Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Published by channarongpp, 2018-04-23 06:06:45

Description: หนังสือเรียน บทที่1 ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี

Search

Read the Text Version

1 บทที่ 1ความปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบัติการเคมี เครอื่ งแกวท่ีใชท ่ัวไปในหองปฏิบตั กิ ารสาํ หรับการเรียนระดับมัธยมศึกษา เชนบีกเกอร ขวดรปู กรวย กระบอกตวงคําถามสําคญั 1. การทําปฏิบัติการเคมีใหเกดิ ความปลอดภยั ตอ งคํานงึ ถึงเร่อื งใดบา ง 2. อปุ กรณในหองปฏบิ ัตกิ ารมีอะไรบา ง เพราะเหตใุ ดจึงตองเลือกและใชใหเหมาะสม 3. เพราะเหตุใดการรายงานการวดั ปริมาณจงึ ตองมหี นวยกํากับ และคาํ นึงถึง เลขนยั สําคัญจดุ ประสงคการเรียนรู 1. ระบุความเปนอันตรายของสารเคมีจากสัญลักษณและขอมูลบนฉลากสารเคมี ตนราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

22. อธิบายขอ ปฏิบัตเิ บอื้ งตนและการปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงถึงความตระหนักในการทาํ ปฏิบัตกิ ารเคมีเพื่อใหม ีความปลอดภัย ทั้งตอตนเอง ผูอน่ื และสง่ิ แวดลอม และ เสนอแนวทางแกไ ขเมื่อเกิดอุบัตเิ หตุ3. เลอื กและใชอปุ กรณห รือเคร่ืองมอื ในการทําปฏิบตั ิการ และวัดปรมิ าณตาง ๆ ได อยา งเหมาะสม4. อานคาปริมาณจากการวัดโดยแสดงเลขนยั สําคัญทถ่ี ูกตอ ง5. ระบุหนว ยวดั ปรมิ าณตาง ๆ ของสาร6. เปล่ียนหนวยวดั ใหเ ปน หนวยในระบบเอสไอดว ยการใชแฟกเตอรเ ปลยี่ นหนว ย7. นําเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลอง ตนราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

3 ตรวจสอบความรกู อนเรยี น1. จบั คูร ูปอปุ กรณกับช่ือใหถ ูกตองกข คงจฉชซ ญ ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

4ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

5……. 1.1 บีกเกอร……. 1.2 กระบอกตวง……. 1.3 เทอรม อมิเตอร……. 1.4 กรวยแกว……. 1.5 หลอดทดลอง……. 1.6 บิวเรตต……. 1.7 ปเ ปตต……. 1.8 กระจกนาฬิกา……. 1.9 ถวยระเหยสารตนราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

62. จากรปู ตอ ไปน้ี อปุ กรณใดใชใ นการวดั ปรมิ าณสารก ขคง จฉช ซญ ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

73. ใสเ ครอ่ื งหมาย  หนา ขอ ความท่ถี ูกตอง และเครือ่ งหมาย  หนาขอความทไี่ ม ถูกตอง ……. 3.1 ถา นกั เรยี นทําขวดบรรจุสารเคมตี กแตกและสารเคมหี กเปอนโตะ นักเรยี น ตอ งกันเพื่อน ๆ ออกจากบรเิ วณนน้ั และแจงอาจารยผดู ูแลการทดลอง ……. 3.2 วิธีจดุ ตะเกยี งแอลกอฮอลทาํ โดยการเอียงตะเกยี งตอไฟจากตะเกยี ง แอลกอฮอลอ่ืน ……. 3.3 สารละลายทม่ี สี มบัติเปน กรดจะเปลีย่ นสีกระดาษลติ มัสจากแดงเปน น้ําเงนิ ……. 3.4 ควรสวมถงุ มือ และใชผ าปดปาก ปดจมูก เม่อื ตองใชส ารเคมที ม่ี ีสัญลักษณ ความเปน อันตรายรปู หัวกะโหลกไขว ……. 3.5 หลอดหยดเปนอปุ กรณท ีใ่ ชใ นการถา ยเทสารปริมาณนอ ย ๆ ……. 3.6 การตวงปรมิ าตรน้ํา สามารถใชถวยตวงของเหลวสําหรบั ทาํ ขนมแทนการตวง ดว ยบกี เกอรได ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

8 การทดลองถือเปนหัวใจของการศึกษาคนควาทางเคมีที่สามารถนําไปสูการคนพบและความรูใหมทางเคมี นอกจากน้ีการปฏิบัติการทดลองยังสามารถชวยใหนักเรียนเกิดความรแู ละความเขาใจในบทเรียนไดดียิ่งขึ้น การทดลองทางเคมีสําหรับนักเรียนนิยมทําในหองปฏิบัติการ โดยมีขอควรปฏิบัติและควรหลีกเลี่ยงท่ีเก่ียวของกับความปลอดภัยในการทําปฏิบัติการ การจัดการเก่ียวกับอุบัติเหตุจากสารเคมี ความเที่ยงความแมน หนวยวัดและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร การทาํ ปฏบิ ัตกิ ารเคมไี ดอ ยางปลอดภัยจะตองคํานึงถงึ เร่ืองใดบา ง1.1 ความปลอดภัยในการทํางานกบั สารเคมี การทําปฏิบัติการเคมีสวนใหญตองมีความเก่ียวของกับสารเคมี อุปกรณและเคร่ืองมือตาง ๆ ซึ่งผูทําปฏิบัติการตองตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเอง ผูอ่ืน และส่ิงแวดลอม โดยผูทําปฏิบัติการควรทราบเก่ียวกับประเภทของสารเคมีที่ใช ขอควรปฏิบัติในการทําปฏิบัติการเคมี และการกําจัดสารเคมีที่ใชแลวหลังเสร็จสิ้นปฏิบัติการ เพื่อใหสามารถทําปฏบิ ัติการเคมไี ดอยางปลอดภัย 1.1.1 ประเภทของสารเคมี สารเคมมี หี ลายประเภท แตละประเภทมสี มบตั แิ ตกตางกัน สารเคมีจึงจําเปนตองมีฉลากที่มีขอมูลเกี่ยวกับความเปนอันตรายของสารเคมีเพ่ือความปลอดภัยในการจัดเก็บการนําไปใช และการกําจดั โดยฉลากของสารเคมที ใี่ ชใ นหองปฏิบตั กิ ารควรมีขอ มูล ดงั นี้ 1. ช่ือผลิตภัณฑ 2. รปู สัญลักษณ แสดงความเปนอันตรายของสารเคมี 3. คําเตือน ขอมูลความเปน อนั ตราย และขอ ควรระวงั 4. ขอมูลของบริษทั ผูผลิตสารเคมีตวั อยางของฉลาก แสดงดังรูป 1.1 ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

9 รปู 1.1 ตวั อยางฉลากของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนยี บนฉลากบรรจภุ ณั ฑมีสญั ลักษณแ สดงความเปนอันตรายที่สื่อความหมายไดชัดเจนเพอื่ ใหผใู ชส งั เกตไดงาย สญั ลักษณแ สดงความเปนอนั ตรายมหี ลายระบบ ในที่นี้จะกลาวถึง2 ระบบที่มีการใชกันอยางแพรหลาย คือ Globally Harmonized System ofClassification and Labelling of Chemicals (GHS) ซึ่งเปนระบบที่ใชสากล และNational Fire Protection Association Hazard Identification System (NFPA) เปนระบบท่ีใชในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงสัญลักษณทั้งสองระบบน้ีสามารถพบเห็นไดท่ัวไปบนบรรจุภณั ฑสารเคมี ในระบบ GHS จะแสดงสัญลักษณในส่ีเหล่ียมกรอบสีแดง พ้ืนสีขาว ลักษณะดังรูป1.2สารที่กดั กรอน สารท่เี ปน สารไวไฟ สารทเ่ี ปน สารที่เปน อนั ตรายอันตรายตอ อนั ตรายถงึ ชวี ิต ตอสง่ิ แวดลอมสุขภาพรูป 1.2 ตัวอยา งสัญลักษณแ สดงความเปนอันตรายในระบบ GHSตรวจสอบความเขาใจ จากฉลากของกรดไฮโดรคลอรกิ และแอมโมเนีย สารเคมีทั้งสองมอี ันตรายตามระบบ GHS อยางไรบางตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

10 สําหรับสัญลักษณแสดงความเปนอันตรายในระบบ NFPA จะใชสีแทนความเปนอันตรายในดานตาง ๆ ไดแก สีแดงแทนความไวไฟ สีนํ้าเงินแทนความเปนอันตรายตอสุขภาพ สีเหลืองแทนความวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใสตัวเลข 0 ถึง 4 เพ่ือระบุระดับความเปน อนั ตรายจากนอ ยไปหามาก และชอ งสีขาวใชใ สอักษรหรือสัญลักษณท่ีแสดงสมบัตทิ ่เี ปนอนั ตรายดา นอน่ื ๆ ดังตัวอยา งในรปู 1.3กรดไฮโดรคลอริก แอมโมเนียรูป 1.3 สัญลักษณความเปนอันตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอรกิ และแอมโมเนยีตรวจสอบความเขาใจ จากสัญลกั ษณความเปน อันตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนีย สารเคมใี ดเปนอนั ตรายมากกวา กันในดา นความไวไฟความเปน อนั ตรายตอสขุ ภาพ และความวอ งไวในการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี กิจกรรมเสนอแนะ ใหนักเรียนสบื คนขอมูลฉลากสารเคมใี นหอ งปฏิบัตกิ ารของโรงเรียน จากน้ันอภิปรายรว มกันวา เหมอื นหรือแตกตางจากฉลากในระบบ GHS และ NFPA หรือไม อยา งไร นอกจากฉลากและสัญลักษณแสดงความเปนอันตรายตาง ๆ ท่ีปรากฏบนบรรจุภัณฑของสารเคมีแลว สารเคมีทุกชนิดยังตองมีเอกสารความปลอดภัย (safety datasheet, SDS) ซงึ่ มขี อ มลู เกย่ี วกบั ความปลอดภัยในการใชสารเคมีอยางละเอียด เชน สมบัติและองคป ระกอบของสารเคมี ความเปนอันตราย การปฐมพยาบาลเบื้องตนตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

11 กิจกรรมเสนอแนะ ใหนกั เรยี นสบื คน ขอ มูลเอกสารความปลอดภัยของสารเคมแี ลวระบุ ขอมูลเบ้ืองตน เชน การปองกันตนเอง (personal protection) การปฐมพยาบาล (first aid measures) 1.1.2 ขอ ควรปฏิบตั ใิ นการทําปฏบิ ัตกิ ารเคมี การทาํ ปฏบิ ตั กิ ารเคมใี หเกิดความปลอดภัยนอกจากตองทราบขอมูลของสารเคมีท่ีใชแลว ผูทําปฏิบัติการควรทราบเก่ียวกับการปฏิบัติตนเบื้องตนท้ังกอน ระหวาง และหลังทาํ ปฏบิ ัติการ ดงั ตอไปน้ี กอนทาํ ปฏบิ ัตกิ าร 1) ศึกษาข้ันตอนหรือวิธีการทําปฏิบัติการใหเขาใจ วางแผนการทดลอง หากมี ขอ สงสัยตองสอบถามครผู ูสอนกอนท่จี ะทําการทดลอง 2) ศึกษาขอมูลของสารเคมีที่ใชในการทดลอง เทคนิคการใชเครื่องมือ วัสดุ รูป 1.4 การแตงกายเพ่ือทาํ ปฏบิ ัติการท่ใี ชสารกดั กรอ น สารทม่ี อี นั ตราย หรือสารทมี่ ีไอระเหย 1.1 หามรับประทานอาหารและเครื่องด่ืม หรือทํากิจกรรมอื่น ๆ ที่ ไมเ กีย่ วของกับการทาํ ปฏบิ ัตกิ าร 1.2 ไมทําการทดลองในหองปฏิบัติการตามลําพังเพียงคนเดียว เพราะเมื่อ เกิดอุบัติเหตุขึ้นจะไมมีใครทราบ และไมอาจชวยไดทันทวงที หากเกิด อุบัตเิ หตใุ นหองปฏบิ ตั ิการ ตองแจงใหครูผูส อนทราบทันทที ุกคร้งั ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

12 1.3 ไมเ ลน และไมรบกวนผูอ ่นื ในขณะทที่ าํ ปฏิบัติการ 1.4 ปฏิบัติตามข้ันตอนและวิธีการอยางเครงครัด ไมทําการทดลองใด ๆ ที่ นอกเหนือจากที่ไดรับมอบหมาย และไมเคลื่อนยายสารเคมี เครื่องมือ และอุปกรณสวนกลางท่ีตองใชรวมกัน นอกจากไดรับอนุญาตจาก ครผู สู อนเทา นน้ั 1.5 ไมป ลอ ยใหอุปกรณใหค วามรอน เชน ตะเกียงแอลกอฮอล หรือเตาแผน ใหความรอน (hot plate) ทํางานโดยไมมีคนดูแล และหลังจากใชงาน เสร็จแลวใหดับตะเกียงแอลกอฮอลหรือปดเคร่ืองและถอดปลั๊กไฟออก ทันที แลวปลอยไวใหเย็นกอนการจัดเก็บ เม่ือใชเตาแผนใหความรอน ตอ งระวงั ไมใ หสายไฟพาดบนอปุ กรณ 1) ขอ เมื่อสารเคมีหกในปริมาณเล็กนอยใหกวาดหรือเช็ด แลวทิ้งลงในภาชนะ สําหรับทิ้งสารท่ีเตรียมไวในหองปฏิบัติการ หากหกในปริมาณมากใหแจง ครูผสู อน หลงั ทาํ ปฏบิ ัตกิ าร 1) ทําความสะอาดอุปกรณ เคร่ืองแกว และวางหรือเก็บในบริเวณท่ีจัดเตรียมไว ให รวมทัง้ ทาํ ความสะอาดโตะ ทาํ ปฏิบตั กิ าร 2) กอนออกจากหองปฏิบัติการใหถอดอุปกรณปองกันอันตราย เชน เสื้อคลุม ปฏบิ ัตกิ าร แวนตานิรภัย ถุงมอื 1.1.3 การกาํ จดั สารเคมี สารเคมีที่ใชแลวหรือเหลือใชจากการทําปฏิบัติการเคมี จําเปนตองมีการกําจัดอยา งถูกวธิ ี เพ่อื ใหเ กดิ ความปลอดภัยตอ ส่งิ แวดลอมและสิง่ มชี วี ิต การกําจัดสารเคมแี ตละประเภท สามารถปฏิบตั ิไดด งั นี้ 1) สารเคมีท่ีเปนของเหลวไมอันตรายท่ีละลายน้ําไดและมี pH เปนกลาง ปรมิ าณไมเกนิ 1 ลิตร สามารถเทลงอา งนา้ํ และเปด นาํ้ ตามมาก ๆ ได ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

13 2) สารละลายเขมขนบางชนิด เชน กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมไฮดรอกไซด ไม ควรทิ้งลงอางน้ําหรือทอน้ําทันที ควรเจือจางกอนเทลงอางน้ํา ถามีปริมาณ มากตองทาํ ใหเปนกลางกอน 3) สารเคมีท่ีเปนของแข็งไมอันตราย ปริมาณไมเกิน 1 กิโลกรัม สามารถใสใน ภาชนะทปี่ ด มดิ ชิดพรอ มท้งั ตดิ ฉลากชอ่ื ใหชัดเจน กอนทงิ้ ในที่ซง่ึ จดั เตรียมไว 4) สารไวไฟ ตัวทําละลายที่ไมละลายน้ํา สารประกอบของโลหะเปนพิษ หรือ สารที่ทําปฏิกิริยากับน้ํา หามทิ้งลงอางน้ํา ใหทิ้งไวในภาชนะท่ีทาง หองปฏบิ ตั ิการจัดเตรยี มไวใหรูหรือไม ในการทําปฏิบัติการเคมีเพ่ือใหเกิดความปลอดภัยและเปนมิตรตอส่ิงแวดลอมนั้น สามารถทําไดหลายวิธี เชน ออกแบบการทดลองท่ีไมกอใหเกิดของเสียท่ีเปนอันตราย เลือกใชสารเคมีและปฏิกิริยาเคมีที่ปลอดภัยและมีความคุมคาในการใชพลังงาน ใชอุปกรณทดแทนสําหรับทําปฏิบัติการแบบยอสวน เพ่ือเปนการลดการใชสารเคมแี ละพลังงาน อีกทงั้ ยงั สามารถลดปริมาณของเสียท่เี กดิ ขึ้นไดอีกดวย แบบฝกหัด 1.11. พิจารณาขอมูลบนฉลากของโซเดียมไฮดรอกไซด และวงกลมเพ่ือระบุสวนที่แสดง ขอ มูลตอไปนี้ 1. ชื่อผลติ ภัณฑ 2. รูปสัญลกั ษณ แสดงความเปนอนั ตรายของสารเคมี 3. คาํ เตือน ขอมูลความเปนอนั ตราย และขอควรระวัง ตนราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

142. พจิ ารณาตัวอยางฉลากสารเคมีตอไปนี้แอมโมเนยี กรดไนทริกโพแทสเซียมเปอรแมงกาเนต แบเรียมคลอไรด ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

โซเดียมซัลเฟต 15 คอปเปอร(II)ไนเทรตโพแทสเซยี มไฮดรอกไซด เลด(II)ไนเทรต ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

16 2.1 สารเคมใี ดไมค วรวางใกลเ ปลวไฟ 2.2 การใชสารเคมใี ดควรใสห นากากปอ งกนั ไอระเหย 2.3 สารเคมีใดเปนพษิ ตอสิง่ แวดลอม 2.4 สารเคมีใดมีฤทธิ์กดั กรอนผวิ หนงั 2.5 เมอ่ื สมั ผสั กบั โซเดียมซลั เฟต ควรปฏบิ ัตอิ ยา งไร 2.6 สารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) เขม ขน รอยละ 10 โดยมวลตอ ปริมาตร ที่ เหลือจากการทดลอง 5 มิลลลิ ติ ร ควรทง้ิ อยา งไร3. จากรูปผูทําปฏิบัติการควรปรับปรุงส่ิงใดบาง เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํา ปฏิบตั ิการเคมี ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

171.2 อบุ ัตเิ หตจุ ากสารเคมี ในการทาํ ปฏบิ ตั กิ ารเคมีอาจเกิดอุบัติเหตุตาง ๆ จากการใชสารเคมีได ซึ่งหากผูทําปฏิบัติการมีความรูในการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนจะสามารถลดความรุนแรงและความเสียหายที่เกิดขึ้นได โดยการปฐมพยาบาลเบื้องตนจากอุบัติเหตุจากการใชสารเคมี มีขอปฏิบัตดิ ังนี้ การปฐมพยาบาลเม่อื รา งกายสัมผัสสารเคมี การเปดน้ําเบา ๆ ไหลผานดั้งจมูกใหนํ้าไหลผานตาขางที่โดนสารเคมี ดัง รูป 1.5 พยายามลืมตาและกรอกตาในน้ําอยางนอย 10 นาที หรือจนกวาแนใจวา ชะลางสารออกหมดแลว ระวงั ไมใหน้าํ เขา ตาอกี ขา งหน่งึ แลว นาํ สงแพทยทันที รูป 1.5 การปฐมพยาบาลเม่ือสารเคมเี ขา ตา การปฐมพยาบาลเมือ่ สูดดมแกสพิษ 1. เม่ือมีแกสพิษเกิดข้ึน ตองรีบออกจากบริเวณนั้นและไปบริเวณท่ีมีอากาศ ถายเทสะดวกทันที 2. หากมผี ทู สี่ ูดดมแกส พิษจนหมดสติหรือไมสามารถชวยเหลือตนเองได ตองรีบ เคล่ือนยายออกจากบริเวณนั้นทันที โดยท่ีผูชวยเหลือตองสวมอุปกรณ ปองกันที่เหมาะสม เชน หนา กากปองกนั แกส พิษ ผา ปดปาก 3. ปลดเส้ือผาเพ่ือใหผูประสบอุบัติเหตุหายใจไดสะดวกข้ึน หากหมดสติ ใหจับ นอนควํ่าและตะแคงหนาไปดานใดดานหน่ึง เพ่ือปองกันโคนล้ินกีดขวาง ทางเดนิ หายใจ ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

18 4. สงั เกตการเตนของหัวใจและการหายใจ หากวา หวั ใจหยุดเตนและหยุดหายใจ ใหนวดหัวใจและผายปอดโดยผูที่ผานการฝก แตไมควรใชวิธีเปาปาก (mouth to mouth) แลว นําสงแพทยทนั ที การปฐมพยาบาลเมอ่ื โดนความรอ น แชนํ้าเย็นหรือปดแผลดวยผาชุบนํ้าจนหายปวดแสบปวดรอน แลวทายา ขี้ผ้ึงสําหรบั ไฟไหมและน้าํ รอ นลวก หากเกิดบาดแผลใหญใหน าํ สง แพทย กรณีทีส่ ารเคมเี ขาปากใหปฏิบัติตามคําแนะนาํ ตามเอกสารเความปลอดภัย แลวนําสงแพทยทกุ กรณี ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

19 แบบฝกหัด 1.21. ใหนักเรียนระบุวิธีปฐมพยาบาลเบ้ืองตนท่ีเหมาะสม เม่ือเกิดอุบัติเหตุตอไปน้ีใน หองปฏิบตั กิ าร 1.1 สารละลายกรดกระเดน็ ถูกผวิ หนงั 1.2 สัมผัสกับเมด็ โซเดียมไฮดรอกไซด 1.3 ไอนํา้ รอนจากอา งนํา้ รอนสมั ผัสรางกาย 1.4 เศษแกวจากหลอดทดลองทแ่ี ตกบาดมือ 1.5 เมือ่ ใชม ือสมั ผัสโตะในหองปฏิบตั กิ าร แลวเกดิ อาการแสบรอน2. สืบคนขอมูล safety data sheet ของ 1-naphthyl methylcarbamate ซึ่งเปนยา ฆาแมลงในกลุมคารบาเมต (carbaryl insecticide) ท่ีนํามาใชในการกําจัดแมลง ศัตรพู ชื เพอื่ ตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 2.1 วธิ ีเก็บรักษา 2.2 วิธีปฐมพยาบาล เมื่อสมั ผสั ผวิ หนัง ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

201.3 การวัดปริมาณสาร ในปฏิบตั ิการเคมจี าํ เปนตองมีการชั่ง ตวง และวัดปริมาณสาร ซ่ึงการชั่ง ตวง วัดมีความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดจากอุปกรณท่ีใชหรือผูทําปฏิบัติการ ที่จะสงผลใหผลการทดลองทีไ่ ดม ีคามากกวา หรอื นอยกวาคาจริง ความนาเชื่อถือของขอมูล สามารถพิจารณาไดจาก 2 สวนดวยกัน คือ ความเที่ยง(precision) และ ความแมน (accuracy) ของขอมูล โดยความเท่ียง คือ ความใกลเคียงกันของคาที่ไดจากการวัดซํ้า สวนความแมน คือ ความใกลเคียงของคาเฉล่ียจากการวัดซ้ําเทียบกับคา จริง ดงั แสดงในรูป 1.6ก) ความเท่ยี งและความแมนตา่ํ ข) ความเที่ยงต่ํา ความแมนสงูค) ความเท่ียงสูง ความแมนตาํ่ ง) ความเท่ียงและความแมนสูง รูป 1.6 ความแตกตางของความเที่ยงและความแมน จากรูป 1.6 จะเห็นวา ก) ขอมูลมีการกระจายตัวมากและมีคาเฉล่ียที่ไมใกลเคียงกับคา จริง สว น ข) ขอ มลู มีการกระจายตวั มากถึงแมวาอาจใหคาเฉล่ียใกลเคียงกับคาจริง ก็ ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

21จัดเปน ขอมลู ท่มี คี วามนา เช่อื ถอื นอย รวมทัง้ ค) ขอมลู มีการกระจายตัวนอยแตมีคาเฉล่ียไมใกลเ คียงกบั คาจริง จงึ ยังถือวาเปนขอมูลท่ีมีความนาเชื่อถือนอยเชนกัน สําหรับ ง) ขอมูลมีการกระจายตัวนอยและมคี าเฉลี่ยใกลเ คียงกบั คาจริง จึงเปนขอมูลที่นา เช่ือถอื 1.3.1 อปุ กรณว ัดปริมาตร อุปกรณวัดปริมาตรสารเคมีที่เปนของเหลวท่ีใชในหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรมีหลายชนิด แตละชนิดมีขีดและตัวเลขแสดงปริมาตรท่ีไดรับการตรวจสอบมาตรฐานและกําหนดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได บางชนิดมีความคลาดเคลื่อนนอย บางชนิดมีความคลาดเคล่ือนมาก ในการเลือกใชตองคํานึงถึงความเหมาะสมกับปริมาตรและระดับความแมนที่ตองการ อุปกรณวัดปริมาตรบางชนิดท่ีนักเรียนไดใชงานในการทําปฏิบัติการทางวิทยาศาสตรที่ผานมา เชน บีกเกอร ขวดรูปกรวย กระบอกตวง เปนอุปกรณท่ีไมสามารถบอกปริมาตรไดแมน มากพอสาํ หรับการทดลองในบางปฏบิ ตั ิการ บกี เกอร (beaker) บกี เกอร มีลกั ษณะเปน ทรงกระบอกปากกวาง มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตรมหี ลายขนาด ดังรูป 1.7 รปู 1.7 บกี เกอร ตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

22 รูหรือไม บีกเกอร มาจากคําวา beak แปลวา จะงอยปากนก เนื่องจากท่ีบริเวณขอบบีกเกอรมี ลักษณะคลายจะงอยปากของนก ขวดรปู กรวย (erlenmeyer flask) ขวดรูปกรวยมีลักษณะคลายผลชมพู มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด ดังรปู 1.8 รปู 1.8 ขวดรปู กรวย กระบอกตวง (measuring cylinder) กระบอกตวงมีลักษณะเปนทรงกระบอก มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด ดังรูป 1.9 ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

23 รูป 1.9 กระบอกตวง นอกจากน้ียังมีอุปกรณท่ีสามารถวัดปริมาตรของเหลวไดอยางแมนมากกวาอุปกรณขางตน โดยมีทั้งที่เปนการวัดปริมาตรของของเหลวท่ีบรรจุอยูภายใน และการวัดปรมิ าตรของเหลวท่ถี ายเท เชน ปเ ปตต บิวเรตต ขวดกาํ หนดปรมิ าตร ตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

24 บิวเรตต (burette) บิวเรตตเปนอุปกรณสําหรับถายเทของเหลวในปริมาตรตาง ๆ ตามตองการ มีลักษณะเปนทรงกระบอกยาวท่ีมีขีดบอกปริมาตร และมีอุปกรณควบคุมการไหลของของเหลวที่เรียกวา กอกปดเปด (stop cock) ดังรูป 1.11 (ข้ันตอนการใชงานบิวเรตตสามารถดไู ดท ภ่ี าคผนวก) กอกปด เปด รปู 1.11 บวิ เรตต ขวดกาํ หนดปริมาตร (volumetric flask) ขวดกําหนดปริมาตรเปนอุปกรณสําหรับวัดปริมาตรของเหลวท่ีบรรจุภายใน ใชสําหรับเตรยี มสารละลายท่ีตองการความเขมขนแนนอน มีขีดบอกปริมาตรเพียงขีดเดียว มีจุกปดสนิท ขวดกําหนดปริมาตรมีหลายขนาด ดังแสดงในรูป 1.12 (ข้ันตอนการใชขวดกําหนดปรมิ าตรสามารถดูไดท ่ีภาคผนวก) ตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

25 รปู 1.12 ขวดกําหนดปรมิ าตรขนาดตา ง ๆ การใชอปุ กรณว ดั ปรมิ าตรเหลา นี้ใหไดคาที่นาเชื่อถือจะตองมีการอานปริมาตรของของเหลวใหถูกวิธี โดยตองใหสายตาอยูระดับเดียวกันกับระดับสวนโคงของของเหลว โดยถา สวนโคง ของของเหลวมีลกั ษณะเวา ใหอ า นปรมิ าตรที่จดุ ตาํ่ สุดของสว นโคงน้ัน แตถาสวนโคง ของของเหลวมีลกั ษณะนูน ใหอ านปรมิ าตรท่ีจุดสูงสุดของสวนโคงน้ัน แสดงดังรูป 1.13การอานคาปริมาตรของของเหลวใหอานตามขีดบอกปริมาตรและประมาณคาทศนิยมตําแหนง สุดทา ย รูป 1.13 การอา นปรมิ าตรของของเหลว ตรวจสอบความเขาใจ 1. จากรปู ปรมิ าตรของเหลวในกระบอกตวงมคี า เทา ใด 2. ปรมิ าตรเรมิ่ ตนและปริมาตรสุดทายจากการถายเทของเหลวดวยบิวเรตตเปน ดงั รปู ของเหลวที่ถายเทไดม ปี รมิ าตรเทาใดป ิ ิ่  ปิ ส ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

26 อุปกรณวัดปริมาตรบางชนิด เชน ปเปตตแบบปริมาตร ขวดกําหนดปริมาตร มีขีดบอกปรมิ าตรเพยี งขดี เดยี ว อปุ กรณประเภทน้ีออกแบบมาเพื่อใหใชในการถายเทหรือบรรจุของเหลวท่ีมีปริมาตรเพียงคาเดียวตามท่ีระบุบนอุปกรณ ดังนั้นผูใชจึงจําเปนตองพยายามปรบั ระดบั ของเหลวใหตรงกับขดี บอกปริมาตร การบันทึกคาปริมาตรใหบันทึกตามขนาดและความละเอียดของอุปกรณ เชนปเปตตม ีความละเอียดของคาปริมาตรถึงทศนิยมตําแหนงที่สอง ดังนั้นปริมาตรของเหลวที่ไดจ ากการใชปเปตตข นาด 10 มลิ ลิลติ ร บนั ทึกคาปริมาตรเปน 10.00 มิลลลิ ิตร1.3.2 อปุ กรณวัดมวลเคร่ืองช่ังเปนอุปกรณสําหรับวัดมวลของสารท้ังที่เปนของแข็งและของเหลว ความนาเชื่อถือของคามวลที่วัดไดขึ้นอยูกับความละเอียดของเครื่องช่ังและวิธีการใชเครื่องช่ังเคร่ืองชั่งที่ใชในหองปฏิบัติการเคมีโดยท่ัวไปมี 2 แบบ คือ เครื่องชั่งแบบสามคาน (triplebeam) และเครอื่ งช่งั ไฟฟา (electronic balance) ซงึ่ มสี ว นประกอบหลักดังรปู ต1มุ .น1้ํา4หนกัสจการนูสชําห่งั รบั เข็มช้ี ตาํ แหนงสมดลุปรบั สมดุล คานช่งั ก. เครื่องชัง่ แบบสามคาน ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

27จานช่งั ลกู นา้ํปมุ เปด -ปด จอแสดงผล ปุมปรับศูนย ข. เครื่องช่ังไฟฟา รปู 1.14 สวนประกอบของเคร่อื งชง่ั แบบสามคานและเครื่องชั่งไฟฟา ปจจุบันเครื่องชั่งไฟฟาไดรับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากสามารถใชงานไดสะดวกและหาซื้อไดงาย ตัวเลขทศนิยมตําแหนงสุดทายซึ่งเปนคาประมาณของเครื่องช่ังแบบสามคานมาจากการประมาณของผูชั่ง ขณะที่ทศนิยมตําแหนงสุดทายของเคร่ืองชั่งไฟฟา มาจากการประมาณของอปุ กรณ (ขั้นตอนการใชงานเครื่องชง่ั ไฟฟา สามารถดูไดทภ่ี าคผนวก)กิจกรรม 1.1 การทดลองวัดปริมาตรโดยใชอุปกรณชนิดตาง ๆ และการวัดมวลโดยใชเครอ่ื งช่งัจุดประสงคการทดลอง1. ฝกใชเ ครื่องชงั่ และเคร่อื งแกว วัดปริมาตรบางชนิด2. เปรยี บเทียบความแมนในการวดั ปรมิ าตรของกระบอกตวงและปเปตตวัสดุ อุปกรณ และสารเคมี 1. น้าํ 2. เทอรมอมิเตอร 3. บีกเกอรข นาด 100 มิลลิลิตร 4. บกี เกอรขนาด 250 มิลลิลติ ร 5. ปเปตตข นาด 25 มลิ ลิลิตร 6. กระบอกตวงขนาด 25 มิลลิลิตร ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

287. เครอ่ื งช่งัวิธีทดลอง1. เทนํ้ากลั่นปริมาตร 200 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอรขนาด 250 มิลลิลิตร วัดอุณหภูมิของนา้ํ บนั ทึกผล2. ชัง่ มวลของบีกเกอรข นาด 100 มลิ ลิลติ ร บนั ทกึ ผล3. หามวลของน้ํา 25 มลิ ลลิ ิตร 3 คร้งั ดังน้ีครง้ั ท่ี 1 ปเปตตนํ้า 25 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอรขนาด 100 มิลลิลิตร ช่ังมวลรวม ของน้าํ และบีกเกอร บันทึกผล และคํานวณมวลของนํ้า 25 มิลลิลิตร บันทึก ผลครง้ั ท่ี 2 ปเ ปตตนํ้า 25 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอรเดิม ชั่งมวลรวมของนํ้า 50 มิลลิลิตร และบกี เกอร บันทึกผล และคํานวณมวลของน้ํา 25 มิลลิลิตรท่ีเติมคร้ังท่ี 2 บันทึกผลคร้ังที่ 3 ปเปตตน้ํา 25 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอรเดิม ช่ังมวลรวมของนํ้า 75 มิลลิลิตร และบกี เกอร บันทึกผล และคํานวณมวลของน้ํา 25 มิลลิลิตรท่ีเติมคร้ังท่ี 3 บันทึกผล4. คาํ นวณคามวลเฉลย่ี ของนํ้าท่ีไดจากการปเ ปตต 3 ครง้ั บันทึกผล5. นําคามวลเฉลี่ยของนํ้าในขอ 4 มาคํานวณปริมาตรของนํ้าดวยสูตร D = m vเมอ่ื D เปน ความหนาแนน ของน้าํ (g/mL) m เปนมวลของน้ํา (g) และ v เปนปริมาตรของนํา้ (mL)6. ทาํ การทดลองซ้าํ ในขอ 1–5 โดยเปลีย่ นปเปตตเ ปนกระบอกตวงขนาด 25 มลิ ลลิ ิตร7. นําคาปริมาตรของน้ําที่คํานวณไดจากการใชปเปตตและกระบอกตวง มาเปรียบเทียบความแมน ของการวดั จากการใชอ ปุ กรณตางชนิดกนั 1.3.3 เลขนัยสาํ คัญ คาที่ไดจากการวัดดว ยอปุ กรณการวัดตาง ๆ ประกอบดวย ตัวเลข และหนวย โดยคาตัวเลขที่วัดไดจากอุปกรณแตละชนิดอาจมีความละเอียดไมเทากัน ซึ่งการบันทึกและ ตนราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

29รายงานคาการอานตองแสดงจํานวนหลักของตัวเลขท่ีสอดคลองกับความละเอียดของอุปกรณ จากรูป 1.15 อุณหภูมทิ ี่อานไดจ ากเทอรมอมิเตอรท ง้ั สอง มคี าเทาใด รูป 1.15 การวดั อณุ หภมู นิ า้ํ จากรูป 1.15 อุณหภูมิจากเทอรมอมิเตอรแบบดิจิทัลอานไดเทากับ 26.22 องศาเซลเซยี ส ขณะทอี่ ณุ หภมู ิจากเทอรมอมเิ ตอรตาํ แหนงของเหลวอยูท่ีขีดบอกอุณหภูมิ 26 ซึ่งการบนั ทึกและรายงานคา ตองมกี ารประมาณคา ในตําแหนงสุดทายดวยเพ่ือใหสอดคลองกับความละเอียดของอุปกรณ ดังน้ันอาจบันทึกอุณหภูมิท่ีไดเปน 26.0 องศาเซลเซียส โดยตวั เลขทุกตวั ถือวา มีความสําคัญ และจํานวนหลักของตัวเลขท้ังหมด เรียกวา เลขนัยสําคัญดังน้ันคาท่ีไดจากการวัดอุณหภูมิดวยเทอรมอมิเตอรแบบดิจิทัลและเทอรมอมิเตอรมีเลขนัยสําคัญ 4 และ 3 ตัว ตามลําดบัการนบั เลขนัยสําคัญของขอมูลมหี ลักการ ดงั น้ี 1. ตัวเลขทีไ่ มมีเลขศนู ยท ัง้ หมดนับเปนเลขนัยสาํ คัญ เชน 1.23 มเี ลขนยั สําคัญ 3 ตัว 2. เลขศนู ยท อ่ี ยรู ะหวางตัวเลขอืน่ นับเปน เลขนยั สําคญั เชน 6.02 มเี ลขนยั สาํ คญั 3 ตวั 72.05 มเี ลขนัยสําคญั 4 ตัว 3. เลขศนู ยที่อยูหนา ตวั เลขอ่นื ไมน ับเปน เลขนัยสาํ คญั เชน ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

30 0.25 มเี ลขนัยสาํ คญั 2 ตวั 0.025 มเี ลขนยั สําคญั 2 ตวั 4. เลขศูนยท ีอ่ ยหู ลังตัวเลขอืน่ ทีอ่ ยหู ลงั ทศนยิ ม นบั เปนเลขนัยสาํ คัญ เชน 0.250 มเี ลขนัยสาํ คัญ 3 ตัว 0.0250 มเี ลขนัยสาํ คัญ 3 ตัว 1 5. เลขศูนยท่ีอยูหลังเลขอื่นที่ไมมีทศนิยม อาจนับหรือไมนับเปนเลขนัยสําคัญก็ได 0 เชน 100 อาจมเี ลขนยั สําคัญเปน 1 2 หรือ 3 ตวั กไ็ ด เน่ืองจากเลขศูนยในบางกรณีอาจมีคาเปนศูนยจริง ๆ จากการวัด หรือเปนตัว เลขที่ใชแ สดงใหเห็นวาคา ดงั กลา วอยใู นหลกั รอย 6. ตวั เลขท่แี มนตรง (exact number) เปน ตวั เลขที่ทราบคาแนนอนมีเลขนัยสําคัญเปน อนันต เชน คา คงที่ เชน π = 3.142… มเี ลขนยั สําคญั เปน อนันต คาจากการนบั เชน ปเ ปตต 3 ครง้ั เลข 3 ถอื วา มเี ลขนัยสําคัญเปนอนันต คาจากการเทียบหนวย เชน 1 วัน มี 24 ช่ัวโมง ทั้งเลข 1 และ 24 ถือวามี เลขนัยสาํ คัญเปน อนนั ต 7. ขอมูลท่ีมีคานอย ๆ หรือมาก ๆ ใหเขียนในรูปของสัญกรณวิทยาศาสตร โดย ตัวเลขสัมประสทิ ธ์ิทุกตัวนบั เปน เลขนัยสาํ คัญ เชน 6.02 × 1023 มีเลขนัยสาํ คญั 3 ตวั 1.660 × 10-24 มเี ลขนัยสาํ คญั 4 ตวั คาตัวเลข 100 ในตัวอยางขอ 5 สามารถเขยี นในรปู ของสัญกรณวิทยาศาสตร แลว แสดงเลขนยั สาํ คญั ไดอยา งชัดเจน เชน ตวั 1 × 102 มเี ลขนยั สําคญั 1 ตัว 1.0 × 102 มเี ลขนยั สาํ คัญ 2 ตัว 1.00 × 102 มเี ลขนัยสําคญั 3 สญั กรณว ิทยาศาสตร (scientific notation)1 Cเเhลลaขขnจยg,ํากRนก. วาํ(ส2นล0ัญ1งัเต0ฐก)็มา.รนCบณhสวeวบิกmทิ หiยs(ร1tาrือy0ศลn(า1)บส0มtตhตีรeรนูปd รค)ทา.งอืNัว่ 3eไกปwสาเYสปรoวเนทrขk.:ยี Aสtนhงวe×ตนMวัส1เทิcล0Gธิ์ขnrหaใาwเนมม-เHร่อืผiปูยll1แ.ขพอ≤รง สAมั <ปร1ะ0สแิทลธะิ์ (An) คูณกับ เปน

31 การนําคาตัวเลขท่ไี ดจ ากการวัดมาคํานวณจะตอ งคาํ นึงถงึ เลขนัยสําคัญของผลลัพธโดยการคํานวณสวนใหญเก่ียวของกับตัวเลขท่ีไดจากอุปกรณท่ีแตกตางกันทั้งหนวยและความละเอยี ด ดงั นัน้ ตองมกี ารตดั ตวั เลขในผลลพั ธด วยการปด เศษ ดงั ตอไปน้ี การปดตัวเลข (rounding the number) พิจารณาจากตัวเลขท่ีอยูถัดจากตาํ แหนงทต่ี องการ ดงั นี้ 1. กรณที ต่ี ัวเลขถัดจากตําแหนงท่ีตองการมีคานอยกวา 5 ใหตัดตัวเลขท่ีอยูถัดไป ท้ังหมด เชน 5.7432 ถา ตอ งการเลขนัยสําคญั 2 ตัว ปดเปน 5.7 ถาตองการเลขนยั สําคัญ 3 ตัว ปด เปน 5.74 2. กรณีที่ตัวเลขถัดจากตําแหนงท่ีตองการมีคามากกวา 5 ใหเพิ่มคาของตัวเลข ตําแหนง สดุ ทา ยท่ตี อ งการอีก 1 เชน 3.7892 ถา ตอ งการเลขนยั สําคญั 2 ตัว ปดเปน 3.8 ถาตอ งการเลขนัยสาํ คัญ 3 ตัว ปด เปน 3.79 3. กรณที ี่ตัวเลขถดั จากตําแหนงท่ีตองการมีคาเทากับ 5 และมีตัวเลขอื่นที่ไมใช 0 ตอจากเลข 5 ใหเ พิม่ คา ของตวั เลขตาํ แหนงสุดทายทต่ี อ งการอีก 1 เชน 2.1652 ถา ตอ งการเลขนยั สําคญั 3 ตวั ปด เปน 2.17 *กรณีท่ีตัวเลขถัดจากตําแหนงที่ตองการมีคาเทากับ 5 และมี 0 ตอจากเลข 5 ใหพ ิจารณาโดยใชห ลักการในขอ 4 4. กรณีที่ตัวเลขถัดจากตําแหนงที่ตองการมีคาเทากับ 5 และไมมีเลขอ่ืนตอจาก เลข 5 ตองพิจารณาตวั เลขที่อยูหนา เลข 5 ดังน้ี 4.1 หากตัวเลขท่ีอยูหนาเลข 5 เปนเลขคี่ ใหตัวเลขดังกลาวบวกคาเพ่ิมอีก 1 แลวตัดตวั เลขต้งั แตเ ลข 5 ไปทั้งหมด เชน 0.635 ถาตองการเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ปดเปน 0.64 4.2 หากตัวเลขท่ีอยูหนาเลข 5 เปนเลขคู ใหตัวเลขดังกลาวเปนตัวเลขเดิม แลวตดั ตัวเลขต้งั แตเลข 5 ไปทั้งหมด เชน ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

32 0.645 ถา ตองการเลขนยั สาํ คญั 2 ตวั ปดเปน 0.64 สําหรับการคํานวณหลายข้ันตอน การปดตัวเลขของผลลัพธใหทําในข้ันตอนสดุ ทา ยของการคาํ นวณ การบวกและการลบ ในการบวกและลบ ผลลัพธที่ไดจะมีจํานวนตัวเลขที่อยูหลังจุดทศนิยมเทากับขอมลู ท่มี จี าํ นวนตวั เลขท่ีอยหู ลังจดุ ทศนยิ มนอยท่ีสดุ ดังตัวอยางตัวอยา ง 1 1.2 + 3.45 + 6.789วธิ ีทาํ 1.2 + 3.45 + 6.789 = 11.439 ผลลัพธที่ไดตองปดเปน 11.4 ซึ่งมีตัวเลขหลังจุดทศนิยม 1 ตําแหนง ตามจํานวนทีม่ เี ลขหลงั จุดทศนิยมนอยทสี่ ดุ คือ 1.2ตัวอยา ง 2 31.5 – 12.35 + 27.27วิธที ํา 31.5 – 12.35 + 27.27 = 46.42 ผลลพั ธท่ีไดต อ งปด เปน 46.4 ซง่ึ มีตวั เลขหลงั จุดทศนิยม 1 ตําแหนง ตามจํานวนทม่ี เี ลขหลงั จุดทศนิยมนอ ยทส่ี ดุ คอื 31.5 ตรวจสอบความเขาใจ ชั่งมวลของสารได 76.98 และ 34.9 กรัม ตามลําดับ ผลรวมของมวลสารเปน เทา ใด ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

33 การคณู และการหาร ในการคูณและการหาร ผลลัพธท่ีไดจะมีจํานวนเลขนัยสําคัญเทากับขอมูลท่ีมีเลขนยั สาํ คัญนอ ยทส่ี ุด ดงั ตวั อยา งตวั อยาง 3 2.279 × 6.51วธิ ที ํา 2.279 × 6.51 = 14.83629 ผลลัพธที่ไดตองปดเปน 14.8 ซึ่งมีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว ตามจํานวนท่ีมีเลขนัยสาํ คญั นอยทีส่ ุด คอื 6.51ตัวอยา ง 4 7.44 × 4.3 ÷ 2.48วิธที าํ 7.44 × 4.3 ÷ 2.48 = 12.9 ผลลัพธท่ีไดตองปดเปน 13 ซึ่งมีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ตามจํานวนท่ีมีเลขนัยสาํ คัญนอยท่สี ุด คอื 4.3 ตรวจสอบความเขาใจ ปรอทปริมาตร 20.00 มิลลิลิตร จะมีมวลเทาใด เมื่อปรอทมีความหนาแนน เทากบั 1.36 กรมั ตอ มิลลลิ ิตร ตนราง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

34 การคํานวณที่เก่ยี วของกับตัวเลขทแ่ี มน ตรง การคํานวณไมตองพิจารณาเลขนยั สําคญั ของตวั เลขที่แมนตรงตัวอยาง 5 ชั่งนํ้าปริมาตร 10.0 มิลลิลิตร 3 ครั้ง ท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ไดมวล เปน 10.01 9.98 และ 10.02 กรมั มวลเฉล่ยี ของนํา้ เปน เทาใดวิธที าํ 10.01 + 9.98 + 10.02 3มวลเฉลยี่ ของนาํ้ = = 10.0033 ในขั้นแรกเปนการหาผลรวม ผลลัพธท่ีไดจะมีตัวเลขหลังจุดทศนิยม 2 ตําแหนงทําใหมีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว เม่ือหารดวย 3 ซึ่งเปนตัวเลขที่แมนตรงท่ีไมนํามาพิจารณาเลขนัยสําคัญ ดังนั้นผลลัพธที่ไดจากการหารตองปดเศษเปน 10.00 กรัม ซ่ึงมีเลขนัยสําคัญ 4ตัว ดงั นั้น มวลเฉลยี่ ของน้ํา เทากับ 10.00 กรมั ตรวจสอบความเขาใจ ใหนกั เรียนพิจารณาขอ มูลท่ไี ดจากกจิ กรรม 1.1 แลวตอบคําถามตอไปน้ี 1. ปริมาตรของนํ้าจากการปเปตตและการใชกระบอกตวง ควรบันทึกดวยเลข นัยสําคัญก่ีตวั 2. มวลของนํา้ ทช่ี ่งั ดว ยเครือ่ งช่ัง ควรบนั ทกึ ดวยเลขนยั สาํ คญั กตี่ วั 3. ความหนาแนน ของนํา้ ท่ีคํานวณได ควรบันทกึ ดวยเลขนยั สาํ คัญกตี่ วั 4. การบันทึกผลและการคํานวณของนักเรียนสอดคลองกับหลักการเก่ียวกับเลข ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

35 แบบฝก หัด 1.31. อา นปรมิ าตรของของเหลว จากรูปตอไปนี้2. อานคาปริมาตรของของเหลวในบิวเรตตท่ีมีปริมาตรเทากันในมุมมองที่แตกตางกันได เทา ใด และคาท่ีอา นไดใ นแตล ะขอ ถูกตองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด กขค3. วิธีการในแตละขอตอไปน้ี สามารถวัดปริมาตรนํ้าท่ีตองการไดแมนหรือไม เพราะเหตุ ใด ก. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 100 มิลลิลิตร ครั้งละ 100.00 มิลลิลิตร 2 ครั้ง และ 50.00 มลิ ลลิ ิตร 1 คร้งั จะไดน ้าํ ปริมาตร 250.00 มิลลลิ ิตร ข. ไขนํ้าจากบิวเรตตท่ีบรรจุน้ําเริ่มตนที่ขีดบอกปริมาตรเลข 0 มาถึงขีดบอกปริมาตร เลข 20 จะไดน ํ้าปริมาตร 20.00 มลิ ลิลติ ร ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

36ค. เติมนํ้าลงในขวดกําหนดปริมาตรขนาด 100 มิลลิลิตรปรับใหพอดีกับขีดบอก ปรมิ าตร เมอื่ เทนํา้ ออกใสบ กี เกอรจะไดน้ําปรมิ าตร 100.00 มลิ ลลิ ิตรพอดี ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

371.4 หนวยวัด การระบุหนวยของการวัดปริมาณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไมวาจะเปนความยาวมวล อุณหภูมิ อาจแตกตางกันในแตละประเทศ เชน การระบุนํ้าหนักเปนกิโลกรัม ปอนดหรือ การระบุสวนสูงเปนเซนติเมตร ฟุต ซ่ึงทําใหไมสะดวกในการเปรียบเทียบหรือสื่อสารใหเขาใจตรงกัน และในบางกรณีอาจนําไปสูความเขาใจผิดที่ทําใหเกิดความเสียหายไดดังน้ันเพื่อใหการส่ือสารขอมูลจากการวัดเปนที่เขาใจตรงกัน จึงมีการตกลงรวมกันใหมีหนว ยมาตรฐานสากลขึ้น 1.4.1 หนว ยในระบบเอสไอ ในป พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ท่ีประชุม SI units เปนคาํ ยอจากภาษานานาชาติวาดวยการช่ังและการวัด (The General ฝร่งั เศสคําวา Systèmeconference on Weights and Measures) ไดตกลง international d'unitésใหมีหนวยวัดสากลข้ึน เรียกวา ระบบหนวยวัดระหวางประเทศหรือเรียกยอ ๆ วา หนวยเอสไอ (SI Units) ซึ่งเปนหนวยที่ดัดแปลงจากหนวยในระบบเมทริกซ โดยหนวยเอสไอแบงเปนหนวยพ้ืนฐาน (SI base units) มี 7หนวย แสดงดังตาราง 1.1 ซึ่งเปนหนวยท่ีไมขึ้นตอกัน และสามารถนําไปใชในการกําหนดหนวยอื่น ๆ ได และหนวยอนุพันธ (Derived SI units) ซ่ึงเปนหนวยอ่ืน ๆ ท่ีมีความสมั พันธกนั ทางคณิตศาสตรของหนว ยเอสไอพ้นื ฐาน ตวั อยา งแสดงดงั ตาราง 1.2ตาราง 1.1 หนวยเอสไอพ้นื ฐาน ปรมิ าณ ช่อื หนวย สญั ลักษณข องหนว ย kgมวล กิโลกรมั (kilogram) m sความยาว เมตร (metre) K molเวลา วินาที (second) Aอุณหภูมิ เคลวิน (Kelvin)ปริมาณของสาร โมล (mole)กระแสไฟฟา แอมแปร (ampere) ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

ความเขม แหง การสองสวาง แคนเดลลา (candela) 38 Cdตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธ์ิ หา มเผยแพร

39ตาราง 1.2 ตัวอยางหนวยเอสไออนพุ นั ธปริมาณ ชอื่ หนวย สญั ลกั ษณข องหนวย m3ปรมิ าตร ลกู บาศกเมตร (cubic metre) mol/m3ความเขมขน โมลตอ ลูกบาศกเมตร kg/m3 (mol per cubic metre)ความหนาแนน กิโลกรมั ตอ ลูกบาศกเมตร (kilogram per cubic metre) หนวยนอกระบบเอสไอ นอกจากหนวยในระบบเอสไอแลว ในทางเคมียังมีหนวยอ่นื ทไ่ี ดรับการยอมรับและมกี ารใชก นั อยา งแพรหลาย ตวั อยา งดังตาราง 1.3ตาราง 1.3 ตัวอยา งหนวยนอกระบบเอสไอท่ใี ชในทางเคมีปริมาณ ชอ่ื หนวย สญั ลักษณ คาท่ีเทยี บกบั ของหนวย หนว ยเอสไอพ้ืนฐานปรมิ าตร ลติ ร (litre) L หรือ lมวล กรัม (gram) 1 L = 10-3 m3 ดอลตนั (dalton) g 1 g = 10-3 kg 1 Da = 1.66 × 10-27 kg Daความดนั หนว ยมวลอะตอม u 1 u = 1 Da (unified atomic bar 1 bar = 105 Pa mass unit) บาร (bar) มลิ ลิเมตรปรอท mmHg 1 mmHg = 133.32 Pa (millimeter of mercury) atm 1 atm = 1.013 × 105 Pa (1 atm ∼ 1 bar) บรรยากาศ (atmospheric pressure) ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

40ความยาว อังสตรอม (ångström) Å 1 Å = 10-10 mพลังงาน แคลอรี (calorie) cal 1 cal = 4.2 Jอณุ หภมู ิ องศาเซลเซยี ส °C °C = K - 273 (degree celsius)ตรวจสอบความเขา ใจ1. ลวดแมกนีเซียมหนา 0.1 มิลลิเมตร สามารถเขียนแสดงความหนาใหอยูในรูป สัญกรณวทิ ยาศาสตรใ นหนวยเอสไอไดเปนเทาใด2. ปริมาตรน้ําท่ีไดจากปเปตต 10.00 ลูกบาศกเซนติเมตร สามารถเขียนแสดง ปรมิ าตรใหอ ยใ นรปสญั กรณวิทยาศาสตรใ นหนว ยเอสไอไดเปน เทาใด ในทางวิทยาศาสตรการคํานวณเก่ียวกับปริมาณตาง ๆ อาจจําเปนตองมีการเปลี่ยนหนว ยใหอ ยใู นหนว ยทเ่ี หมาะสมโดยไมท ําใหค า ของปริมาณเปลย่ี นแปลง เชน ในทางเคมีนิยมระบุพลังงานในหนวยแคลอรี ในขณะท่ีหนวยเอสไอของพลังงานคือจูล ดังน้ันนักเคมีจึงจําเปนตองเปลี่ยนหนวยพลังงานระหวางแคลอรีและจูลเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงาน การเปล่ียนหนวยทําไดหลายวิธี ในท่ีน้ีจะใชวิธีการเทียบหนวย ซ่ึงตองใชแฟกเตอรเปลย่ี นหนวย1.4.2 แฟกเตอรเปล่ยี นหนวยแฟกเตอรเปลี่ยนหนวย (conversion factors) เปนอัตราสวนระหวางหนวยที่แตกตางกนั 2 หนว ย ทีม่ ีปริมาณเทากนั ตวั อยางการหาแฟกเตอรเ ปลี่ยนหนว ยเปน ดังนี้จากความสมั พันธพลงั งาน 1 cal = 4.2 Jเมือ่ ใช 1 cal หารทง้ั สองขางจะไดเปน 1 cal = 4.2 J 1 cal 1 cal 4.2 J 1 = 1 calหรือถา ใช 4.2 J หารทง้ั สองขางจะไดเปน ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

41 1 cal = 4.2 J 4.2 J 4.2 J 1 cal 4.2 J = 1 ดงั นัน้ แฟกเตอรเ ปลย่ี นหนว ยเขยี นไดเ ปน 1 cal หรอื 4.2 J 4.2 J 1 cal ในทางคณิตศาสตรเ มื่อคูณปริมาณดว ย “1” จะทาํ ใหค าของปริมาณเดิมไมเปล่ยี นแปลง และแฟกเตอรเปล่ยี นหนวย 1 cal และ 4.2 J ก็มีคาเทา กับ 1 ดงั น้นั จึง 4.2 J 1 calสามารถนาํ แตละแฟกเตอรเปล่ียนหนว ยไปใชใ นการเปล่ียนหนวยของปรมิ าณท่วี ดั จากหนว ยหนงึ่ ไปเปนหนว ยอื่นโดยปริมาณไมเปลยี่ นแปลง สาํ หรบั ตวั อยางแฟกเตอรเ ปล่ยี นหนวยนใี้ ชเ ปลย่ี นหนว ยจูลใหเ ปน แคลอรี หรอื แคลอรีใหเปน จูล ตามลาํ ดบั เชน พลงั งาน20 cal สามารถเปลี่ยนเปนหนว ยจลู ไดดงั น้ี พลงั งาน = 20 cal × 4.2 J = 1 cal 84 J วิธกี ารเทียบหนวย (factor label method) ทําไดโดยการคณู ปริมาณในหนวยเร่ิมตนดว ยแฟกเตอรเ ปลยี่ นหนวยท่มี ีหนวยทีต่ อ งการอยูดานบน ตามสมการปริมาณและหนวยทต่ี อ งการ = ปริมาณและหนวยเริ่มตน × หนว ยท่ตี องการ หนว ยเร่มิ ตนตัวอยาง 6 สารละลายกรดไฮโดรคลอริกมวล 20 กรัม ความหนาแนน 1.18 กรัมตอ ลูกบาศกเ ซนติเมตร มปี รมิ าตรเทา ใดวิธีทาํ ปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริก = 20 g solution × 1 cm3 solution 1.18 g solution ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

42 = 16.95 cm3 คําตอบตองมีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ดังน้ัน สารละลายกรดไฮโดรคลอริกมีปริมาตร17 ลูกบาศกเซนตเิ มตร ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

43แบบฝกหดั 1.41. จงแสดงวธิ ีการเปลีย่ นหนวยไปเปน หนว ยใหมท ต่ี องการในแตละขอตอ ไปนี้ขอที่ ปรมิ าณและหนวยเรมิ่ ตน หนว ยใหมท่ีตอ งการ1.1 59.2 cm dm1.2 1.8 kg mg1.3 2,800 mL dm31.4 3.2 g/mL kg/dm32. น้ําบริสุทธ์ิปริมาตร 50.0 ลูกบาศกเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 20.5 องศาเซลเซียสมีมวล เทาใด เม่ือความหนาแนนของน้ําที่อุณหภูมิ 20.5 องศาเซลเซียส เทากับ 0.998099 กรมั ตอลูกบาศกเ ซนตเิ มตร3. สารละลายกรดซัลฟวริกเขมขนรอยละ 25 โดยมวล มีความหนาแนน 1.2 กรัมตอ ลูกบาศกเซนติเมตร ถาสารละลายกรดซัลฟวริก 200 ลูกบาศกเซนติเมตร จะมีกรด ซัลฟวริกก่ีกรมั4. ถา ทองเหลือง 10 กรัม ตองใชทองแดง 7.5 กรัม มีตนทุนราคาของทองแดงกิโลกรัม ละ 200 บาท หากตอ งการทองเหลือง 300 กรัม ตองซื้อทองแดงกบี่ าทตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

441.5 วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร การทําปฏิบัติการเคมีนอกจากตองมีการวางแผนการทดลอง การทดลอง การบันทกึ ขอ มูล การสรปุ และวเิ คราะหข อ มูล การนําเสนอขอมลู และการเขยี นรายงานการ ท้ังน้ีในการศึกษาหาความรูทางวิทยาศาสตรน้ันไมมีรูปแบบที่ตายตัว โดยอาจมีรายละเอียดที่แตกตา งกันขน้ึ อยูกบั คาํ ถาม บริบท หรอื วธิ ีการทใี่ ชใ นการสํารวจตรวจสอบ การเรียนการสอนวิทยาศาสตรของนักเรียนในระดับชั้นตาง ๆ ที่ผานมานั้นมีการทดลอง และกิจกรรม ท่ีสงเสริมใหไดใชวิธีการทางวิทยาศาสตรศึกษาหาความรู นักเรียนลองพจิ ารณาสถานการณตอ ไปนีว้ าเกยี่ วขอ งกบั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรอยางไร ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

45ตรวจสอบความเขาใจ นักเรียนคนหน่ึงดื่มน้ําอัดลมแลวพบวาน้ําอัดลมที่แชเย็นมีความซามากกวานํ้าอดั ลมทไี่ มแ ชเยน็ จงึ เกิดความสงสยั วาเพราะเหตุใดจงึ เปน เชน น้ัน จากการที่นกั เรยี นสังเกตวา เม่ือดม่ื นาํ้ อัดลมทแ่ี ชเยน็ แลวรูสกึ วามีความซามากกวาน้ําอัดลมท่ีไมแชเย็น นักเรียนคิดวาความเขมขนของกรดคารบอนิกท่ีอยูในน้ําอัดลมเปนสาเหตุใหนํ้าอัดลมมีความซา จึงตั้งสมมติฐานวา น้ําอัดลมท่ีแชเย็นจะมีความเขมขนของกรดคารบอนิกมากกวาน้ําอัดลมท่ีไมแชเย็น จึงวางแผนการทดลองโดยการวัดคา pH ของนํ้าอัดลมที่เพิ่งเปดขวดท้ังท่ีแชเย็นและไมแชเย็น เม่ือนักเรียนทําการทดลองตามแผนการทดลองที่วางไว พบวา น้ําอัดลมที่แชเย็นมีคา pH เทากับ 2 และน้ําอัดลมที่อุณหภูมิหองมีคา pH เทากับ 3 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว นักเรียนจึงสรุปผลการทดลองวานํ้าอดั ลมทีแ่ ชเ ย็นมีความเขม ขน ของกรดคารบอนิกมากกวาจึงมีความซามากกวานํ้าอัดลมท่ีไมแชเ ยน็ จากตัวอยา งสถานการณขางตน จงตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. การออกแบบการทดลองสอดคลองกบั สมมตฐิ านที่ตง้ั ไวห รือไม อยางไร 2. การสรุปผลการทดลองสอดคลองกับขอเท็จจริงท่ีไดจากการตรวจสอบ สมมตฐิ านหรือไม อยางไร 3. สมมติฐานท่ีตั้งไวสอดคลองกับสิ่งที่สังเกตไดวานํ้าอัดลมท่ีแชเย็นมีความซา มากกวานาํ้ อัดลมทไี่ มแชเยน็ หรือไม อยางไร 4. ถานกั เรียนตองการออกแบบการทดลองเพื่อตอบคําถามวา เพราะเหตุใดเมื่อ ดื่มนํ้าอัดลมท่ีแชเย็นจึงรูสึกวามีความซามากกวาน้ําอัดลมท่ีไมแชเย็น นกั เรียนคิดวา ควรมขี อ มูลใดเพ่มิ เตมิ บาง นอกจากวิธีการทางวิทยาศาสตรแลว กาเรขียนรายงานการทดลองเปนส่ิงสําคัญเชนกัน เพราะนอกจากจะชวยใหผูทําการทดลองมีขอมูลไวอางอิงแลว รายงานยังเปนเครื่องมือส่ือสารท่ีผูอื่นสามารถนําไปศึกษาและปฏิบัติตามได โดยหัวขอที่ควรมีในรายงานการทดลองมีดังนี้ 1. ช่ือการทดลอง ตน ราง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร

46 2. จดุ ประสงค 3. สมมตฐิ านและการกําหนดตัวแปร 4. อปุ กรณและสารเคมี 5. วธิ กี ารทดลอง 6. ผลการทดลอง 7. อภปิ รายและสรปุ ผลการทดลอง นกั เรยี นสามารถฝกการออกแบบการทดลองและเขียนรายงานการทดลอง ไดจากกิจกรรมตอไปน้ีกจิ กรรม 1.2 การออกแบบและทดลองเปรียบเทียบความแมนในการวัดปริมาตรนํ้าดวยกระบอกตวงท่มี ขี นาดตางกนัจดุ ประสงคการทดลอง1. ออกแบบและทดลองเปรียบเทียบความแมนในการวัดปริมาตรน้ําดวยกระบอกตวงท่ีมี ขนาดตา งกัน2. นําเสนอการออกแบบการทดลองและเขียนรายงานการทดลองวธิ ีทดลอง1. ออกแบบและนําเสนอการออกแบบการทดลองเปรียบเทียบความแมนในการวัด ปรมิ าตรน้ําดว ยกระบอกตวงทีม่ ีขนาดตางกนั2. ทําการทดลองเพ่ือเปรียบเทียบความแมนในการวัดปริมาตรน้ําดวยกระบอกตวงท่ีมี ขนาดตา งกนั3. เขียนรายงานการทดลอง การศึกษาความรูทางวิทยาศาสตรตองอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร(scientific process skill) และจิตวิทยาศาสตร (scientific mind) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

47 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร เปน ความสามารถและความชาํ นาญในการคิดเพ่ือคนหาความรูและแกไขปญหา โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรประกอบดวย14 ทกั ษะ คือ การสงั เกต การวดั การจําแนกประเภท การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคํานวณ การจัดกระทําและส่ือความหมายขอมูล การลงความเห็นจากขอมูล การพยากรณ การตั้งสมมติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการการกําหนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป และการสรางแบบจาํ ลอง จิตวิทยาศาสตรเปนความรูสึกนึกคิด พฤติกรรมหรือลักษณะนิสัยที่เปนผลมาจากประสบการณและการเรียนรู ซ่ึงมีอิทธิพลตอความคิด การตัดสินใจ หรือพฤติกรรมของบุคคลตอความรูหรือสิ่งที่มีความเกี่ยวของกับวิทยาศาสตร เชน ความอยากรูอยากเห็นความมีเหตุผล ความใจกวาง ความซื่อสัตย ความพยายามมุงม่ัน ความรอบคอบ ความรบั ผิดชอบ ความรวมมือชว ยเหลอื ความสรา งสรรค และเจตคติทด่ี ีตอ วิทยาศาสตร การนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร เห็นคุณคาของการเรียนวิทยาศาสตรยอมจะทําใหมีความฝกใฝในการเรียนรูวิทยาศาสตรและมีการนําความรูไปใชประโยชนอยา งถูกตองเหมาะสม ตรวจสอบความเขาใจ จากการทํากิจกรรมออกแบบและทดลองเปรียบเทียบความ แมนในการวัดปริมาตรน้ําดวยกระบอกตวงที่มีขนาดตางกัน นักเรียนไดใชทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรใดบา ง การศึกษาความรูทางวิทยาศาสตรน้ัน นอกจากการเรียนรูอยางเปนระบบตามวิธีการทางวทิ ยาศาสตร โดยอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรแลวนน้ั ผเู รียนยังตอ งคํานึงจรยิ ธรรมซง่ึ เกีย่ วของกับความถูกตองในการศึกษาวิทยาศาสตรทมี่ ีตอตนเอง ผูอื่น และส่ิงแวดลอม ตัวอยางจริยธรรมทางวิทยาศาสตร เชน ความซ่ือสัตยในการรายงานขอ มลู ทางวทิ ยาศาสตร การวิเคราะหและแปลความหมายขอมูลอยางอิสระบนพื้นฐานของขอมูลที่มีอยูโดยไมใหขอมูลจากแหลงภายนอกมีอิทธิพลตอการวิเคราะห ตน รา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

48และการตีความ การอางอิงแหลงของขอมูลตาง ๆ อยางเหมาะสม ความรับผิดชอบตอสังคมหรอื สภาพแวดลอ ม ความรูและทักษะปฏิบัติการตาง ๆ ที่ไดศึกษาในบทเรียนน้ีเปนพ้ืนฐานสําคัญในการเรียนรวู ชิ าเคมบี ทอนื่ ๆ ตอไป ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธ์ิ หา มเผยแพร

49สรปุ เนอ้ื หาภายในบทเรยี น การทดลองถือเปนหัวใจของการศึกษาคนควาทางเคมีที่สามารถนําไปสูการคนพบและความรใู หมทางเคมี นอกจากนี้ยังสามารถชว ยถายทอดความรูแกนักเรียนใหเกิดความรูและความเขาใจในบทเรียนไดดีย่ิงขึ้น การทดลองทางเคมีสําหรับนักเรียนนิยมทําในหองปฏิบัติการและมีความเก่ียวของกับสารเคมี อุปกรณและเคร่ืองมือตาง ๆ ผูทําปฏิบัติการจึงตองทราบเก่ียวกับประเภทของสารเคมีท่ีใช วิธีปฏิบัติการทดลอง ขอควรปฏบิ ตั ิในการทําปฏิบัติการเคมี และการกําจัดสารเคมีเพ่ือใหสามารถทําปฏิบัติการไดอยางปลอดภัย รวมถึงมีความรูและสามารถปฐมพยาบาลเบ้ืองตนเพ่ือลดความรุนแรงและความเสยี หายทเ่ี กิดขึน้ ได ในการทําปฏิบัติการเคมีความนาเช่ือถือของขอมูลพิจารณาไดจากความเท่ียงและความแมน ซ่ึงสําหรับการวัดนั้นความนาเชื่อถือขึ้นกับทักษะของผูทําปฏิบัติการและความละเอียดของเครือ่ งมอื และอุปกรณท ่ีใช การบอกปริมาณของสารอาจระบุอยูในหนวยตาง ๆดังนั้นเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกันจึงมีการกําหนดหนวยในระบบเอสไอใหเปนหนวยสากลโดยการเปลย่ี นหนวยเพื่อใหเปนหนว ยสากลสามารถทาํ ไดดว ยการใชแฟกเตอรเปล่ียนหนวย การทําปฏบิ ตั กิ ารเคมีตอ งมกี ารวางแผนการทดลอง การทําการทดลอง การบันทึกขอมูล สรุปและวิเคราะห นําเสนอขอมูล และการเขียนรายงานการทดลองท่ีถูกตอง โดยการทําปฏิบัติการเคมีตองคํานึงถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จิตวิทยาศาสตรและจริยธรรมทางวิทยาศาสตร ตน ราง 3 สสวท. สงวนสิทธิ์ หา มเผยแพร

50 แบบฝกหดั ทายบท1. แปลความหมายของสญั ลกั ษณแสดงความเปนอันตรายในระบบ GHS ตอไปนี้ และถา นกั เรยี นตอ งใชส ารเคมเี หลาน้ีในการทําปฏิบตั กิ ารจะตองใชอุปกรณปองกันเพิ่มเติมใด นอกจากเสื้อคลุมปฏบิ ตั ิการ สญั ลกั ษณ การแปลความหมายของสัญลกั ษณ อปุ กรณป องกัน1.1 เพ่มิ เตมิ1.21.31.41.51.6 ตนรา ง 3 สสวท. สงวนสทิ ธิ์ หา มเผยแพร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook