จดหมายเหตุของจีน โดยในบันทึกของภิกษุจีนสองท่านคือ เห้ียนจัง หรือพระถังซัมจ๋ังและอ้ีจิง ได้ บันทึกไว้ว่าในตอนแหลมระหว่างเมืองศรีเกษตร (พม่า) และเมืองอิสาณบุรี (เขมร) มีราชอาณาจักร “จุยล่อพัดติ” คือ “ทวารวดี”๒ นกั ประวตั ิศาสตร์ด้านโบราณคดีท่ที าการศึกษาเรอื่ งราวของรัฐโบราณ ในภูมิภาคน้ีจึงสันนิษฐานว่า “จุยล่อพัดติ” น่าจะหมายถึงอาณาจักรทวารวดีซึ่งอาจมีท่ีต้ังอยู่บริเวณ ภาคกลางของประเทศไทย ๒) หลักฐานทางโบราณคดีที่ส้ารวจพบบริเวณลุ่มน้าเจ้าพระยา โดยมี หลกั ฐานทางโบราณคดีทยี่ ืนยนั ไดอ้ ยา่ งนา่ เชื่อถือ คือ เหรียญเงินสองเหรียญที่มจี ารกึ ภาษาสันสกฤต มี อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๒ จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า “ศรีทวารวดีศวรปุณยะ” แปลว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี และเหรียญดังกล่าวยังได้มีการสารวจพบอีกหลายพ้ืนท่ีใน บริเวณภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน เช่น เมืองอูท่ อง ในจังหวัดสุพรรณบุรี เมืองคูบัว ในจังหวัด ราชบุรี เมืองคเู มอื ง ในจังหวัดสิงห์บุรี เมืองพรหมทิน ในจังหวัดลพบุรี เมืองดงคอนและเมืองอู่ตะเภา ในจังหวัดชัยนาท เป็นต้น สาหรับเมืองหลวงของอาณาจักรทวารวดีตั้งอยู่ท่ีใดยังไม่ทราบชัด สันนิษฐานว่าน่าจะต้ังอยู่ในอาณาบริเวณของจังหวัดนครปฐม หรือ อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี หรือ จงั หวดั ลพบรุ ี ของประเทศไทยปัจจุบนั ศรีวิชัยเป็นอกี อาณาจกั รทม่ี ีความเจริญรุ่งเรืองอยใู่ นยุคท่ีคาบเกี่ยวกันกับยคุ ทวารวดี คือ มี อายอุ ยู่ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๘ ในอาณาบรเิ วณทางตอนใต้ของประเทศไทยปัจจบุ ัน คาว่า “ศรี วชิ ัย” เป็นคาภาษาสันสกฤต แยกเป็นสองคา คือ คาว่า “ศรี” แปลว่า ความงาม ความเจรญิ รุ่งเรือง คาว่า “วิชยั ” แปลวา่ ความชนะหรือชัยชนะ เมื่อวิเคราะหต์ ามรปู ศพั ท์ ศรีวิชัย จงึ แปลว่า อาณาจักรท่ี ๑ ยอซ เซเดส์ อา้ งถงึ ใน กรมศลิ ปากร สานักพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ.ศิลปะทวารวดี : ตน้ กาเนิด พุทธศลิ ป์ในประเทศไทย. (กรงุ เทพ ฯ: บริษทั อมรินทรพ์ รน้ิ ติง้ แอนด์พบั ลิชช่งิ จากดั (มหาชน), ๒๕๕๒), หน้า ๒๗. ๒ ยอซ เซเดส์,ศ. ประชมุ ศิลาจารึก ภาคท่ี ๒ จารึกกรุงทวารวดี เมอื งละโว้ และเมอื งประเทศราชข้ึน แก่กรงุ ศรีวชิ ัย.สมเด็จกรมพระสวสั ดิวดั นวิศษิ ฏ โปรดใหพ้ มิ พ์ในงานฉลองพระชนมายเุ สมอกับสมเด็จพระชนกชนนี พระพุทธศก ๒๔๗๒. (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พโ์ สภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๒), หนา้ ๔.

๑๑ มีความงาม ความเจริญรงุ่ เรือง และมชี ัยชนะ อาณาจักรศรีวิชัยในอดตี เป็นของชาติพันธมุ์ ลายูโบราณ มอี าณาบรเิ วณกว้างขวางคลุมพ้ืนทภี่ าคใตข้ องประเทศไทยปัจจุบัน ไปถึงคาบสมุทรมลายูเกาะสุมาตรา และหมูเ่ กาะชะวา หลกั ฐานทางโบราณคดที แ่ี สดงใหเ้ หน็ รอ่ งรอยของพระพทุ ธศาสนาไดเ้ คยเจรญิ รุ่งเรอื ง อยู่ในอาณาบริเวณน้ีได้แก่ เจดีย์พระบรมธาตุไชยา และรูปหล่อพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ตาบลเวียง อาเภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี มอี ายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ เจดบี โุ รพทุ โธ (Borobudur) สร้าง ขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ โดยกษัตริย์แห่งราชวงศ์ไศเลนทร์ เป็นสถูปที่สร้างขึ้นตามความเช่ือใน พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ต้ังอยู่เกาะชวา อยู่ห่างจากเมืองยอกยาการ์ตา (Yogyakarta) ของ อนิ โดนีเซียไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนือประมาณ ๔๐ กโิ ลเมตร ในอดีตอาณาจักรทวารวดแี ละศรวี ิชยั เคยเป็นอาณาบริเวณท่พี ระพุทธศาสนาเจริญรงุ่ เรือ่ ง ดังปรากฏร่องรอยของอารยธรรมและหลักฐานทางโบราณคดีทั้งทเี่ ป็นโบราณสถาน โบราณวตั ถุ และ ศลิ ปวตั ถุ ซ่ึงได้สารวจพบมากมายเปน็ สิ่งบอกให้ทราบเกี่ยวกับภูมศิ าสตร์วัฒนธรรมซึ่งมีบ่อเกดิ มาจาก ความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ดังน้ันเพื่อให้เข้าใจชัดเจนเก่ียวกับประวัตศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา และหลักพุทธธรรมในประเทศไทยสมัยทวารวดีและศรีวิชัย ในบทน้ีคณะผูว้ ิจัยจงึ ได้ แบ่งการศึกษาออกเป็น ๒ หัวข้อหลัก คือ ๑) ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ หลักพทุ ธธรรมในประเทศไทยสมัยทวารวดี ๒) ประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและ หลกั พุทธธรรมในประเทศไทยสมัยศรีวิชัย ซ่งึ จะได้ศึกษาตามลาดบั ดงั น้ี ๒.๑ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและหลักพุทธธรรมในประเทศ ไทยสมยั ทวารวดี ประวัตศิ าสตร์ คือ การศึกษาเร่ืองราวลาดับเหตกุ ารณ์ความเป็นมาในอดีต โดยมีระยะเวลา เป็นตัวกาหนดเพ่ือให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจในเหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขนึ้ กับโลก เพ่ือให้เห็นความ เป็นมากอ่ นการเกิดอาณาจักรทวารวดี จงึ ควรได้กลา่ วถึงดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้กอ่ นยุค ประวัติศาสตร์สักเลก็ น้อย จากน้ันจึงเชื่อมโยงเน้ือหาเข้าสู่ประวัติศาสตรข์ องทวารวดีต่อไป ในเรื่องนี้ นักวิชาการทางประวัติศาสตร์ให้ความเห็นว่า อาณาบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอดีตเรียกว่า สวุ รรณภูมิ เป็นแหลง่ หลอมรวมทางวัฒนธรรมท่ีสาคญั ๒ กระแสหลัก คือ อินเดยี และจีน วฒั นธรรม อินเดียเกิดจากพ่อค้าอินเดียเข้ามาตดิ ต่อคา้ ขาย พร้อมกับนาวัฒนธรรมและศาสนาของตนมาเผยแพร่ และต้ังถิ่นฐานอยู่ในดินแดนแถบนี้ด้วย หนังสือ Les Etats hindouises แปลเป็นไทยว่า “รัฐท่ี ได้รับวฒั นธรรมอินเดยี ” ของ เซเดส์ ได้แสดงใหเ้ หน็ ว่า การเผยแพรว่ ัฒนธรรมอนิ เดียน้นั เกิดจากการ เพ่ิมปริมาณการค้าระหว่างอินเดียกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในสมัยพุทธศตวรรษท่ี ๕ นิคมการค้า ของชาวอินเดียเกิดขึ้นตามเมืองท่าของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อน ณ เมืองท่าเหล่านี้ ทาให้กลุ่ม นักบวชและพราหมณช์ าวอินเดยี มโี อกาสเข้ามาเผยแพรว่ ัฒนธรรมของตน และต้งั ถ่นิ ฐานไดโ้ ดยสะดวก ในเวลาต่อมา กลุ่มพราหมณ์ ได้สอนหลักวิชาต่าง ๆ ให้คนพื้นเมือง เช่น การเมือง การค้า กฎหมาย เภสชั กรรม วิชาคานวณ โหราศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา วรรณคดี ศลิ ปะ และวิชาการทาเสน่ห์๓ เปน็ ตน้ ๓ บรบิ าลบรุ ีภัณฑ์,หลวง. ชุมนุมโบราณคดี, หน้า ๑๗๑.

๑๒ ได้ทาให้เกิดรูปแบบทางการเมืองการปกครองขึ้นแก่ภูมิภาคน้ีอย่างกว้างขวาง อิทธิพลวัฒนธรรม อินเดยี แผ่ขยายครอบคลุมพื้นที่สุวรรณภมู ิในแถบอินโดจีนในอดตี ทั้งหมด และช่วงเวลานน้ั ก็ได้ปรากฏ อาณาจักรหน่ึงข้ึนในประวตั ิศาสตร์ ชอื่ วา่ “ฟนู ัน” จดหมายเหตุจีนได้ระบุว่าอาณาจักรฟูนันน้ีมีอายุอยู่ระหว่าง พุทธศตวรรษท่ี ๖-๑๑ โดย ร่วมยุคสมัยเดียวกับอาณาจักรอมราวดีในอินเดีย๔ มีอิทธิพลครอบคลุมพ้ืนที่กว้างขวาง รวมท้ังแถบ ชมุ ชนอู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี จุดน้ถี ือเป็นจุดยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญสาหรับเป็นเส้นทางติดตอ่ ระหว่าง ฟูนนั กบั อินเดยี โดยมีแมน่ า้ ดา้ นทิศตะวันตกสายสาคัญทใ่ี ช้เปน็ เส้นทางคมนาคม อนั ได้แก่ แม่น้า ท่าจีนและแม่น้าแม่กลอง แม่น้าท่าจีนมีปากน้าแยกออกเป็น ๒ ทาง คือ ที่บริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี และทจ่ี งั หวดั อ่างทองและสิงห์บรุ ี แม่น้าทงั้ สองนใ้ี ชเ้ ปน็ เส้นทางสัญจรตดิ ต่อกับประเทศพมา่ และอ่าว เบงกอลได้ดว้ ย เหตุนีอ้ ู่ทอง ในจังหวัดสพุ รรณบุรี จึงเป็นเมอื งท่าที่สาคัญในการเดินทางติดต่อระหว่าง อนิ เดียกบั ฟนู ัน๕ ฟนู นั เปน็ อาณาจกั รยคุ แรกในประวัติศาสตรข์ องเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้๖ ซงึ่ มรี อ่ งรอยของ ความเจริญร่งุ เรือง เป็นอาณาจักรที่ครองความยง่ิ ใหญ่ในแถบลุ่มน้าเจา้ พระยาในภาคกลาง ลุ่มน้าโขง และยังแผ่อิทธิพลไปจนสุดแหลมมลายู มีอายุอยู่นานนับถึง ๔ ศตวรรษ๗ สอดคล้องกับจดหมายเหตุ ของจีนสมัยราชวงศ์เหลียง (พ.ศ. ๑๐๔๕ – ๑๑๐๑) ได้บันทึกเร่ืองราวราชฑูตจีนเดินทางไปฟูนัน ในชว่ งปีพทุ ธศักราช ๗๙๓ โดยไดบ้ ันทึกว่า พระเจ้าฟันมันแหง่ ฟนู ันยกกองทัพเรือขา้ มอ่าวไทยไปปราบ อาณาจักรอีก ๑๐ กว่าแห่ง รวมท้ังดันซุน หลังจากนั้นทรงโจมตีอาณาจักรจินหลิน๘ ช่วงแห่งการ เกิดข้ึนและดารงอยู่ของฟูนันน้ันเป็นช่วงแห่งความรุ่งเรือง เพราะได้รับวัฒนธรรมและศาสนาจาก อินเดีย มีกษัตริย์บางพระองค์ของฟูนันสืบเช้ือสายมาจากอินเดีย ด้วยเหตุนี้เองจึงทาให้รูปแบบทาง ศิลปะของฟูนันส่วนใหญ่อยู่ภายใต้อิทธิพลของศิลปะอนิ เดีย ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบฟูนันปรากฏ อยูใ่ นรูปแบบโบราณสถานของประเทศกัมพูชาในสมัยกอ่ นพระนครซึง่ ยังคงเหลอื อยู่จนถึงปจั จบุ ัน๙ อย่างไรก็ตามด้านศูนย์กลางของอาณาจักรฟูนันยังเป็นเรื่องท่ีนักวิชาการมีความเห็นแย้ง กันอยู่ ชอง บวสเซอลีเยร์ ( Jean Boisselier ) เห็นว่า ฟูนัน มีศูนย์กลางด้ังเดิมอยู่แถบลุ่มแม่น้า เจ้าพระยาบริเวณเมืองอู่ทองอยู่ก่อน โดยพิจารณาจากการได้พบโบราณวัตถุหลายช้ินในบริเวณ ๔ สุภัทรดศิ ดิศกลุ ,ศ.มจ. ศิลปะในประเทศไทย, (กรงุ เทพมหานคร : อมรินทรก์ ารพมิ พ์, ๒๕๒๘), หนา้ ๓. ๕ พิริยะ ไกรฤกษ์,ดร. ประวัตศิ าสตรศ์ ิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย, (กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทร์ พริน้ ติง้ กรฟุ๊ จากัด,๒๕๓๓), หนา้ ๒๒๑. ๖ เรงิ วุฒิ มติ รสุริยะ, “อษุ าคเนย์”ประวตั ศิ าสตร์อาเซียน ฉบับประชาชน, (กรุงเทพ ฯ : บริษทั วิชน่ั พรีเพรส จากดั , 2557), หน้า ๘๓. ๗ น. ณ ปากนา้ , ศิลปะแหง่ อาณาจักรไทยโบราณ, (กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พโ์ อเดียนสโตร์,๒๕๒๐), หน้า ๒๑๙. ๘ อา้ งแลว้ , ประวตั ิศาสตรศ์ ลิ ปะและโบราณคดใี นประเทศไทย, หนา้ ๑๘๗. ๙ ดี.จี.อ.ี ฮอลล์, ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ : สวุ รรณภูม-ิ อษุ าคเนยภ์ าคพสิ ดาร เลม่ ๑, หน้า ๓๖.

๑๓ ดงั กลา่ ว๑๐ แล้วจึงแผอ่ ิทธิลพลไปยงั แถบลุ่มแม่นา้ โขงในระยะตอ่ จากนั้น ในขณะทนี่ ักวิชาการบางสว่ น มีความเห็นว่าดินแดนแถบเมืองอู่ทองในจังหวัดสุพรรณบุรีนั้นแคบ ไม่น่าจะเป็นศูนย์กลางของ อาณาจักรฟูนัน ท่ีมอี านาจกว้างขวางใหญ่โตดังที่จดหมายเหตจุ ีนกล่าวอ้างถึง๑๑ แต่ที่เหน็ สอดคล้องกัน คือยอมรับว่า ฟูนัน เป็นอาณาจักรท่ีกินพื้นท่ีกว้างขวางครอบคลุมลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาภาคกลางของ ไทยและแถบล่มุ แม่น้าโขงอนั ได้แก่เขมรและเวียดนามในปัจจุบัน บันทึกของจีนกลา่ วว่าอาณาจักรฟนู ัน ได้ล่มสลายลงเพราะอาณาจกั รเจนละเขา้ ครอบครองตงั้ แต่ปี พ.ศ.๑๐๘๒๑๒ อย่างไรก็ตาม สมัยที่ฟูนัน เรื่องอานาจอยู่พระพุทธศาสนากไ็ ด้เข้ามีบทสาคัญอยู่ในอาณาบริเวณน้ีแล้ว ดังนั้นฟูนันคืออาณาจักร ย่ิงใหญ่ท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรมในยุคน้ันซ่ึงส่งต่อให้เกิดอาณาจักรทวารวดีในเวลา ต่อมา เนื่องจากอาณาจักรทวารวดี๑๓ เองก็เคยได้เปน็ ประเทศราชของฟูนันมาก่อน๑๔ จึงกล่าวได้วา่ อาณาจกั รทวารวดีคืออาณาบริเวณท่ีพระพุทธศาสนาได้เคยเจรญิ รุ่งเรืองมา ก่อนแลว้ ในสมัยอาณาจักรฟูนัน กลมุ่ ชาติพันธทุ์ ี่อาศยั อยู่บริเวณน้ีเป็นผูน้ ับถือพระพุทธศาสนา เห็นได้ จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีสารวจลุ่มน้าภาคกลางของไทย เช่น ๑) จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ ๑ (เมตเตยยโก) เป็นภาษาบาลี อักษรปลั ลวะ วตั ถุจารกึ คือ พระพมิ พด์ นิ เผา (ปางสมาธิ) จานวน ๑ ด้าน ๑ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๒ ปีที่พบจารึก คือ พ.ศ. ๒๕๐๖ สถานทพี่ บจารึก คอื พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี ผพู้ บ คอื นายสมศักดิ์ รัตนกุล (ผู้ควบคุมการสารวจและขุดแต่งโบราณสถาน) ปัจจุบันอยู่ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ อู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี จารึกน้ีมีเนื้อหากล่าวถงึ พระนามของพระศรีอารยเมตตรัย (เมตไต รยะ) ซึ่งเป็นอนาคตพุทธเจ้าท่ีกล่าวกันว่าจะลงมาตรัสรู้หลังจากพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน (โคตม) ปรินิพพานไปแล้ว ๕,๐๐๐ ปี เมตไตรยะเป็นทีน่ ับถือของพุทธศาสนิกชนทั้งหินยานและมหายาน โดย พบประติมากรรมของพระองค์ในทุกประเทศท่ีนับถือพุทธศาสนา๑๕ ๒) จารึกอักษรปัลลวะ ภาษา บาลี บนพระพิมพ์ ๒ (สารีปุตโต) เป็นภาษาบาลี อกั ษรปลั ลวะ วตั ถุจารึก คอื พระพิมพ์ดนิ เผา (ปาง สมาธ)ิ จานวน ๑ ด้าน ๑ บรรทดั มีอายอุ ยูใ่ นพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๒ ปที ่ีพบจารกึ คือ พ.ศ. ๒๕๐๖ สถานท่ีพบจารึก คือ เจดีย์หมายเลข ๑๑ เมืองโบราณอู่ทอง จังหวดั สุพรรณบุรี ผู้พบ คือ นายสมศักด์ิ รัตนกุล (ผู้ควบคุมการสารวจและขุดแต่งโบราณสถาน)ปัจจุบันอยู่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จารึกน้ีมีเน้ือหากล่าวถึงนามพระสารีบุตร ชอื่ เดมิ ว่า อปุ ปติสสะ เม่ือไดฟ้ ังธรรมจาก พระอัสสชิแล้วไดไ้ ปพบพระพุทธเจ้าแล้วขออุปสมบทและสาเร็จเป็นพระอรหันต์ เป็นต้น๑๖ ๓) จารึก อักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพิมพ์ ๖ (ปุณโณสุนาปรันโต) เป็นภาษาบาลี อักษรปัลลวะ วัตถุ ๑๐ เริงวุฒิ มิตรสุรยิ ะ. “อษุ าคเนย์” ประวัตศิ าสตร์อาเซียน ฉบับประชาชน, หน้า ๘๔. ๑๑ สภุ ัทรดศิ ดิศกลุ ,ศ.มจ. ศลิ ปะในประเทศไทย, หน้า ๓. ๑๒ Op.cit., South – East Asia. A Shoot History..p. 22. ๑๓ ทวารวดีในขณะที่เป็นประเทศราชของฟนู นั ยงั ปรากฏชอ่ื เป็น “เมืองอูท่ อง” อยู่ ๑๔ อา้ งแล้ว,ศิลปะในประเทศไทย, หน้า ๓. ๑๕ ศนู ยม์ านุษยวิทยาสริ ินธร (องค์การมหาชน), ฐานขอ้ มลู จารึกในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=758>, 6 January 2016. ๑๖ เร่อื งเดียวกนั , < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id= 756>, 6 January 2016.

๑๔ จารึก คือ พระพิมพ์ดินเผา จานวน ๑ ด้าน มี ๑ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๒ ปที ่ีพบ จารึก คือ พ.ศ. ๒๕๑๓ สถานท่ีพบ คือ เจดีย์หมายเลข ๑๑ เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ปจั จุบนั อยู่ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ อูท่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี ผ้พู บ คอื กรมศิลปากร จารกึ นม้ี ีเน้ือหา กล่าวถึงพระนามของพระปุณณสุนาปรันตะ ซึ่งเป็นพระมหาสาวกองค์หนึ่งในจานวนอสีติมหาสาวก ช่ือเดิมว่า ปุณณะ เกิดท่ีเมืองท่าช่ือ สุปปารกะ ในแคว้นสุนาปรันตะ เมื่อเติบโตขึ้น ได้ประกอบการ คา้ ขายร่วมกับน้องชาย โดยผลัดกันนากองเกวียน ๕๐๐ คัน เท่ียวค้าขายตามหัวเมืองต่างๆ ภายหลัง จากได้พบพระพุทธเจ้า เกิดศรัทธาจึงออกบวช ยกสมบัติให้น้องชายท้ังหมด ได้บาเพ็ญจริยาเพ่ือ ประโยชน์แก่ประชาชนสืบมาจนถึงปรินิพพาน ณ แคว้นสุนาปรันตะน้ัน ๑๗ จารึกที่สารวจพบ โบราณวัตถุเหล่าน้ีเป็นช่วงเปล่ียนผ่านของสมัยฟูนันเข้าสู่สมัยทวารวดี และเม่ือเข้าได้เข้าสู่สมัยทวาร วดีแล้วได้มีการสารวจพบร่องรอยของพระพุทธศาสนาในแถบน้ีทั้งในโบราณสถาน โบราณวัตถุ และ ศิลปวัตถุ ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ดังน้ัน เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลักพุทธธรรมในประเทศไทยสมัยทวารวดีชัดเจน คณะผู้วิจัยจึงได้แบ่ง ประเด็นในการศึกษาเรื่องนี้ออกเป็น ๓ หัวข้อ คือ ๑) ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทย สมัยทวารวดี ๒) เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี และ ๓) หลักพุทธ ธรรมที่ปรากฏตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี ซ่ึงจะได้ศึกษา รายละเอยี ดตามลาดบั ดังนี้ ๒.๑.๑ ประวตั ิศาสตรพ์ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ทวารวดี การศึกษาประวัติศาสตร์ก่อนหน้านี้คนไทยมักเข้าใจว่าทวารวดีเป็นอาณาจักร โบราณแห่งหน่ึงท่มี อี ยูจ่ ริง มีอายอุ ยู่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ สันนิษฐานว่าศูนย์กลางน่าจะตง้ั อยู่ใน บรเิ วณของจงั หวดั นครปฐม หรือ อาเภออทู่ อง จงั หวดั สพุ รรณบุรี หรือ จังหวัดลพบุรี ของประเทศไทย ปัจจุบัน ในอดตี เคยเป็นดินแดนที่มีอาณาบรเิ วณกวา้ งขวางครอบคลุมพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย ในปัจจุบันท้ังหมด และยังมีดินแดนส่วนหนึ่งคลุมไปถึงพ้ืนที่ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ ภาคตะวันตก ของประเทศไทยในปัจจุบัน และมีดินแดนส่วนหนึ่งคลุมไปถึง เมืองสะเทิมในประเทศเมียนมาในปัจจุบนั อกี ด้วย นอกจากทวารวดจี ะมอี าณาบรเิ วณทกี่ ว้างขวางดังได้ กล่าวมาแล้ว ในดา้ นทเี่ กี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา จากการศึกษาประวัตศิ าสตร์ของพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย ยงั ไดพ้ บว่าพระพุทธศาสนาได้เคยเผยแผ่เข้าส่ดู ินแดนแหง่ นี้มาแลว้ ตงั้ แตพ่ ุทธศตวรรษ ท่ี ๓ ภายหลังจากพระเจา้ อโศกมหาราช แห่งเมอื งปาตลีบุตร อนิ เดียสมัยน้ัน เม่ือได้ทาสังคายนาคร้ังที่ ๓ สิ้นสุดลง ก็ได้เป็นผู้อุปถัมภ์ให้มีการจัดส่งสมณทูตมาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ เช่อื กันวา่ น่าจะอยู่บรเิ วณท่ีเป็นอาณาจกั รทวารวดีนี้ การกาหนดช่วงเวลาการเกิดอาณาจักรทวารวดีในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ นี้ ถือเอาตาม แนวทางของนักโบราณคดีคนสาคญั คือ ยอซ เซเดส์ ซึ่งอ้างถึงจดหมายเหตจุ ีนที่กล่าวว่า ราวปี พ.ศ. ๑๑๕๐ มีอาณาจักรใหญ่แห่งหนึ่งชื่อจุยล่อพัตตี้ (ทวารวดี) ต้ังอยู่ในระหว่างเมืองศรีเกษตร คือ พม่า ๑๗ ศนู ยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน), ฐานขอ้ มลู จารึกในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=770 >, 6 January 2016.

๑๕ และเมอื ง อิสาณบุรี คือ เขมร๑๘ สาหรบั หลวงบริบาลบุรีภัณฑ์ นักโบราณคดีของไทยให้เหตุผลวา่ การ กาหนดช่วงอายดุ ังกล่าวอาจคลาดเคล่ือนไม่ตรงกบั ความเป็นจริง เพราะจากหลักฐานของโบราณสถาน และโบราณวตั ถทุ ่ีมีอยจู่ ะเห็นว่ามีความเกา่ แก่มากกวา่ นน้ั โดยไดแ้ สดงทัศนะไว้ว่า ในอาณาจักรทวารวดีนัน ไมไ่ ด้มแี ต่เฉพาะพระพทุ ธรปู ทท่ี ้าตามแบบ อยา่ งฝีมือชา่ งอินเดียครงั ราชวงศ์คปุ ตะเท่านัน ยังมขี องโบราณเก่าก่อนสมัยนขี ึน ไปกอ็ กี มาก เช่น ส่ิงของทีท่ า้ เป็นอุทเทสกิ เจดยี ต์ ามคติครงั พระเจ้าอโศกก่อนมี พระพุทธรูป ไดแ้ กเ่ สมาธรรมจกั รกบั กวาง แท่นหนิ อันเปน็ อาสนบูชา รอยพระ พทุ ธบาทและสถปู เป็นตน้ แม้องคพ์ ระปฐมองค์เดิม (คอื องคท์ อี่ ยขู่ ้างในองค์ใหญ่ ซึง่ สรา้ งครอ่ มไว้) อันเปน็ ธาตเุ จดยี ์กเ็ ป็นของสรา้ งตามแบบอย่างสถปู ท่เี มอื งสาญจิ ของพระเจ้าอโศก ของเหลา่ นีมอี ายุก่อนศกั ราช ๑๐๐๐ – ๑๒๐๐ ทงั นนั ......(และ) พระพทุ ธรูปและพระพิมพ์สมัยอมราวดีนคี ือสมัยระหวา่ ง พ.ศ. ๖๖๓ –๗๒๕ ก่อน พ.ศ. ๑๐๐๐ – ๑๒๐๐ หลายร้อยปี เพราะฉะนัน ที่กา้ หนดกาลของสมยั ทวารวดีวา่ อยู่ในระหวา่ ง พ.ศ. ๑๐๐๐ – ๑๒๐๐ นนั จึงนา่ จะอ่อนไป”๑๙ ทัศนะน้ีที่ยกมาน้ีแสดงให้เห็นว่า หลักฐานทางโบราณคดี เช่น โบราณสถานและ โบราณวตั ถุท่มี ีอายุอยกู่ ่อน พ.ศ. ๑๐๐๐ ลงไป ถงึ อายขุ องพระปฐมเจดีย์ในจงั หวัดนครปฐมก็ถือว่าเป็น ของสมัยทวารวดีด้วย เพราะหากพิจารณาจากยุคสมัยของอาณาจักรทวารวดี ได้ถือกาเนิดข้ึนในพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๒ ถือว่าเป็นการรับช่วงต่อจากอาณาจักรฟูนัน คือ การส้ินสุดลงของอาณาจักรฟูนันใน พุทธศตวรรษท่ี ๑๑ ได้ทาให้ทวารวดีท่ีเคยเป็นเมืองขึ้นของฟูนันมาก่อนเป็นอิสระและได้ก่อตัวเป็น อาณาจักรเข้มแข็งขึ้นมา รวมทั้งได้รับช่วงสืบทอดลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีมีอยู่เดิมใน อาณาจักรฟูนันมาพัฒนาต่อยอดจนกลายเป็นวัฒนธรรมที่มีรูปลักษณะเฉพาะตน ในยุคนี้ทวารวดี ยงั คงมีความสัมพันธ์กับในอินเดียใน ๒ มิติสาคัญคือ การค้าขายแลกเปล่ียนสินค้าและมิติด้านการรับ วัฒนธรรมและศาสนา ท้ัง ๒ มิติ ดาเนินไปอย่างควบคู่กัน บังอร ปิยะพันธุ์ นักวิชาการทางด้าน ประวัตศิ าสตร์ของไทยเชือ่ ว่าผู้ทีอ่ าศัยอยู่ในอาณาจักรทวารวดีดัง้ เดิมเป็นชาวมอญทอี่ พยพมาจากแถบ ตะวันตกของจีนลงมาทางใต้ตามลาน้าโขงและลาน้าสาลวิน เข้าสู่พม่าตอนล่างและเข้าสู่ดินแดนแถบ ลุ่มน้าเจ้าพระยา โดยสันนิษฐานว่าศูนย์กลางของมอญคือ “เมืองสะเทิมหรือสุธรรมวดี”๒๐ และ สมเกียรติ โลห์เพชรัตน์ นักวชิ าการทางโบราณคดีของไทย ก็ได้ให้ทัศนะวา่ ชนชาติมอญได้ต้ังถ่ินฐาน อาศัยอยู่ในดินแดนของประเทศไทยในส่วนภาคกลางนี้มานานก่อนชนชาติอ่ืนจึงอยู่ในฐานะเจ้าของ ๑๘ หลวงบริบาลบรุ ีภัณฑ.์ พระพทุ ธรูปสมยั ตา่ ง ๆ ในประเทศไทย. (พิมพ์เปน็ อนสุ รณใ์ นงานฌาปนกจิ ศพ นางประดษิ ฐกุฏาธาร (ชัว้ กาญจเสถยี ร) วันท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๐๙), หนา้ ๑๐. ๑๙ เร่อื งเดยี วกัน, หน้า ๑๑ – ๑๒. ๒๐ บังอร ปยิ ะพนั ธ์,ุ ประวัติศาสตร์เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้. ( กรุงเทพมหานคร : โอ เอส พรน้ิ ติง้ เฮา้ ส์, ๒๕๓๗), หน้า ๓๕.

๑๖ พ้ืนที่เดิมในแถบน้ี๒๑ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของอาณาจักรทวารวดีใน ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในอาณาจักรทวารวดี และอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่ออาณาจักร ทวารวดีไดช้ ัดเจน คณะผูว้ จิ ัยจงึ ได้แบ่งประเด็นการศกึ ษาออกเปน็ ๓ หัวข้อ คือ ๑) อาณาจักรทวารวดี ในประวัติศาสตร์ ๒) เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี และ ๓) หลัก พุทธธรรมตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี ซึ่งจะได้ศึกษา ตามลาดบั ดงั นี้ ๒.๑.๑.๑ อาณาจักรทวารวดีในประวัติศาสตร์ อาณาจักรทวารวดีได้ปรากฏในดินแดน สุวรรณภูมิ มีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ สันนิษฐานว่าน่าจะมีศูนย์กลางอยู่ในภาคกลางของ ประเทศไทยปัจจบุ ัน โดยมีจดุ เรม่ิ ต้นหรอื มีอาณาเขตและที่ต้ังเริ่มตง้ั แต่เมืองสะเทิมในพม่าครอบคลุม ถึง ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือในปัจจุบันของประเทศไทย ศูนย์กลางของ อาณาจักร ในระยะแรกสันนิษฐานว่าตั้งอยู่ที่เมอื งอู่ทองจงั หวดั สุพรรณบุรี ตอ่ มาอาจย้ายไปอยทู่ ี่เมือง นครปฐม หรือไม่ก็อยู่ที่คูบัว ในเขตจังหวัดราชบุรีในปัจจุบัน เน่ืองจากบริเวณท้ัง ๓ แห่ง ดังกล่าว มี ร่องรอยเมืองโบราณ ศิลปวัตถุ และโบราณสถานแบบทวารวดีเหมือน ๆ กันจานวนมาก เช่น พระพุทธรูปสมัยอมราวดี และท่ีนครปฐมยังได้พบรูปเคารพในพุทธศาสนาก่อนสมัยท่ีจะมีการสร้าง พระพุทธรูปอีกด้วย เช่น พระธรรมจักรโพธิบัลลังก์ เป็นต้น๒๒ ยุคน้ีใช้ภาษาลีจารึกพระธรรมคาสอน และหากพจิ ารณาจากหลกั ฐานทางโบราณคดีตา่ ง ๆ แลว้ กจ็ ะเห็นได้ว่าอาณาจักรทวารวดคี ืออาณาจักร ทมี่ คี วามย่ิงใหญ่อยูท่ างภาคกลางของประเทศไทย ซึ่งจากการสารวจหลักฐานทางโบราณคดีสมยั ทวาร วดีทม่ี ีในประเทศไทย พบว่ามีการกระจายตัวของแหล่งโบราณคดีตามภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย ในปัจจุบัน รวมท้ังหมด ๑๐๗ แหล่ง โดยแบ่งตามภูมิภาคดังต่อไปน้ี๒๓ ภาคกลาง จานวน ๖๓ แหล่ง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๓๘ แหลง่ ภาคเหนอื ๕ แหล่ง และภาคใต้ ๑ แหล่ง ๒๑ สมเกียรติ โลห์เพชรัตน์, ศลิ ปะลพบรุ แี ละศลิ ปะทวารวดใี นประเทศไทย วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ ศลิ ปะเขมรในประเทศกมั พูชากับศลิ ปะลพบุรีในประเทศไทย. (กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั อมรนิ ทร์พรน้ิ ติ้งแอนด์พับ ลิชชงิ่ จากดั , ๒๕๕๖), หน้า ๙๕. ๒๒ สนั่น เมอื งวงษ,์ ประวัติศาสตรเ์ อเชียอาคเนย์.( กรุงเทพมหานคร: สุณยี ก์ ารพิมพ์,๒๕๒๐),หนา้ ๒๕. ๒๓ บัญชา พงษ์พานชิ และคณะ, จากอินเดยี ถงึ ไทย : รอยทางพระพุทธศาสนาแรก ๆ. (กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท พมิ พ์ดี จากัด, ๒๕๕๙), หน้า ๖๖.

๑๗ ภาพท่ี ๒.๑ แผนทีอ่ าณาจักรทวารวดโี บราณ : ภาพจาก http://www.thaigoodview.com/library/ แม้ว่าอาณาจักรทวารวดีท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองอยู่ในแถบภาคกลางของประเทศไทยเป็น หลักแต่ร่องรอยทางโบราณคดีก็ปรากฏให้เห็นว่าโบราณวัตถุสมัยทวารวดีได้ปรากฏตามแหล่ง โบราณสถานต่าง ๆ ในภาคใต้ร่วมสมัยอาณาจักรศรีวิชัย อันแสดงให้เห็นว่าความย่ิงใหญ่และความ เจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรทั้ง ๒ น้ีมีความประสานเกี่ยวเน่ืองกัน อันทาให้ทราบได้ว่า เมื่อ พระพุทธศาสนาไดแ้ ผ่ขยายอทิ ธิพลมาจากอินเดียเขา้ มายงั ประเทศไทยในยุคน้ีแล้ว ไม่เพียงแตจ่ ะไดต้ ้ัง มัน่ อยู่ในแถบจังหวัดทางภาคกลาง แต่ได้แผ่ขยายไปยงั พื้นทอ่ี ื่น ๆ ทั่วทุกภาคของประเทศไทยรวมถึง ภาคใต้ทีม่ อี าณาจกั รศรีวิชยั เรอื งอานาจอยู่ จากการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีปรากฏให้เห็นว่าศิลปวัฒนธรรมของทวารวดีส่วน ใหญ่เป็นสิ่งท่ีสอดคล้องกับพระพุทธศาสนาโดยจดหมายเหตุจีนได้กล่าวไว้ว่า อาณาจักรทวารวดีมี วัฒนธรรมทางพุทธศาสนาอย่างสูง มีความเจริญทางด้านการค้าเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุท่ีพ่อค้าชาว อินเดยี ได้เดินทางเขา้ มาทาการค้าขายในดินแดมนดังกล่าวอยา่ งแพรห่ ลาย นอกจากน้ี นักโบราณคดยี ัง ได้ค้นพบเหรียญโบราณจานวน ๒ เหรยี ญโดยมอี ายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ท่โี บราณสถานเนินหินใกล้ วัดพระประโทนจงั หวัดนครปฐมเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๘๖ โดยเหรียญเงนิ ท้ังสองเหรียญน้ันมีข้อความจารึก เปน็ ภาษาสันสกฤตความว่า “ศรีทวารวดีศวรปุณยะ” ซ่งึ มคี วามหมายเป็นภาษาไทยว่า “บญุ ของผ้เู ป็น เจ้าแห่งทวารวดี” และต่อมานกั วิชาการด้านโบราณคดีก็ได้พบเหรยี ญลักษณะเดียวกันนี้อีกทีอ่ าเภออู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ จึงทาให้เป็นท่ียืนยันได้วา่ อาณาจักรที่มี นามว่าทวารวดีนีม้ ีอยูใ่ นจริงในประวตั ิศาสตร์ โดยเมืองนครปฐมและเมืองอู่ทองในจงั หวัดสุพรรณบรุ ีนี้ คอื ราชธานแี ห่งอาณาจักรทวารวดีน่ันเอง ดงั น้ัน การค้นพบการมีอยู่ของอาณาจักรทวารวดจี ึงกล่าวได้ ว่าเกิดจากศลิ ปกรรมโบราณทป่ี รากฏตามแหลง่ ตา่ ง ๆ ของจังหวดั ในแถบภาคกลางเปน็ สาคัญ อาณาจักรทวารวดีได้ก่อตัวและเจริญขึ้นตามลาดับและได้แผ่อิทธิพลไปทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย สาหรับการส้ินสุดของอาณาจักรทวารวดนี นั้ ศาสตราจารย์หม่อมเจา้ สุภทั รดิศ ดศิ กลุ ได้สัน นิษ ฐาน ออกเป็ น ๒ นัย คือ นัยหนึ่ง ก ล่าวว่าอาน าจขอ งขอ มที่แผ่เข้ามายังภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคกลางของประเทศไทยตงั้ แต่พุทธศตวรรษท่ี ๑๖ ทาใหอ้ าณาจักรทวารวดี ตอ้ งหมดอานาจลง อีกนัยหนึง่ เชือ่ ตามสันนษิ ฐานของสมเดจ็ กรมพระยาดารงราชานุภาพว่า

๑๘ พระเจ้าอนุรทุ ธมหาราชแหง่ เมืองพกุ ามประเทศพม่าคงจะไดเ้ สด็จยกกองทัพเขา้ มาตเี มืองนครปฐมราช ธานีแห่งอาณาจักรทวารวดี แทนท่ีจะเสด็จยกกองทัพไปตีเมืองสะเทิมหรือสุธัมมวดีบนปากแม่น้าสะ โดงทางภาคใต้ของประเทศพม่า อันกล่าวกันว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมมอญ แต่ก็ไม่มีร่องรอย ของโบราณสถานทางพุทธศาสนามากเทา่ ที่เมืองนครปฐม๒๔ การเกิดขึน้ ของอาณาจักรทวารวดเี ปน็ การ วางรากฐานท่สี าคญั ทางศิลปวฒั นธรรมให้แกช่ าตไิ ทยท่ีปรากฏให้เห็นสบื ตอ่ มาจนถงึ ปัจจบุ ัน ๒.๑.๑.๒ พระพุทธศาสนาในอาณาจักรทวารวดอี าณาจักรทวารวดีกล่าวได้ว่าเป็น อาณาจกั รท่ีเกิดทับซ้อนขึน้ ในดนิ แดนสวุ รรณภมู ิ ซึ่งหากพจิ ารณาจากช่วงเวลาแหง่ การดารงอยแู่ ล้วจะ เห็นได้ว่าสุวรรณภมู ิคือดินแดนเก่าแก่ด้ังเดิมท่ีมีปรากฏในประวตั ิศาสตร์มาอย่างยาวนานเคียงคู่มากับ ประวัติศาสตร์แหง่ การคา้ ขายระหว่างชาวอนิ เดยี กบั ชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้๒๕ รวมทง้ั ประเทศไทย ในปัจจุบัน หลักฐานทางโบราณคดีที่สาคัญคือองค์พระปฐมเจดีย์เป็นประจักษ์พยานท่ีแสดงถึงความ เก่าแก่ดง้ั เดิมของดินแดนสวุ รรณภูมิ ด้ังนนั้ จึงกลา่ วได้ว่า อาณาจักรทวารวดีคอื ส่วนหน่ึงของดินแดน สวุ รรณภูมิน่ันเอง อน่ึงเม่ือพิจารณาด้านอาณาเขตก็เป็นที่ปรากฏชัดถึงการท่ีทวารวดีได้เป็นส่วนหนึ่ง ของดินแดนสุวรรณภูมิ โดยที่แผ่นดินสุวรรณภูมิไม่เพียงแต่ครอบคลุมเฉพาะอาณาเขตอันเป็นที่เกิด ของอาณาจักรทวารวดีแถบภาคกลางของประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึงพ้ืนที่ประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้บางประเทศอันได้แก่และประเทศไทยทั้งหมดอีกด้วย อย่างไรก็ตาม เม่ือ พิจารณาบนฐานแนวคิดเร่ืองความเป็นอาณาจักร ก็อาจกล่าวได้ว่า ทวารวดีคืออาณาจักรที่ปรากฏตัว ขนึ้ มาอย่างเดน่ ชัด โดยมฐี านที่มั่นอยใู่ นแถบจงั หวัดทางภาคกลางของประเทศไทย การปรากฏตวั ข้ีนอ ย่างเด่นชัดในฐานะเป็นกระแสวัฒนธรรมใหม่ที่มีศิลปวัฒนธรรมเป็นของเฉพาะตนน้ี เป็นเหตุนาให้ ทวารวดมี ชี ือ่ เสียงอยา่ งแพร่หลายในฐานะเป็นอาณาจกั รแห่งพทุ ธศาสนาที่ร่งุ เรอื ง อาณาจักรทวารวดีเป็นอาณาจักรท่ีได้ชื่อว่าเป็นดินแดนพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทหรือ หินยาน โดยสืบเนื่องเกี่ยวพันมาจากพุทธศาสนายุคสุวรรณภูมิอันเป็นยุคต้น ความเจริญรุ่งเรืองอย่าง รวดเร็วของอาณาจักรทวารวดีอาจกล่าวได้ว่ามีองค์ประกอบหลายอย่างและอาจกล่าวได้ต่อไปอีกว่า องค์ประกอบเหล่านั้นเกิดจากพุทธศาสนาและวัฒนธรรมอินเดียเป็นปัจจัยขับเคลื่อนสายหลัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัฒนธรรมพุทธศาสนาที่ถือเป็นแกนหลักของความเป็นทวารวดีโดยมีวัฒนธรรม อนิ เดียปลกี ยอ่ ยอื่น ๆ อยูใ่ นฐานะเป็นตัวช่วยสง่ เสริมหรือสนับสนุน นักวิชาการด้านประวตั ศิ าสตรแ์ ละ โบราณคดีตา่ งมีการยอมรับร่วมกันวา่ อารยธรรมทวารวดีคืออารยธรรมที่ได้สบื ตอ่ จากอารยธรรมแม่ใน ประเทศอินเดยี หลักฐานทางโบราณคดีทปี่ รากฏในทวารวดหี ลายอย่างได้แสดงให้เหน็ ถึงความเกยี่ วพัน ดังกล่าว เช่น องค์ปฐมเจดีย์ ที่มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมหรือมีรูปแบบจากสถูปสาญจีในอินเดีย หรือประติมากรรมพุทธศิลป์ต่าง ๆ ก็ล้วนแล้วแต่มีต้นแบบจากพุทธศิลป์ในอินเดีย วัฒนธรรมพุทธ ศาสนาเถรวาทที่นาเข้ามาโดยพระโสณะและพระอุตตระคือปฐมบทของอารยธรรมทวารวดี ๒๔ สภุ ัทรดศิ ดิศกลุ , ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี อาคเนย์ ถึง พ.ศ. ๒๐๐๐. ( กรงุ เทพมหานคร : บริษัทรุ่ง แสงการพิมพ์ จากดั ,๒๕๓๕), หนา้ ๒๖. ๒๕ นักวชิ าการดา้ นโบราณคดีบางคนแสดงทัศนะวา่ คาว่า “เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้” ในที่น้ี คอื ดินแดน ทถ่ี ูกเรยี กวา่ สวุ รรณภมู ินั่นเอง แตค่ าว่า สวุ รรณภมู ิในทีน่ ้ีมีความหมายท่ีไม่ไดค้ รอบคลมุ ทุกประเทศที่เป็นสมาชกิ อาเซียนในปจั จบุ นั

๑๙ ดงั นั้นความเป็นทวารวดีจงึ มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอยา่ งแยกไมอ่ อก กล่าวได้ ว่า สถาปัตยกรรมในสมัยนี้สร้างข้ึนในพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่สถูป เจดีย์แบบมีฐานเป็นรูป สี่เหล่ียมผืนผ้า มีเรือนธาตุทรงสี่เหลี่ยม หรือองค์ระฆังทรงกลมประดับอยู่เบ้ืองบน ประติมากรรมใน ระยะแรกคอื พุทธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๓ มีลกั ษณะตามแบบศิลปะอินเดยี คอื พระพุทธรูปมักมีพระขนงโก่ง พระนาสิกโดง่ และประทับยนื เอียงสะโพก ต่อมาในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๖ มีการผสมผสานกับ ลกั ษณะพื้นเมือง คือพระพักตร์แบบ พระขนงตอ่ เป็นปีกกา พระเนตรโปน พระนาสิกแบน พระโอฏฐ์ แบะ ส่วนพระพิมพ์นิยมสร้างด้วยดินเผามักมีรูปแบบเดียวกันคือปางมารวิชัยประทับภายในซุ้มยอด สถูปแบบพุทธคยาและซุ้มเรือนแก้ว เม่ือกล่าวถึงทวารวดีก็ทาให้เห็นภาพของสัญลักษณ์ที่สาคัญทาง พุทธศาสนา เชน่ ศลิ ารูปธรรมจักร พระพทุ ธรูป หรือโบราณสถานตา่ ง ๆ เชน่ สถูปวดั คบู ัว เปน็ ตน้ ภาพท่ี ๒.๒ พระพุทธรปู ศลิ ปะทวารวดี ปางแสดงธรรม ประดิษฐาน ณ พระปฐมเจดยี ์ จ.นครปฐม ภาพท่ี ๒.๓ ช้ินส่วนธรรมจักร เศียรพระพุทธรูป และพระพุทธรูปประทับยืน ศิลปทวารวดีหรือมอญ โบราณ ปัจจบุ นั ถูกจัดเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานไชยา อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฏร์ธานี

๒๐ ๒.๑.๑.๓ อิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่ออาณาจักรทวารวดี คาว่า อิทธิพล (Influence) หมายถึง อานาจที่สามารถทาให้ส่ิงอ่ืนคล้อยตามหรือทาตาม ในสมัยทวารวดี พระพุทธศาสนาไดม้ ีอทิ ธพิ ลท้งั ในดา้ นสังคม ดา้ นพทุ ธศลิ ปะ ด้านการเมืองการปกครอง ซ่ึงอิทธิพลของ พระพุทธศาสนาสมัยทวารวดีในแตล่ ะด้านมรี ายละเอียดดงั น้ี ๑) ด้านสังคม การศึกษาประวัติศาสตร์พุทธศาสนาทาให้ทราบว่า พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามายังประเทศไทยช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๓๖ โดยการนาเขา้ มาของพระเถระ ๒ รูป คือ พระโสณะ และพระอตุ ตระ ภายใตก้ ารอุปถัมภข์ องพระเจ้าอโศกมหาราช ภายหลังจากได้ทา สังคายนาครั้งที่ ๓ ในประเทศอินเดียแล้ว ถือได้ว่าเป็นการเข้ามาสู่ประเทศไทยของพุทธศาสนาอย่าง เป็นทางการ ในช่วงยุคดังเป็นช่วงเวลาแห่งการเปิดโลกความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอินเดียอย่างเป็น ทางการและเป็นช่วงเวลาท่ีอาจเรียกว่าเป็นยุคเริ่มประวัติศาสตร์ แม้ว่าในแง่โบราณคดีจะแสดงให้เห็น ว่าชาวอินเดียมกี ารเดินทางเข้ามาเพื่อเช่ือมความสัมพันธ์กับผู้คนในดินแดนท่ีได้ช่ือว่าสุวรรณภูมิก่อน สมัยพุทธกาลแล้ว แต่อาจกล่าวได้วา่ เป็นความสัมพนั ธ์ที่ยังไม่สมบูรณ์แบบ หรอื ไม่ครอบคลุมในมิติอ่ืน ๆ กล่าวคือ การเข้ามายังดินแดนสุวรรณภูมิ เป็นการเข้ามาในฐานะพ่อค้าเพื่อการค้าขายแลกเปลี่ยน สินค้ากับคนในดินแดนแถบนี้เป็นหลักหรืออาจจะมีพราหมณ์บางส่วนได้เดินทางเข้ามาเพื่อเผยแผ่ ศาสนาพราหมณ์แก่ชาวสุวรรณภูมดิ ้วย๒๖ ครั้นพุทธศาสนาได้ถูกนามาเผยแผ่และเปน็ ท่ียอมรับนับถือ จากชาวสุวรรณภูมิแล้ว จงึ อาจกล่าวได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างชาวอินเดียกับชาวสุวรรณภูมิก็มีความ กระชบั และราบร่นื และเป็นไปในทางที่ดีมากย่ิงข้ึน ชาวสุวรรณภูมิเองก็มีทัศนคติท่ีดีและนาไปส่กู ารมี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อชาวอินเดียด้วย ในขณะท่ีสังคมของชาวสุวรรณภูมิหรือทวารวดีเอง ก็มีการ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรา้ งอย่างชัดเจน เช่น ได้มีกุลบุตรนิยมเข้ามาบวชเป็นพระสงฆ์เป็นจานวนมาก ทาให้เกดิ สถาบันสงฆ์ขึน้ ในสงั คม มีการสร้างวัด สถูปเจดยี ์ หรือ ศาสนสถานถวายไว้ในพระพทุ ธศาสนา เพอ่ื ใหไ้ ดบ้ ญุ และเพือ่ การเคารพอย่างแพรห่ ลาย ๒) ด้านพุทธศิลปะ คือ ศิลปะยุคทวารวดีมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวอันแสดงให้เห็นว่าเป็นของยุคตน ดังที่ เรจนิ าลด์ เลอ เมย์ ( Reginald le May ) ได้กล่าวถึง ศิลปะแบบทวารวดีไว้ในหนังสือของเขาช่ือ พุทธศิลป์ในประเทศสยาม ( Buddhist Art in Siam) ว่า “พระพุทธรูปแบบทวารวดีมลี ักษณะ คือ ขมวดพระเกศาใหญ่ พระปรางหนัก พระขนงวาดเป็นเส้นปีก กาติดต่อกันอยู่เหนือม่านพระเนตรที่ค่อนข้างหนาและสลักอยู่ในระดับเดียวกับพระพักตร์ พระองค์ และพระองคาพยพครองจีวรเรียบไมม่ ีรวิ โดยไม่แสดงถึงองคเพศ ชายจีวรซึ่งเคยมอี ยู่ในพระหัตถซ์ ้าย ตามแบบอนิ เดียกห็ ายไป”๒๗ นอกจากพระพุทธรูปซึ่งเป็นหลักฐานทางโบราณคดีท่ีถูกค้นพบตามท่ีต่าง ๆ แล้ว โบราณวตั ถุอีกชนิดหน่ึงที่ถูกค้นพบเป็นจานวนมากแถบจังหวัดภาคกลาง คือ ธรรมจักรศิลา ซ่ึงถูกใช้ เป็นสัญลักษณ์ที่แสดถึงท่ีต้ังของพุทธศาสนา มีลักษณะเป็นกงล้อเกวียนตั้งบนแท่งแกะสลักเป็น ๒๖ คาวา่ สวุ รรณภูมิในท่นี ม้ี คี วามหมายครอบคลมุ พนื้ ท่ี พม่า ลาว กัมพชู า ไทยและบางสว่ นของประเทศ อินโดนีเซยี ๒๗ อ้างถึงใน : สภุ ทั รดศิ ดศิ กุล, ประวัติศาสตรเ์ อเชยี อาคเนย์ ถงึ พ.ศ. ๒๐๐๐. หน้า ๒๒.

๒๑ ลวดลายประดบั เดมิ ตงั้ อยู่บนเสาสงู ปกั ไว้หน้าสถานที่อันเป็นศาสนสถาน ธรรมจักรศิลา นอกจากเป็น สญั ลักษณท์ างพทุ ธศาสนาแล้วยงั ถอื เปน็ ส่ิงควรเคารพเพ่ือใชส้ าหรับการน้อมระลึกถึงพระพุทธเจ้า ในวฒั นธรรมทวารวดอี กี ด้วย ภาพที่ ๒.๔ ศลิ าธรรมจักร โบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาศลิ ปะสมยั ทวารวดี ภาพที่ ๒.๕ พระพทุ ธรปู ศลิ ปะทวารวดี ทมี่ ีความสวยงามตามแบบเถรวาท ๓) ด้านการเมืองการปกครอง อิทธิพลทางพุทธศาสนาที่มีต่อด้าน การเมืองการปกครองของทวารวดี ได้มีปรากฏหลักฐานให้เห็นเพียงเล็กน้อย โดยพบเห็นรอ่ งรอยการ นาเอาแบบอย่างการปกครองระบบกษัตริย์ของอินเดียมาใช้ภายในอาณาจักรทวารวดี แม้ว่าในด้าน รูปแบบการปกครองของทวารวดียังไม่สามารถสรุปได้อยา่ งชัดเจน แตก่ ็ต้ังข้อสันนิษฐานได้ว่าทวารวดี น่าจะมีการปกครองด้วยระบบกษัตริย์ เหตุผลสนับสนุนคือบริเวณเมืองอู่ทองนั้น นักโบราณคดีได้ขุด

๒๒ พบแผ่นทองแดงจารึกอักษรขอมโบราณเป็นภาษาสันสกฤตกล่าวถึงกษัตริย์ ๒ พระองค์ คือ พระเจ้า หรรษวรมันและพระเจ้าอีศานวรมันว่าเป็นพระราชาแห่งอาณาจักรทวารวดี๒๘ และการที่กษัตริย์ได้ ปฏบิ ตั ิพระองคอ์ ยู่ในหลกั คาสอนของพระพทุ ธศาสนาอยา่ งสอดคลอ้ งกบั สถานะของกษัตรยิ ์ นอกจากนี้ ยงั ได้มีการค้นพบเหรยี ญโบราณท่ีมีจารึกว่า “ศรที วารวติศวรปุณยะ” ซึ่งมีความหมายว่า \"บญุ ของพระ เจ้าศรีทวารวดี\" กระจายอยู่ตามเมืองโบราณสมัยทวารวดี แสดงให้เห็นถึงท่าทีของชาวเมืองท่ีมีต่อ กษัตริย์หรือกษัตริย์มีความสานึกรู้ต่อพระองค์เองว่าอยู่ในฐานะเป็นผู้มีบุญญาธิการตามคติแห่ง พระพทุ ธศาสนา หลักฐานท่ีพบนนี้ ่าจะได้มกี ารศกึ ษาตีความในหลายแงม่ มุ ตอ่ ไป ๒.๑.๒ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี จากหลักฐานทางโบราณคดีและบันทึกต่าง ๆ ได้แสดงให้เห็นว่าการเข้ามาของ พุทธศาสนาจากชมพทู วีปหรอื อินเดียมาส่ดู นิ แดนทวารวดนี ้ันได้เข้ามาโดยการนาทั้งโดยพ่อคา้ ชาวพทุ ธ ท่ีไดเ้ ข้ามาเพอื่ การคา้ ขายกับชาวทวารวดีและนักเผยแผ่โดยตรง การเขา้ มายงั ดนิ แดนทวารวดขี องพุทธ ศาสนาได้เข้ามาทางทิศตะวนั ตกของประเทศไทยอันได้แก่เมืองอู่ทองในจงั หวัดสพุ รรณบุรี นายแพทย์ บัญชา พงษ์พานิช ไดอ้ า้ งคากลา่ วสรปุ ของ ศาสตราจารย์ผาสขุ อนิ ทราวธุ ไวด้ งั น้ี “ที่เมืองอู่ทองนีเองพ่อค้าชาวพุทธจากลุ่มแม่น้ากฤษณา-โคทาวรี ได้เดินทางเข้ามาติดต่อ ค้าขายและตังถ่ินฐานในช่วงสมัยอินโด-โรมัน และได้น้าเอาพุทธศาสนาจากศูนย์กลางพุทธศาสนาใน อินเดียใต้ที่อยู่กับการอุปถัมภ์ของกษัตรยิ ์ราชวงศ์สาตวาหนะ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๕-๘ และสืบต่อ ด้วยราชวงศ์อกิ ษวากุ ในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ ๘-๙ ซงึ่ มีศูนย์กลางงานศิลปกรรมเนื่องในศาสนาอยู่ที่ เมอื งอมราวดีและเมอื งนาคารชนุ โกณฑะ เขา้ มาเผยแพรใ่ หช้ มุ ชนโบราณทเ่ี มืองอู่ทอง”๒๙ การเข้ามาของพุทธศาสนายังอาณาจักรทวารวดีซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้น้ีถือเป็นปฐมบทสาคัญของความเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมของชาวทวารวดีและ เปน็ พ้ืนฐานของการเปิดทางแหง่ การยอมรับวัฒนธรรมอนิ เดยี ของชาวทวารวดีอย่างย่งิ ดี.จี.อ.ี ฮอลล์ ได้ กล่าวไว้ในหนังสือประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : สุวรรณภูมิ อุษาคเนย์ภาคพิศดาร โดยได้ อ้างถึงคากล่าวของ ยอร์ส เซเดส์ ที่ได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่าพุทธศาสนาน้ันเบิกทางให้วัฒนธรรม อินเดียแพร่หลายเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อนศาสนาพราหมณ์ การท่ีขุดค้นพบพระพุทธรูป แบบอมราวดีเป็นจานวนมากในเขตท่ีนักโบราณคดีเชื่อว่าเป็นเขตแรกที่สุดท่ีได้รับอิทธิพลของ วัฒนธรรมอินเดียนั้น เป็นสิ่งที่มีน้าหนักอย่างมากในการพิจารณาปัญหานี้ อมราวดีตั้งอยู่ฝ่ังแม่น้า กฤษณา หา่ งจากฝ่งั ทะเลราว ๆ ๘๐ ไมล์ เป็นถิ่นกาเนิดของสกุลช่างประติมากรรมทางพุทธศาสนาที่มี ๒๘ น. ณ ปากนา้ . สถูปเจดยี ใ์ นประเทศไทย. (กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพโ์ อเดยี นสโตร,์ ๒๕๑๖). หน้า ๑๑. ๒๙ บัญชา พงษ์พานชิ และคณะ. จากอนิ เดยี ถงึ ไทย : รอยทางพระพทุ ธศาสนาแรก ๆ. (กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั พมิ พ์ดี จากัด, ๒๕๕๙), หนา้ ๓๗.

๒๓ ช่ือมาก๓๐ อันหมายความว่าวัฒนธรรมอมราวดีในอินเดียได้แผ่ขยายอิทธิพลมาถึงทวารวดีในดินแดน สวุ รรณภูมิ เม่ือพุทธศาสนาได้เข้ามาประดิษฐานยังทวารวดแี ล้วจึงได้ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงทาง วัฒนธรรมแก่ชาวทวารวดี อย่างไรก็ตาม ทวารวดีก็ไม่ได้รับวัฒนธรรมพุทธแบบอินเดียอย่างเต็ม รปู แบบ แต่ทวารวดีได้นาเอาวัฒนธรรมพุทธแบบอินเดียมาผสมผสานกับวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนจึง เกิดเป็นวัฒนธรรมใหมเ่ ฉพาะตัวของทวารวดซี ึง่ เรยี กเป็นการเฉพาะวา่ “วัฒนธรรมทวารวดี” จากหลักฐานทางโบราณคดีได้แสดงให้เห็นว่าราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๕ อิทธิพล วัฒ นธรรมทวารวดีจากภ าคกลางของประเทศไทยส่งผ่าน เข้าม ายั งพ้ื นท่ี จังหวัดบุรีรัม ย์ท่ีเมื องฝ้าย อาเภอหนองหงส์ ได้ค้นพบโบราณสถานหลายแห่งและพระพุทธรูปศิลาศิลปะทวารวดีขนาดใหญ่ จานวน ๓ องค์ คือ พระพุทธรูปปางสมาธิ พระพุทธรูปปางนาคปรก และพระพุทธรูปยืนปางแสดง ธรรมหนิ ทราย และพระพุทธรปู ปางแสดงธรรมสารดิ อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ – ๑๓ นอกจากนยี้ ัง ค้นพบกลุ่มใบเสมาสลักจากหินทรายและศิลาแลง บางใบตรงแกนกลางสลักเป็นภาพสถูป ซึงเป็น ลักษณะเฉพาะของใบเสมาทวารวดีทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อายรุ าวพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ - ๑๕ ท่ี เมอื งโบราณบา้ นปะเคยี บ อาเภอคเู มือง อีกด้วย๓๑ จากหลักฐานทางบราณคดีสมัยทวารวดีท่ีค้นพบตามสถานที่ต่าง ๆ ดังที่ได้นาเสนอมาแล้ว น้ันเป็นส่ิงแสดงให้เห็นว่า เม่ือพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้ามาสู่ทวารวดีแล้วก็ได้เผยแผ่ไปยัง อาณ าจัก รต่าง ๆ เช่น ด้ าน ทิ ศเห นื อ เผยแผ่ไป ยังอ าณ าจัก รโยน ก เชียงแสน ด้ าน ทิ ศ ตะวนั ออกเฉียงเหนือและทิศตะวันนออกเผยแผ่ไปยังอาณาจักรอศิ านปรุ ะหรอื เจนละ ด้านทศิ ใตเ้ ผยแผ่ ไปยังอาณาจักรศรีวิชัย และ ด้านทิศตะวันตกเผยแผ่ไปยังอาณาจักรศรีเกษตรหรือพุกาม เป็นต้น สาเหตุท่ีทาให้พระพุทธศาสนาในอาณาจักรทวารวดีแผ่ขายายไปยังอาณาจักรต่าง ๆ ดังท่ีได้กล่าว มาแลว้ น้นั ได้อยา่ งกวา้ ขวาง อาจเปน็ เพราะว่า ๑) ด้านรปู แบบวัฒนธรรมพทุ ธ เปน็ วัฒนธรรมท่ีมคี วาม ยืดหยุ่นสูง เม่ือได้แผ่ขยายเข้าไปสู่อาณาจักรต่าง ๆ ได้มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทาง วัฒนธรรมของพื้นทนี่ ั้น ๆ จึงสามารถปรับตวั เขา้ กบั วัฒนธรรมในอาณาจักรเหล่าน้ันได้อยา่ งลงตัว จึง เป็นท่ียอมรับนบั ถือจากผู้คนในพื้นที่ไดโ้ ดยสะดวก ๒) ดา้ นเส้นทางคมนาคมทางน้าสะดวก เน่อื งจาก เมอื งตา่ ง ๆ ทีร่ บั วัฒนธรรมไปจากทวารวดี โดยเฉพาะบริเวณลมุ่ แม่น้าเจา้ พระยามีลานา้ ติดตอ่ ถงึ กันได้ หลายสาย และมกี ารติดต่อค้าขายกันโดยใช้เสน้ ทางนา้ ในการขนส่งสินค้า การแผ่ขยายทางวัฒนธรรม พุทธจากอาจกั รทวารวดีไปยังอาณาจักรอ่ืน ๆ จึงทาได้ง่ายโดยอาศัยการคมนาคมตามเส้นทางของลา น้าในการตดิ ต่อขา้ ขายสินค้าของผู้คนจากอาณาจักหน่ึงไปยังอีกอาณาจักรหนึง่ นั้นเอง ๓) ด้านเส้นทาง คมนาคมทางบกสะดวก โดยเฉพาะบริเวณพื้นท่ีราบในภาคกลางเป็นพื้นที่ราบทาให้การเดินทาง ตดิ ต่อกันตลอดทั้งการขนส่งสินค้าไปคา้ ขายระหว่างกันทาไดส้ ะดวก การแผ่ขยายทางวัฒนธรรมพุทธ จากอาจักรทวารวดีไปยังอาณาจักรอื่น ๆ จึงทาได้ง่ายโดยอาศัยการคมนาคมตามเส้นทางบกในการ ติดต่อข้าขายสิ้นค้าของผู้คนจากอาณาจักหน่ึงไปยังอีกอาณาจักรหน่ึงนั้นเอง ทั้งหมดเหล่านี้ล้วนเป็น ๓๐ ด.ี จี.อี.ฮอลล์. ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ : สุวรรณภมู -ิ อุษาคเนยภ์ าคพศิ ดาร. ทา่ น ผู้หญงิ วรุณยพุ า สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา และคณะ แปล.ชาญวทิ ย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ. (กรงุ เทพมหานคร : มลู นิธิ โครงการตาราสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร,์ ๒๕๔๙).หน้า ๒๒. ๓๑ อ้างอิงข้อมูลจากพพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ จังหวดั สุรินทร์.

๒๔ สาเหตุที่ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาในอาณาจักรทวารวดีแผ่ขายายไปยงั อาณาจกั รต่าง ๆ ที่มอี ยูใ่ นเวลาน้ัน ได้อยา่ งสะดวกและกวา้ งขวาง ๒.๑.๒.๑ แหล่งสารวจพบหลักฐานทางโบราณคดีสมัยทวารวดีในปัจจุบัน วฒั นธรรมพทุ ธศาสนาแบบทวารวดไี ดเ้ กดิ และเจริญขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ เพราะการยอมรบั ของชาวทวารวดี แถบภาคกลางตะวันตกอันเป็นแหล่งกาเนิด จากน้ันจึงได้ขยายตัวเผยแผ่ไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั่ว ประเทศไทย สานักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๑ ราชบุรี สานักโบราณคดีและ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร พ.ศ. ๒๔๕๑ ได้สารวจรายงานแหล่งหลักฐานทางโบราณคดี สมัยทวารวดีในประเทศไทย ซึ่งปรากฏในรายงานคูบัว พบว่ามีแหล่งโบราณคดีสมัยทวารวดีตาม ภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทยปัจจุบนั จานวน ๑๐๗ แหล่ง ดงั ตารางต่อไปนี้๓๒ ภาคกลางฝ่งั ตะวนั ตก อาเภอ จงั หวดั อ่ทู อง สพุ รรณบรุ ี ลาดบั ชื่อแหลง่ เดิมบางนางบวช สุพรรณบุรี ๑ เมืองอทู่ อง ท่ามะกา กาญจนบรุ ี ๒ บ้านคูเมอื ง เมอื ง นครปฐม ๓ เมืองโบราณพงตึก กาแพนแสน นครปฐม ๔ เมอื งนครชยั ศรี (นครปฐมโบราณ) ๕ เมืองกาแพงแสน เมือง ราชบุรี เมือง ราชบุรี ๖ เมอื งคบู วั เมือง ราชบุรี ๗ บ้านเวียงทนุ เมือง ราชบุรี ๘ บ้านโคกพรกิ เมอื ง ราชบุรี ๙ บ้านศรีเพชร เมือง ราชบรุ ี ๑๐ บา้ นเกาะพลบั พลา บา้ นโป่ง ราชบรุ ี ๑๑ เทือกเขางู ปากท่อ ราชบุรี ๑๒ วดั รับนา้ ( ขุนสหี ์) เขาย้อย เพชรบรุ ี ๑๓ บ้านโคกพระ เขายอ้ ย เพชรบุรี ๑๔ บา้ นหนองจิก (หนองปรง) บ้านลาด เพชรบุรี ๑๕ เขาพระ บ้านลาด เพชรบุรี ๑๖ บ้านไร่ห้วย บา้ นลาด เพชรบรุ ี ๑๗ บา้ นหนองพระ บ้านลาด เพชรบรุ ี ๑๘ เขาพระนอก ๑๙ วัดป่าแปน้ ๓๒ บญั ชา พงษพ์ านิช และคณะ, หนา้ ๖๖ – ๗๑.

ลาดบั ชอื่ แหล่ง อาเภอ ๒๕ ๒๐ เนินโพธิใ์ หญ่ บ้านลาด ๒๑ เนินดินแดง บา้ นลาด จังหวัด ๒๒ บ้านเขากระจิว ทา่ ยาง เพชรบรุ ี ๒๓ บา้ นใหม่ ท่ายาง เพชรบรุ ี ๒๔ บ้านมาบปลาเค้า ท่ายาง เพชรบรุ ี ๒๕ บา้ นดอนเตาอิฐ ทา่ ยาง เพชรบรุ ี ๒๖ ทุง่ เศรษฐี ชะอา เพชรบุรี ๒๗ เขาตาจีน ชะอา เพชรบรุ ี ๒๘ บา้ นโคกเศรษฐี ชะอา เพชรบรุ ี เพชรบรุ ี ภาคกลางตอนบน เพชรบรุ ี ลาดบั ชื่อแหลง่ อาเภอ จังหวดั ๑ บา้ นคูเมอื ง แสวงหา อา่ งทอง ๒ บา้ นคเู มอื ง บางระจัน สิงหบ์ รุ ี ๓ บา้ นคีม บางระจัน สิงห์บุรี ๔ เมอื งโบราณคูเมอื ง อินทร์บรุ ี สงิ หบ์ รุ ี ๕ เมืองลพบุรี เมอื ง ลพบรุ ี ๖ เมืองดงมะรุม โคกสาโรง ลพบรุ ี ๗ เมอื งบา้ นใหม่ไพสาลี โคกเจริญ ลพบุรี ๘ เมืองซับจาปา ทา่ หลวง ลพบรุ ี ๙ บา้ นเกริน่ กระถนิ บ้านหม่ี ลพบุรี ๑๐ เนนิ มะกอก โคกสาโรง ลพบรุ ี ๑๑ ถ้าเขาน้าพุ ( ถา้ พระโพธสิ ัตว์) แก่งคอย สระบุรี ๑๒ เมืองขดี ขิน บา้ นหมอ สระบรุ ี ๑๓ บ้างหนองบัว สรรคบรุ ี ชยั นาท ๑๔ เขาขยาย เมอื ง ชัยนาท ๑๕ บา้ นโพธงิ์ าม สรรพยา ชยั นาท ๑๖ เมืองนครนอ้ ย มโนรมย์ ชัยนาท ๑๗ เมืองอู่ตะเภา มโนรมย์ ชยั นาท ๑๘ เมืองดงคอน สรรคบุรี ชัยนาท ๑๙ เมืองการ้งุ บ้านไร่ อทุ ยั ธานี ๒๐ เมอื งบงึ คอกช้าง สว่างอารมณ์ อุทยั ธานี

๒๖ ภาคกลางฝั่งตะวันออก อาเภอ จังหวดั ลาดบั ช่อื แหล่ง เมอื ง นครนายก ปากพลี นครนายก ๑ เมอื งดงละคร โคกปีป ปราจีนบุรี ๒ บา้ นโคกกระโดน ศรีมหาโพธิ ปราจนี บุรี ๓ เมืองศรีมโหสถ ศรีมหาโพธิ ปราจีนบรุ ี ๔ สระตารอด พนมสารคาม ฉะเชงิ เทรา ๕ สระยายร้ัง พนัสนิคม ชลบรุ ี ๖ บ้านโคกหัวขา้ ว เมอื ง ชลบรุ ี ๗ เมืองพระรถ เมือง ชลบุรี ๘ เมอื งศรพี ะโร เมือง ชลบุรี ๙ เนินบ้านนายตมุ้ เมอื ง ชลบุรี ๑๐ เนนิ คยุ าย เมอื ง ชลบรุ ี ๑๑ บา้ นหนองปกั ษี เมอื ง ชลบรุ ี ๑๒ เนินเกาะกลาง เมือง ชลบุรี ๑๓ เนนิ สาโรง พานทอง ชลบรุ ี ๑๔ บา้ นดอนล่าง ๑๕ เนินสวนนาย อาเภอ จังหวดั คอนสวรรค์ ชยั ภูมิ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ลุ่มแมน่ ้าชี ๒๖ แหล่ง เกษตรสมบรู ณ์ ชัยภมู ิ เกษตรสมบรู ณ์ ชยั ภูมิ ลาดับ ช่อื แหลง่ เกษตรสมบูรณ์ ชยั ภมู ิ ๑ บ้านคอนสวรรค์ เกษตรสมบรู ณ์ ชยั ภูมิ ๒ บ้านโนนฆ้อง เมือง ชยั ภูมิ ๓ บ้านหัวขวั เมอื ง ชัยภูมิ ๔ บ้านพันลา ภูเขยี ว ชยั ภูมิ ๕ บ้านเกา่ นอ้ ย มญั จาครี ี ขอนแกน่ ๖ บา้ นโพใหญ่ บา้ นใหญ่ ขอนแกน่ ๗ บา้ นกดุ โงง้ ชมุ แพ ขอนแกน่ ๘ บ้านแกง้ ชุมแพ ขอนแก่น ๙ เมอื งโบราณบา้ นโพธิช์ ัย (เมืองชยั วาน) ๑๐ บา้ นชาด ๑๑ เมืองโบราณโนนเมอื ง ๑๒ บ้านบวั สมิ มา

๒๗ ลาดบั ชือ่ แหล่ง อาเภอ จังหวดั ๑๓ บา้ นฝายหิน ชมุ แพ ขอนแกน่ ๑๔ บา้ นศรฐี าน เมอื ง ขอนแก่น ๑๕ บ้นทา่ กระเสริม นา้ พอง ขอนแกน่ ๑๖ บ้านหวั สระ เมอื ง ขอนแกน่ ๑๗ บ้านโนนกู่ เมอื ง ขอนแกน่ ๑๘ บ้านสาราญหนิ ลาด หนองเรอื ขอนแก่น ๑๙ โนนฟ้าระงมึ บา้ นไผ่ ขอนแกน่ ๒๐ เมอื งฟ้าแดดสงยาง กมลาไสย กาฬสนิ ธ์ุ ๒๑ พระพทุ ธไสยาสน์ภคู า่ ว สหสั ขนั ธ์ กาฬสินธุ์ ๒๒ บ้านเมอื งแล้ง พยคั ฆภมู ิพิสัย มหาสารคาม ๒๓ บ้านนาดูน (นครจาปาศรี) นาดนู มหาสารคาม ๒๔ บา้ นโนน (บ้านปากทาง ) นาดูน มหาสารคาม ๒๕ บา้ นบงึ แก มหาชนะชยั ยโสธร ๒๖ บา้ นหัวเมือง มหาชนะชยั ยโสธร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลมุ่ แมน่ า้ มูล ๙ แหลง่ อาเภอ จังหวัด สูงเนิน นครราชสีมา ลาดับ ชอื่ แหลง่ สงู เนิน นครราชสีมา ๒๗ เมอื งเสมา โนนไทย นครราชสีมา ๒๘ โนนกระเบ้ือง บวั ใหญ่ นครราชสีมา ๒๙ บา้ นทองหลาง บัวใหญ่ นครราชสีมา ๓๐ บ้านเสมาใหญ่ หัวตะพาน อบุ ลราชธานี ๓๑ โนนมะคา่ หัวตะพาน อุบลราชธานี ๓๒ เมืองง้วิ หวั ตะพาน อบุ ลราชธานี ๓๓ โนนเมอื ง ม่วงสามสบิ อบุ ลราชธานี ๓๔ บา้ นหนองแสง ๓๕ บา้ นไผ่ใหญ่ อาเภอ จงั หวัด กุดบาก สกลนคร ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ล่มุ แมน่ า้ โขง ๓ แหล่ง บ้านผอื อุดรธานี โพนพสิ ัย หนองคาย ลาดบั ช่ือแหล่ง ๓๖ ถ้าพระ ๓๗ ภพู ระบาท ๓๘ เมอื งเปงจาน

๒๘ ภาคเหนือ ๕ แหล่ง ลาดับ ชอ่ื แหล่ง อาเภอ จงั หวัด ๑ บา้ นหนองบัวตากลาน ตาคลี นครสวรรค์ ๒ เมอื งบน (โคกไม้เดน) พยหุ คีรี นครสวรรค์ ๓ จันเสน ตาคลี นครสวรรค์ ๔ เมืองศรเี ทพ ศรเี ทพ เพชรบูรณ์ ๕ เมอื งหริภญุ ชยั เมอื ง ลาพูน ภาคใต้ ๑ แหลง่ ลาดับ ชอ่ื แหลง่ อาเภอ จงั หวดั ๑ เมอื งโบราณยะรัง ยะรงั ปัตตานี ตารางท่ี ๒.๑ แหลง่ โบราณคดีสมยั ทวารวดตี ามภูมภิ าคต่าง ๆ จากหลักฐานทางโบราณคดีดังกล่าวทาไห้ทราบว่าการแผ่ขยายของวัฒนธรรมทวารวดีไป ยังอาณาจักรต่าง ๆ ในช่วงเวลาน้ัน เป็นการแผ่ขยายด้านศิลปะและวัฒนธรรมเป็นหลัก โดยไม่พบ หลกั ฐานว่าเป็นการแผ่ขยายทางด้านการเมอื งการปกครองแต่อย่างใด นักวิชาการดา้ นโบราณคดีมกี าร สันนิษฐานว่าทวารวดีน่า จะอยู่ในขั้นตอนของเมืองก่อนรัฐ (Proto-State) ในรูปของเมืองเบ็ดเสร็จ หรือเมืองที่มีองค์ประกอบสมบูรณ์ในตัวเองทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความเชื่อในทาง ศาสนา หากจะมีอานาจทางการเมืองก็หมายถงึ มีอานาจเหนือเมืองบรวิ ารหรือชมุ ชนหมู่บา้ นรอบๆ ใน พ้นื ที่ใกลเ้ คียงเท่าน้ัน เมืองใหญ่เหล่านี้แตล่ ะเมืองจะมีอสิ ระต่อกนั และเกิดข้ึนมาพร้อม ๆ กนั เพราะ ผลจากการตดิ ตอ่ คา้ ขายและรับวัฒนธรรมจากอินเดียโดยเฉพาะทางดา้ นพระศาสนาพทุ ธแบบหินยาน รวมทั้งภาษา และรูปแบบศิลปกรรมแบบเดียวกัน๓๓ ลักษณะศิลปะและวัฒนธรรมของทวารวดีนั้นมี การผูกโยงอยกู่ ับพุทธศาสนาอย่างแยกไม่ออก เม่อื ใดก็ตามที่มีผคู้ นกล่าวถึงศิลปะและวฒั นธรรมแบบ ทวารวดี ก็ให้เป็นท่ีเข้าใจได้ว่ามีความหมายเช่นเดียวกันกับคาว่า “พระพุทธศาสนาแบบทวารวดี” หรือ เมื่อใดก็ตามท่ีมีผู้คนกล่าวถึงพระพุทธศาสนาแบบทวารวดี ก็ให้เป็นท่ีเข้าใจได้ว่ามีความหมาย เช่นเดียวกันกับคาว่า ศิลปะวัฒนธรรมแบบทวารวดี โดยได้มีศิลปะและวัฒนธรรมอินเดียในมิติอ่ืน ๆ รว่ มอยู่ดว้ ย เป็นต้น ๓๓ https://th.wikipedia.org/wiki/ ออนไลน์ วนั ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๒๙ ภาพที่ ๒.๖ เจดยี ์วดั เขาไม้เดน อาเภอพยหุ คีรี จงั หวดั นครสวรรค์ ภาพท่ี ๒.๗ ธรรมจักรศิลา สัญลักษณส์ าคญั ของพุทธศาสนาและศิลปะทวารวดี ภาพท่ี ๒.๘ พระพุทธรปู ศิลปะทวารวดีอีกหน่งึ สญั ลกั ษณ์สาคญั ของพทุ ธศาสนาและศลิ ปะทวารวดี

๓๐ ๒.๑.๓ หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตามเส้นทางการ เผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี จากการสืบค้นจารึกสมัยทวารวดี พุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๖ พบว่าได้มีการ สารวจพบหลักพทุ ธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดตี ามเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาใน ประเทศไทยสมัยทวารวดี ในทุกภูมิภาคต่าง ๆ ของไทย ทง้ั ในดา้ นอักษรที่มีในจารึก เชน่ อักษรปลั ลวะ อักษรหลงั ปัลลวะ อักษรมอญโบราณ เปน็ ต้น ภาษาท่ีมีในจารึก เช่น ภาษาบาลี ภาษาสนั สกฤต ภาษา มอญโบราณ เป็นต้น วัตถุจารึก เช่น ธรรมจักรศิลา แผ่นศิลา พระพุทธรูปศิลา แผ่นอิฐ สถูปดินเผา พระพมิ พ์ดินเผา เหรียญเงิน ผนงั ถา้ เปน็ ต้น เพอื่ ให้ทาความเข้าใจเกีย่ วกับเรื่องนี้ไดช้ ัดเจนและงา่ ยต่อ การตอ่ การศึกษา คณะผู้วิจัยได้แบ่งประเดน็ การศึกษาออกเป็นภูมิภาคต่าง ๆ โดยกาหนดเอาพ้ืนที่ใน แต่ละภาคของไทยในปัจจุบันเป็นเกณฑ์ โดยแบ่งออกเป็น ๔ หวั ข้อ คือ ๑) จารึกหลักพุทธธรรมที่พบ ในภาคกลางและภาคตะวันตก ๒) จารกึ หลักพทุ ธธรรมทีพ่ บในภาคเหนือ ๓) จารกึ หลักพทุ ธธรรมที่พบ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก และ ๔) จารึกหลักพุทธธรรมท่ีพบในภาคใต้ แต่ละ หัวขอ้ จะไดน้ ามาศกึ ษาตามลาดับดังน้ี ๒.๑.๓.๑ จารึกหลักพุทธธรรมในภาคกลางและภาคตะวันตก คือ ในแถบลุ่มน้า เจา้ พระยา นา้ ท่าจีน น้าแม่กลอง ได้พบว่ามีอยู่ท้ังสิ้น จานวน ๑๕ หลกั โดยแบ่งออกเป็นสองชว่ ง คือ ช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ มกี ารจารึกดว้ ยอกั ษรปัลลวะ จานวน ๑๗ หลัก ช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๕ มีการจารึกด้วยอักษรหลังปัลลวะ จานวน ๘ หลัก มีการใช้ท้ังภาษาบาลี สันสกฤต และมอญโบราณ โดยมีการค้นพบอยู่ในจังหวัดแถบภาคกลางและภาคตะวันตก คือ เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ อุทัยธานี สุพรรณบุรี นครปฐม และราชบุรี จารึกส่วนใหญ่มักจารึกขึ้นเน่ืองในความเชื่อเกี่ยวกับหลักธรรมใน พระพทุ ธศาสนา ซึ่งจะได้นาเสนอไว้สัก ๔ ตัวอยา่ ง ดังน้ี ๑) จารึกธรรมจักร (นครปฐม) (Dharmacakra Inscription (Nakhon Pathom)) จารึกเป็นภาษาบาลี อักษรปัลลวะ จารึกอยู่ บนบริเวณสว่ นต่าง ๆ ของธรรมจกั รศลิ า เชน่ ดุม กง และ กา มอี ายุอย่ใู นพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ขนาดของของวตั ถุท่ีใช้ จารึกมีเส้นผ่าศูนย์กลางของล้อธรรมจักร ๙๘ เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานของปีท่ีพบจารึกนี้ ผูพ้ บหลักฐานจารึก คอื พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล ปัจจุบันถูก เก็ บ อ ยู่ ท่ี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ พ ร ะ น ค ร กรุงเทพมหานคร ซึ่งศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การ ภาพท่ี ๒.๙ จารกึ ธรรมจักร (นครปฐม) ดา้ นท่ี ๑ มหาชน) ไดใ้ หเ้ น้ือหาโดยย่อไว้ดังนี้ เนื้อหาโดยย่อของจารึกธรรมจักร (นครปฐม) คาถาที่ปรากฏอยู่นี้ อาจเรียกอย่างง่ายๆ ว่า “คาพรรณนาถึงพระอริยสัจ ๔” โดยมีเน้ือหากล่าว เปรียบเทียบว่า จักร คือ พระธรรมของพระพุทธเจ้า ซ่ึงแสดงถึงอริยสัจจ์ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค โดยหมุนวนครบ ๓ รอบ เป็นสัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ มีอาการ ๑๒ อย่าง คาพรรณนา เช่นนี้ ยังพบได้ใน จารกึ เสาแปดเหล่ียม (ซับจาปา) (หรือ ลบ. ๑๗) และ จารกึ ฐานรองพระธรรมจักร (สพ. ๑) แต่จะมีคาต่างกันเล็กน้อย คือ ในจารึกทั้ง ๒ ท่ีกล่าวข้างต้นจะใช้คาว่า “วตฺต” แต่ในขณะที่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook