Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore น.ส. ศศิกานต์ วงษืชมภู

น.ส. ศศิกานต์ วงษืชมภู

Published by black Nightmare, 2023-04-17 07:30:25

Description: New-Microsoft-PowerPoint-Presentation-2

Search

Read the Text Version

เสนอ อาจารยว์ ริ ุพหั ์ ทา่ ทอง บทที่ 3การจดั เกบ็ จดั ทาโดย สินคา้ และการขนส่ง น.ส. ศศกิ านต์ วงษืชมภู เลขท่ี 34 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีปัญญาภวิ ฒั น์

1การจดั เกบ็ สินคา้ และองคป์ ระกอบของสินคา้ การจัดเกบ็ สนิ คา้ คงคลงั ประโยชน์และขนั้ ตอน ฉบับเขา้ ใจง่าย การจะทาธรุ กิจท้งั ทคี งไม่ใชค่ ดิ แคเ่ ร่ืองว่าจะได้กาไรหรือขาดทนุ แตย่ ังมีอีกหลายๆ องคป์ ระกอบทีจ่ ะทาใหก้ ิจการของ คณุ เดินหนา้ และเตบิ โต ซึ่งหนึง่ เรอื่ งท่ีขาดไม่ได้คงจะเปน็ เร่ืองการจดั เก็บสินค้าคงคลัง แตห่ ลายคนคงยงั สงสัยวา่ สินคา้ คงคลังคืออะไร แลว้ จะมาชว่ ยใหธ้ ุรกจิ เดินหนา้ ได้อยา่ งไร วันน้ีเราลองไปหาคาตอบกนั เลย สนิ คา้ คงคลงั คืออะไร ทาไมคุณถึงมคี วามสาคญั ? สนิ ค้าคงคลงั หมายถงึ สนิ คา้ หรือวัสดตุ า่ งๆ ทีเ่ ก็บไว้รอการกระจาย ซึง่ อาจจะเกบ็ ไว้เพ่ื อใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินงาน การผลิตหรอื การขายสู่ท้องตลาด ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. วตั ถุดิบ คอื สนิ คา้ หรอื สว่ นประกอบตา่ งๆ ที่รอการกระจายออกจาหน่ายวัสดุซอ่ มบารุง คือชิน้ ส่วนสินค้าหรืออะไหล่ ท่ีสารองไว้เผอื่ เปล่ยี นเมื่อชิ้นสว่ นชารดุ หรือหมดอายกุ ารใช้งาน 2.สนิ คา้ สาเรจ็ รปู คอื สินค้าทีป่ ระกอบเสรจ็ สมบูรณร์ อการจาหนา่ ยแก่ลูกคา้ ความสาคญั ของการมสี นิ คา้ คงคลงั การมีสินคา้ คงคลังไวใ้ นมอื เปน็ การสร้างความอุ่นใจวา่ สินคา้ จะมพี ร้อมจาหน่ายใหแ้ กล่ กู ค้าอยา่ งแน่นอน ซง่ึ จะทาใหค้ ณุ สามารถวางแผนทางการตลาดไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพิ่มช่องทางการจดั เก็บสนิ ค้าได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถขยาย ตลาดสง่ สนิ ค้าใหถ้ งึ มอื ลกู ค้าอย่างรวดเรว็ และสามารถเช็กสนิ คา้ ได้อย่างแม่นยาวา่ มสี นิ คา้ ตัวไหนขาด หรือต้องการ สนิ คา้ ตัวไหนเพ่ิม ทาให้คณุ ไดด้ าเนนิ ธรุ กิจอย่างคล่องตัว อีกทัง้ ยังชว่ ยให้คุณไดร้ ับร้ดู ้วยวา่ สินค้าตัวไหนเปน็ สินคา้ ท่ไี ด้ ความนยิ มโดยใชป้ ริมาณจากการจดั ซ้อื และความต้องการในการจดั ส่งใหแ้ ก่ลูกค้าเปน็ เกณฑต์ ดั สิน

การจัดการสินค้าคงคลงั

2คลงั สินคา้ คลังสินค้า (Warehouse) คอื สถานทที่ ใ่ี ช้สาหรับการวาง เกบ็ หรือพกั สินคา้ เพอ่ื รอการกระจายหรือการขนส่ง ในบางครั้ง อาจมกี ารใช้คาเรียกอนื่ ๆ เช่น โกดงั โรงเกบ็ สินคา้ ศูนยก์ ระจายสนิ ค้า เป็ นตน้ โดยท่วั ไปแล้ว มักถูกใช้โดยผู้ผลติ ผู้นาเข้า ผู้ส่งออก ผู้ค้าส่ง รวมไปถงึ ผู้ทเ่ี กยี่ วข้องกบั ธุรกจิ ขนส่งหรือโลจิ สตกิ ส์ ซง่ึ คลังสนิ ค้านีม้ ักจะมกี ารออกแบบเฉพาะ กล่าวคอื เป็ นอาคารชัน้ เดยี ว มพี นื้ ทโี่ ล่งกว้าง ในบางแหง่ อาจมรี ะบบควบคุมอุณหภมู ิ ระบบป้องกันนา้ ทว่ ม หรือระบบอน่ื ๆ เพอื่ ใหส้ ามารถ จัดเกบ็ สนิ ค้าโดยไม่ใหส้ นิ คา้ เสอ่ื มสภาพหรือเสยี หาย คลังสินค้าส่วนใหญ่ยงั มที างลาดเอยี ง สาหรับลาเลยี งและขนถา่ ยสนิ คา้ ขนึ้ หรือลงรถ และมักตงั้ อยใู่ กล้กับเขตอุตสาหกรรมหรือนิคม อุตสาหกรรมในเขตชานเมอื งและนอกเมอื ง สถานีรถไฟ สนามบนิ หรือทา่ เรือ ทงั้ นี้ สนิ ค้าทน่ี ิยม จัดเกบ็ ในคลังสนิ ค้าอาจเป็ นสนิ ค้าชนิดใดกไ็ ด้ อาทิ ชนิ้ ส่วนอะไหล่ ชิน้ ส่วนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วัตถุดบิ บรรจุภณั ฑ์ สนิ ค้าสาเร็จรูปตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วกับเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยก รรม โดยจะมรี ะบบการบริหารจดั การสนิ ค้าคงคลังเพอื่ ระบุชนิดของสนิ ค้า จานวนคงเหลอื และ จาแนกหมวดหมู่อย่างชัดเจน

รูปแบบการเก็บคลงั สินคา้

3. ระบบการจดั การคลงั สินคา้ ระบบการจดั การคลังสนิ ค้า และ มีประโยชนอ์ ย่างไร? ระบบการจดั การคลงั สนิ คา้ คอื ระบบซอฟตแ์ วรท์ ่ีช่วยเพ่ิมความสะดวกสบายตอ่ ผใู้ ชง้ านและเพ่ิมประสิทธิภาพ การจดั การคลงั ใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้ โดยคนท่วั ไปจะรูจ้ กั ในช่ือ “ระบบ WMS” (Warehouse Management System) หรอื ระบบบรหิ ารจดั การคลงั สนิ คา้ ซง่ึ ระบบ WMS มี 3 ขนั้ ตอนท่ีเป็น หวั ใจหลกั คือ 1.การรบั สินคา้ 2.การเก็บสินคา้ และ 3.การเบิกสินคา้ นอกจากนี้ ระบบ WMS จะช่วยใน สว่ นของการจดั การ Stock สินคา้ การรบั เขา้ การยา้ ยและนาออกสนิ คา้ การสง่ ออเดอรอ์ อกจากคลงั สินคา้ การเช่ือมตอ่ ระหวา่ งระบบ Internal อ่ืนๆขององคก์ ร เชน่ ระบบ ERP เพ่ือชว่ ยใหอ้ งคก์ รมีการจดั การ คลงั สินคา้ ท่ีเป็นระบบมากย่งิ ขนึ้ และชว่ ยเพ่มิ ขีดความสามารถในเชิงธรุ กิจขององคก์ รอีกดว้ ย โดย 3 ขัน้ ตอนหลักของ ระบบการจัดการคลังสนิ คา้ หรือ WMS มรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนีค้ รับ การรับสนิ คา้ การเกบ็ สินคา้ การเบกิ สินค้า

การรับสนิ คา้ การเกบ็ สนิ ค้า การเบกิ สนิ ค้า

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ 1. ระบบการจัดเกบ็ โดยไร้รูปแบบ (Informal System) เป็นรูปแบบการจดั เก็บสนิ คา้ ท่ีไมม่ ีการบนั ทกึ ตาแหน่งการจดั เก็บเขา้ ไวใ้ น ระบบ และสินคา้ ทกุ ชนิดสามารถจดั เกบ็ ไวต้ าแหนง่ ใดก็ไดใ้ นคลังสนิ คา้ ซง่ึ พนกั งานท่ีปฏิบตั ิงานใน คลงั สนิ คา้ นนั้ จะเป็นผทู้ ่ีรูต้ าแหนง่ ในการจดั เก็บรวมทงั้ จานวนท่ีจดั เก็บ ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ า่ รูปแบบการจดั เก็บนีเ้ หมาะสาหรบั คลงั สินคา้ ท่ีมีขนาดเลก็ มีจานวนสนิ คา้ หรอื SKU นอ้ ย และมีจานวนตาแหนง่ ท่ีจดั เก็บนอ้ ยดว้ ย สาหรบั ในการทางานในนนั้ จะมีการแบง่ พนกั งานท่ีรบั ผิดชอบเฉพาะเป็นโซนๆ โดยท่ีแตล่ ะโซนนนั้ ไมไ่ ด้มีแนวทางการปฏิบตั ิในเรอ่ื งการ จดั เก็บแลว้ แต่ พนกั งานท่ีปฏิบตั ิงานในโซนนนั้ ๆ ดงั นนั้ จงึ ไมไ่ ดม้ ีแนวทางท่ีเหมือนกนั จงึ ทาใหอ้ าจเกิดปัญหาการจดั เก็บหรอื การท่ีหาสนิ คา้ นนั้ ไมเ่ จอในวนั ท่ี พนกั งานท่ีประจาใน โซนนนั้ ไมม่ าทางาน ตารางดา้ นลา่ งจะแสดงการเปรยี บเทียบขอ้ ดี และขอ้ เสียของรูปแบบการจดั เก็บสนิ คา้ โดยไรร้ ูปแบบ ขอ้ ดี - ไมต่ อ้ งการการบารุงรกั ษาอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือตา่ งๆ - มีความยืดหยนุ่ สงู ขอ้ เสยี - ยากในการหาสนิ คา้ - ขนึ้ อยกู่ บั ทกั ษะของพนกั งานคลงั สินคา้ - ไมม่ ีประสทิ ธิภาพ

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ (ตอ่ ) 2. ระบบจัดเกบ็ โดยกาหนดตาแหน่งตายตวั (Fixed Location System) แนวความคดิ ในการจดั เก็บสนิ คา้ รูปแบบนีเ้ ป็นแนวคิดท่ีมาจากทฤษฎีกลา่ วคอื สนิ คา้ ทกุ ชนิดหรอื ทกุ SKU นนั้ จะมีตาแหนง่ จดั เก็บท่ีกาหนดไว้ ตายตวั อยแู่ ลว้ ซง่ึ การจดั เก็บรูปแบบนีเ้ หมาะสาหรบั คลงั สนิ คา้ ท่ีมีขนาดเลก็ มีจานวนพนกั งานท่ีปฏบิ ตั ิงานไมม่ ากและมีจานวนสนิ คา้ หรอื จานวน SKU ท่ีจดั เก็บนอ้ ยดว้ ย โดยจากการศกึ ษาพบวา่ แนวคดิ การจดั เก็บสนิ คา้ นีจ้ ะมีขอ้ จากดั หากเกดิ กรณีท่ี สนิ คา้ นนั้ มีการส่งั ซอื้ เขา้ มาทีละมากๆจน เกินจานวน location ท่ีกาหนดไวข้ องสนิ คา้ ชนิดนนั้ หรอื ในกรณีท่ีสนิ คา้ ชนิดนนั้ มีการส่งั ซอื้ เขา้ มานอ้ ยในชว่ งเวลานนั้ จะทาใหเ้ กิดพืน้ ท่ีท่ีเตรยี มไว้ สาหรบั สนิ คา้ ชนิดนนั้ วา่ ง ซง่ึ ไม่เป็นการใชป้ ระโยชนข์ องพืน้ ท่ีในการจดั เก็บท่ีดี ขอ้ ดี - งา่ ยตอ่ การนาไปใช้ - งา่ ยตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน ขอ้ เสีย - ใชพ้ นื้ ท่ีจดั เก็บไม่ไดไ้ ม่เตม็ ท่ี - ตอ้ งเสียพืน้ ท่ีจดั เก็บโดยเปลา่ ประโยชนใ์ นกรณีท่ีไมม่ ีสนิ คา้ อยใู่ นสต็อก - ตอ้ งใชพ้ นื้ ท่ีมากหลายตาแหน่งในการจดั เก็บสนิ คา้ ใหม้ ากท่สี ดุ - ยากตอ่ การขยายพืน้ ท่ีจดั เก็บ - ยากตอ่ การจดจาตาแหน่งจดั เก็บสนิ คา้

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ (ตอ่ ) 3. ระบบการจดั เก็บโดยจัดเรียงตามรหสั สนิ ค้า (Part Number System) รูปแบบการจดั เก็บโดยใชร้ หสั สนิ คา้ (Part Number) มีแนวคิดใกลเ้ คยี งกบั การจดั เก็บแบบกาหนดตาแหน่งตายตวั (Fixed Location) โดยขอ้ แตกตา่ งนนั้ จะอยทู่ ่ีการเก็บแบบใชร้ หสั สนิ คา้ นนั้ จะมีลาดบั การจดั เก็บเรยี งกนั เชน่ รหสั สนิ คา้ หมายเลข A123 นนั้ จะถกู จดั เก็บก่อน รหสั สนิ คา้ หมายเลข B123 เป็นตน้ ซง่ึ การจดั เก็บแบบนีจ้ ะเหมาะกบั บรษิ ัทท่ีมีความตอ้ งการสง่ เขา้ และนาออกของรหสั สนิ คา้ ท่ีมีจานวนคงท่ี เน่ืองจากมกี ารกาหนดตาแหนง่ การจดั เก็บ ไวแ้ ลว้ ในการจดั เก็บแบบใชร้ หสั สนิ คา้ นี้ จะทาใหพ้ นกั งานรูต้ าแหนง่ ของสนิ คา้ ไดง้ า่ ย แตจ่ ะไมม่ ีความ ยืดหยนุ่ ในกรณีท่ีองคก์ รหรอื บรษิ ัทนนั้ กาลงั เตบิ โตและมีความ ตอ้ งการขยายจานวน SKU ซง่ึ จะทาใหเ้ กิดปัญหาเรอ่ื งพืน้ ท่ีในการจดั เก็บ ขอ้ ดี - งา่ ยตอ่ การคน้ หาสนิ คา้ - งา่ ยตอ่ การหยิบสนิ คา้ - งา่ ยตอ่ การนาไปใช้ - ไมจ่ าเป็นตอ้ งมีการบนั ทกึ ตาแหนง่ สนิ คา้ ขอ้ เสยี - ไม่ยืดหยนุ่ - ยากตอ่ การปรบั ปรมิ าณความตอ้ งการสนิ คา้ - การเพ่มิ การจดั เก็บสนิ คา้ ใหม่จะมีผลกระทบตอ่ การจดั เก็บสนิ คา้ เดมิ ทงั้ หมด - ใชพ้ นื้ ท่ีจดั เก็บไม่ไดไ้ ม่เตม็ ท่ี

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ (ตอ่ ) 4. ระบบการจดั เกบ็ สินคา้ ตามประเภทของสินคา้ (Commodity System) เป็นรูปแบบการจดั เก็บสนิ คา้ ตามประเภทของสนิ คา้ หรอื ประเภทสนิ คา้ (product type) โดยมีการจดั ตาแหน่งการวางคลา้ ยกบั รา้ นคา้ ปลีกหรอื ตาม supermarket ท่วั ไปท่ีมีการจดั วางสนิ คา้ ในกลมุ่ เดียวกนั หรอื ประเภทเดยี วกนั ไว้ ตาแหนง่ ท่ีใกลก้ นั ซง่ึ รูปแบบในการจดั เก็บสนิ คา้ แบบนีจ้ ดั อยใู่ นแบบ combination system ซง่ึ จะช่วยในการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการจดั เก็บสนิ คา้ คือมกี ารเนน้ เรอ่ื ง การใชง้ านพนื้ ท่ีจดั เก็บ มากขนึ้ และยงั งา่ ยตอ่ พนกั งาน pick สนิ คา้ ในการทราบถงึ ตาแหน่งของสนิ คา้ ท่ีจะตอ้ งไปหยบิ แตม่ ีขอ้ เสยี เช่นกนั เน่ืองจากพนกั งานท่ีหยิบสินคา้ จาเป็นตอ้ ง มีความรูใ้ น เรอ่ื งของสนิ คา้ แตล่ ะชดิ หรอื แตล่ ะย่ีหอ้ ท่ีจดั อยใู่ นประเภทเดียวกนั ไมเ่ ชน่ นนั้ อาจเกิดการ pick สนิ คา้ ผิดชนิดได้ จากตารางแสดงขอ้ ดี และขอ้ เสยี ของการจดั เก็บในรูปแบบนี้ ขอ้ ดี - สนิ คา้ ถกู แบบง่ ตามประเภททาใหพ้ นกั งานผปู้ ฏิบตั งิ านเขา้ ไดไ้ ดง้ า่ ย - การหยบิ สนิ คา้ ทาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ - มีความยืดหยนุ่ สงู ขอ้ เสีย - ในกรณีท่ีสนิ คา้ ประเภทเดยี วกนั มีหลายรุน่ /ย่หี อ้ อาจทาใหห้ ยบิ สนิ คา้ ผิดรุน่ /ย่หี อ้ ได้ - จาเป็นตอ้ งมีความรูใ้ นเรอ่ื งของสนิ คา้ แตล่ ะชดิ หรอื แตล่ ะย่ีหอ้ ท่ีจะหยบิ - การใชส้ อยพนื้ ท่ีจดั เก็บดขี นึ้ แตย่ งั ไม่ดีท่ีสดุ - สนิ คา้ บางอยา่ งอาจยงุ่ ยากในการจดั ประเภทสนิ คา้

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ (ตอ่ ) 5. ระบบการจัดเกบ็ ทไี่ ม่ไดก้ าหนดตาแหน่งตายตัว (Random Location System) เป็นการจดั เก็บท่ีไม่ไดก้ าหนดตาแหน่งตายตวั ทาใหส้ นิ คา้ แตล่ ะชนิดสามารถถกู จดั เก็บไวใ้ นตาแหนง่ ใดก็ไดใ้ นคลงั สนิ คา้ แตร่ ูปแบบการจดั เก็บแบบนี้ จาเป็นตอ้ งมีระบบสารสนเทศในการจดั เก็บและตดิ ตาม ขอ้ มลู ของสินคา้ วา่ จดั เก็บอยใู่ นตาแหน่งใดโดยตอ้ งมีการปรบั ปรุงขอ้ มลู อยู่ ตลอดเวลาดว้ ย ซง่ึ ในการจดั เก็บแบบนีจ้ ะเป็นรูปแบบท่ีใชพ้ นื้ ท่ีจดั เก็บอยา่ งคมุ้ คา่ เพ่มิ การใชง้ านพนื้ ท่ีจดั เก็บและเป็นระบบท่ีถือวา่ มีความยืดหย่นุ สงู เหมาะกบั คลงั สนิ คา้ ทกุ ขนาด ขอ้ ดี - สามารถใชง้ านพนื้ ท่ีจดั เก็บไดอ้ ยา่ งเกิดประโยชนส์ งู สดุ - มีความยืดหยนุ่ สงู - งา่ ยตอ่ การขยายการจดั เก็บ - งา่ ยในการปฏบิ ตั ิงาน - ระยะทางเดินหยิบสนิ คา้ ไมไ่ กล ขอ้ เสีย - ตอ้ งมีการบนั ทกึ ขอ้ มลู การจดั เก็บสนิ คา้ อยา่ งละเอยี ดและมีประสทิ ธิภาพ - ตอ้ งเขม้ งวดในตดิ ตามการบนั ทกึ ขอ้ มลู การจดั เก็บ

4 .รูปแบบการจดั เกบ็ สินคา้ (ตอ่ ) 6. ระบบการจดั เกบ็ แบบผสม (Combination System) เป็นรูปแบบการจดั เก็บท่ีผสมผสานหลกั การของรูปแบบการจดั เก็บในขา้ งตน้ โดยตาแหน่งในการจดั เก็บนนั้ จะมกี ารพจิ ารณาจากเง่ือนไขหรอื ขอ้ จากดั ของสนิ คา้ ชนดิ นนั้ ๆ เชน่ หากคลงั สนิ คา้ นนั้ มสี นิ คา้ ท่ีเป็นวตั ถอุ นั ตรายหรอื สารเคมตี า่ งๆ รวมอยกู่ บั สนิ คา้ อาหาร จึงควรแยกการจดั เก็บสนิ คา้ อนั ตราย และสนิ คา้ เคมดี งั กลา่ วใหอ้ ยหู่ า่ งจากสนิ คา้ ประเภทอาหาร และเครอ่ื งด่มื เป็นตน้ ซง่ึ ถือเป็นรูปแบบการจดั เก็บแบบกาหนดตาแหนง่ ตายตวั สาหรบั พนื้ ท่ีท่ีเหลอื ในคลงั สนิ คา้ นนั้ เน่ืองจากมีการคานงึ ถึงเรอ่ื งการใชง้ านพนื้ ท่ีจดั เก็บ ดงั นนั้ จงึ จดั ใกลท้ ่ีเหลือมีการจดั เก็บแบบไมไ่ ดก้ าหนดตาแหนง่ ตายตวั (Random) ก็ได้ โดยรูปแบบการจดั เก็บแบบนีเ้ หมาะสาหรบั คลงั สนิ คา้ ทกุ ๆแบบ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ คลงั สนิ คา้ ท่ีมีขนาดใหญ่และสนิ คา้ ท่ี จดั เก็บนนั้ มีความ หลากหลาย ขอ้ ดี - มีความยดื หยนุ่ สงู - เป็นการประสานขอ้ ดีจากทกุ ระบบการจดั เก็บ - สามารถปรบั เปล่ยี นการจดั เก็บไดต้ ามสภาพของคลงั สนิ คา้ - สามารถควบคมุ การจดั เก็บไดเ้ ป็นอยา่ งดี - ขยายการจดั เก็บไดง้ า่ ย ขอ้ เสีย - อาจทาใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิงานเกิดความสบั สนเน่ืองจากมีระบบการจดั เก็บมากกวา่ 1 วิธี - การใชป้ ระโยชนจ์ ากพนื้ ท่ีจดั เก็บมีความไมแ่ น่นอน เปล่ยี นไดต้ ลอดเวลา

5 การขนส่ง 1. การขนส่งทางบก (Road or Motor Transportation)จาแนกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ – การขนส่งทางรถยนต์ (Motor Transportation) หรือรถบรรทุก (Truck Transportation) – การขนส่งทางรถไฟ (Railroads) – การขนส่งทางจกั รยานยนต์ เหมาะสาหรบั ของขนาดเลก็ และขนาดกลาง ระยะการขนสง่ สนั้ ไม่สามารถสง่ ใน ระยะไกลได้ ราคาไมแ่ พงมาก การขนสง่ ทางจกั รยานยนตเ์ หมาะกบั ของท่ีตอ้ งการความรวดเรว็ ในระยะการขนสง่ ระยะสนั้ 2. การขนส่งทางนา้ (Water Transportation) 3. การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) 4. การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ (Container System) 5. การขนส่งทางทอ่ (Pipeline Transportation)

การขนส่งทางบก

การขนส่งทางนา้

การขนสง่ ทางอากาศ

การขนสง่ ระบบคอนเทนเนอร์

การขนส่งทางทอ่

6โลจสิ ตกิ ส์ โลจสิ ตกิ ส์ คืออะไร? อย่างท่นี อ้ งๆ หลายคนพอทราบมาบา้ งวา่ สาขาวชิ าโลจิสตกิ ส์ นนั้ เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การระบบขนสง่ หรอื การเคล่อื นยา้ ย สินคา้ และบรกิ าร ทงั้ ภาคพืน้ ดิน ทางเรอื และทางอากาศ แตโ่ ลจิสติกสไ์ มใ่ ช่แคเ่ ร่อื งของการขนสง่ เทา่ นนั้ สายงานดา้ นนีย้ งั รวม ไปถงึ กระบวนการ วิธีการ การวางแผนสนิ คา้ คงคลงั การจดั เก็บ ควบคมุ การบรหิ ารธรุ กิจ รวมถงึ ตอ้ งเขา้ ใจเก่ียวกับการเงนิ การตลาดเบอื้ งตน้ ในการทาธรุ กิจอีกดว้ ย เรียนโลจิสตกิ ส์ จบไปทางานอะไรได้? หลงั จากเรยี นจบหลกั สตู รในระดบั ปรญิ ญาตรแี ลว้ มาถงึ เสน้ ทางอาชีพและการทางานบา้ ง งานดา้ นโลจสิ ตกิ สแ์ ละซบั พลายเชน ถือเป็นอกี สายงานท่ีตลาดในประเทศและตา่ งประเทศมีความตอ้ งการบคุ ลากรเพ่มิ มากขนึ้ เพ่ือรองรบั การเติบโตของภาคธรุ กิจ และบรกิ าร และน่ีคอื สายงานและตาแหนง่ ท่ีนอ้ งๆ บณั ฑติ สาขานีส้ ามารถทาได้

6โลจสิ ตกิ ส์ (ต่อ) ระดบั ปฏิบัตกิ าร เช่น ฝ่ายจดั ซอื้ ฝ่ายผลติ ฝ่ายจดั สง่ และคลงั สนิ คา้ ฝ่ายควบคมุ วตั ถดุ บิ ฝ่ายซพั พลายเชนและโลจสิ ตกิ ส์ ฝ่ายการขนสง่ ซ่ึงในประเทศไทยมบี รษิ ัท ทางขนสง่ สนิ คา้ มากกวา่ 500 แหง่ รวมถึงบรษิ ัทนาเขา้ สง่ -ออก ระดับบริหาร เช่น นกั วเิ คราะหด์ า้ นโลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ปุ ทาน, นกั วางแผน วตั ถดุ ิบ การผลติ หรอื การกระจายสนิ คา้ , นกั วเิ คราะหก์ ระบวนการทางธรุ กิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เชน่ นาเขา้ และสง่ ออก ผใู้ หบ้ รกิ ารทางดา้ นโลจิสตกิ ส์ ตวั แทนขนสง่ ทางบก ทางทะเล หรอื ทางอากาศ รับราชการ รบั ราชการในหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น กรมการขนสง่ ทางนา้ และพาณิชยน์ าวี กรมประมง กรมการขนสง่ ทางอากาศ กรมศลุ กากร และหนว่ ยงาน อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง งานสายวิชาการ เชน่ นกั วิชาการ นกั วิจยั อาจารยใ์ นสาขาวชิ าการจดั การโลจิสติกส์ หรอื เรยี นตอ่ ระดบั สงู ขนึ้

7. ปัญหาของระบบโลจิสติกส์ • เหตุผลสาคัญทที่ าใหป้ ัญหาของการพฒั นาโลจสิ ตกิ สข์ องไทยทผี่ ่านมาไม่ก้าวหน้า 1. การขาดการบรู ณาการของหนว่ ยงานรฐั และภาคเอกชน การพฒั นาโลจิสตกิ สข์ องไทย จากการศกึ ษาพบวา่ ตน้ ทนุ โลจิสตกิ สข์ องปี 2551 อยทู่ ่ีรอ้ ยละ 18.6 ตอ่ GDP เม่ือเทียบกบั 2550 ลดไปไดเ้ พียงรอ้ ยละ 0.2 เพ่มิ มลู คา่ 2. ตน้ ทนุ โลจสิ ตกิ สข์ องไทยอย่ใู นอตั ราที่สงู กวา่ ประเทศที่พฒั นามาก เหตผุ ลสาคญั เกิดจากภาคขนสง่ ที่เป็นสดั สว่ น อยถู่ งึ รอ้ ยละ 49 ของตน้ ทนุ รวมโลจิสติกส์ 3. การขนสง่ ของไทยกระจกุ อยทู่ ่ีการขนสง่ ทางถนนถงึ รอ้ ยละ 83.76และมีการขยายตวั ในปี 2551 ถึงรอ้ ยละ 8.8 ตอ่ ปี การขนสง่ ทางถนนทาใหต้ น้ ทนุ โลจิสตกิ สข์ องประเทศไทยสงู เพราะมีตน้ ทนุ พลงั งานสงู กวา่ ทางราง 3.5 เทา่ และทางนา้ 7 เท่า ซง่ึ ในปี 2551 สดั สว่ นการขนสง่ ตอ่ GDP คิดเป็นรอ้ ยละ 9.1 คิดเป็นมลู คา่ รวมทงั้ สนิ้ 823,000 ลา้ นบาท 4. ภาคการขนสง่ ทางถนนการใชน้ า้ มนั โดยเฉล่ยี 1 ลติ รว่ิงได้ 2.5 กิโลเมตร ซง่ึ เป็นขนาดของรถเทรลเลอรเ์ ฉพาะการ ขนสง่ ระหวา่ งประเทศ ในปี 2552 ปรมิ าณการมีตคู้ อนเทนเนอรห์ มนุ เวียนอยใู่ นประเทศไทยประมาณ 7-8 ลา้ น TEU ขณะท่ีการขนสง่ ทางราง มีพิสยั รบั ขนสง่ ไดเ้ พียงไมเ่ กิน 4.0-4.5 แสนตู้ คิดเป็นเพียงรอ้ ยละ 5.6 ของระบบตู้ คอนเทนเนอร์ ซงึ่ ขนสง่ อย่ใู นประเทศไทย ขณะท่ีทางชายฝ่ัง รวมทงั้ ทางแม่นา้ ยงั ขาดรูปแบบท่ีชดั เจนในการ บรหิ ารจดั การท่ีจะเขา้ มาลดตน้ ทนุ โลจิสติกสข์ องประเทศ

7. ปัญหาของระบบโลจิสติกส์ (ตอ่ ) • 5. ช่วงท่ีผา่ นมาเกือบ 5 ปี (พ.ศ. 2549-2553) ประเทศไทยประสบปัญหาการเมืองในประเทศมาโดยตลอด มีการ วนุ่ วายทางการเมือง , การรฐั ประหาร และการจลาจลอยา่ งรุนแรง ทาใหใ้ นชว่ ง 4 ปี มีการเปลี่ยนรฐั บาลถงึ 5 รฐั บาล สง่ ผลเสียตอ่ ความตอ่ เน่ืองและการผลกั ดนั แผนยทุ ธศาสตรใ์ หม้ ีความสมั ฤทธิผล 6. ขาดหนว่ ยงานหลกั ท่ีเป็นหน่วยงานรบั ผดิ ชอบท่ีจะมารบั ผิดชอบในการกากบั -ดแู ล ทงั้ นี้ แผนยทุ ธศาสตรโ์ ลจสิ ติกส์ ท่ีใชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั และท่ีผา่ นมาในอดีต ขาดหน่วยงานหลกั ในการผลกั ดนั และประเมนิ ยทุ ธศาสตร์ ทาใหม้ ีการใชง้ บ ประมาณท่ีซา้ ซอ้ น และไรท้ ศิ ทางขาดตวั ชีว้ ดั ท่ีเป็นรูปธรรม เป็นปัจจยั สาคญั ท่ีทาใหก้ ารพฒั นาโลจิสตกิ สข์ อง ประเทศกา้ วหนา้ นอ้ ยกว่าท่ีควรจะเป็น เน่ืองจากแตล่ ะกระทรวงไมไ่ ดม้ ีการ บรู ณาการทงั้ แผนงาน ยทุ ธศาสตรแ์ ละ งบประมาณ 7. การไมเ่ ขา้ ใจถงึ การพฒั นาโลจิสตกิ สข์ องภาครฐั ซง่ึ เนน้ แตเ่ พียงโครงสรา้ งพนื้ ฐาน รวมถงึ การท่ีภาคธรุ กิจไม่ สามารถประยกุ ตใ์ ชศ้ าสตรโ์ ลจสิ ตกิ สไ์ ปสกู่ ารปฏิบตั ิท่ีเป็นจรงิ ทาใหก้ ารพฒั นาระบบโลจสิ ติกสข์ องไทยอยใู่ น ระดบั พืน้ ฐาน ท่ีเรยี กวา่ “Transport Base” ซง่ึ กย็ งั สบั สนระหวา่ งการพฒั นาระบบโลจิสตกิ สก์ บั ระบบคมนาคมขน สง่ วา่ มีความแตกตา่ งกนั อย่างไร อีกทงั้ การพฒั นาโลจสิ ตกิ สข์ องไทยท่ีผา่ นมาอยใู่ นระดบั การอบรม-สมั มนา-วิจยั และดงู าน โดยใชด้ ชั นีชีว้ ดั เชิงปรมิ าณมากกวา่ ท่ีจะวดั ผลเชิงคณุ ภาพ ทาใหก้ ารพฒั นาโลจสิ ตกิ สข์ องภาค อตุ สาหกรรม (ของคนไทย) พฒั นาไปไดค้ อ่ นขา้ งชา้ 8. การพฒั นาการขาดการบรู ณาการของเปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตร์ และงบประมาณรวมถงึ การใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ โดย เฉพาะ ประเดน็ เปา้ หมายท่ีแยกสว่ นกนั โดยแทบจะไมม่ ีการบรู ณาการ

8การลดตน้ ทุนและการเพ่ิมประสิทธิภาพโลจิสติกส์ • 1. กลยุทธก์ ารใช้พลงั งานทางเลอื ก โดยปรบั เปลย่ี นพลงั งานท่ีใชใ้ นการขนสง่ จากนา้ มนั ดเี ซล หรอื เบนซิน เป็นไบโอดเี ซล หรอื ก๊าซ CNG ซง่ึ การใชก้ ๊าซ CNG นนั้ จะประหยดั กวา่ การใชน้ า้ มนั ถึง 60-70% • 2. กลยุทธก์ ารปรับเปลย่ี นรูปแบบการขนส่งแบบใหม่ โครงหสรรอื า้ เงปข็นอวงิธรีะกบารบขขนนสสง่ ง่ ตสอ่ าเนม่ือางรหถลแาบยง่ รตูปาแมบลบกั ษซณง่ึ เปะท็นากงากราผยสภมาผพสไาดน้ 5กาแรบขบนสคง่ อื ตกง้ั แาตรข่ 2นสรูปง่ ทแบางบถขนนึ้ นไกปาโรดขยนอสยง่ ภู่ทาายงรใาตงส้ ญกั าญรขานหสรง่อื ทผารู้ งบั นผา้ ดิ กชาอรบขกนาสรง่ขทนาสงง่ อราากยาเดศียแวลซะง่ึการขนส่ง ทางทอ่ การผสมผสานการขนสง่ หลายรูปแบบ เพ่ือใหส้ ามารถทนั ตอ่ การตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ โดยคานงึ ถงึ ตน้ ทนุ การขนสง่ ของรูปแบบ ตา่ ง ๆ ใหป้ ระหยดั ทส่ี ดุ • 3. กลยุทธศ์ ูนยก์ ระจายสนิ ค้า หสินรอืคขกา้ นาจรสะหงช่ าไว่ มทย่เต่ีทตง้ัาม็ ศใคหนู นั สย้ ราร์ ถวมซบาง่ึ รรสวถามลมแดาลตระน้ถกทแรกนุะป้ใจนัญากยหาสารนิ ขดคนงั า้กสตลง่ าไา่ มดวย้ไเดนทุ จ้่ือธาศงกจากาสากตรกรกาต์ ารา่ หขงนนๆดสทงศ่ ต่ีสนู รายงมก์ถารงึ ระลถจกู กาคยรา้ะสใจินนาคตยา้า่แทงลจ่ีมะงัีปสหรง่ วะตดัสอ่ โทิไดปธยิภยไงมัาจพ่มงั ีศหมนู วีโคยดั รร์ใงวกขบล่ารเ้ ยควกมยี รพงะหกั จรสาอื ินยปคสรา้นิะเคททา้าศทใเหาพหส้ ่ือว่นนนา้บใทา้ห่รี นญวไบด่ตรโ้อ้วดงมยขสกนนิ าสครง่ จา้เดทัใหศ่ียเ้นวูตเย็มปก์ คลรนาั่ ะกรจถลาบัย หรอื จดั พาหนะใหเ้ หมาะสมกบั จานวนและสอดคลอ้ งกบั สถานที่สง่ มอบสนิ คา้

8การลดตน้ ทุนและการเพ่ิมประสิทธิภาพโลจิสติกส์ (ต่อ) • 4. กลยุทธก์ ารขนส่งสินค้าทงั้ เทย่ี วไปและกลับ การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการขนสง่ ดว้ ยการลดการว่งิ เท่ียวเปลา่ เพราะการขนสง่ โดยท่วั ไปเม่ือสง่ สินคา้ เสรจ็ จะตีรถว่ิงเท่ียวเปลา่ กลบั มา สง่ ผลใหเ้ กิดตน้ ทนุ การประกอบการเพ่มิ สงู ขนึ้ โดยเปลา่ ประโยชน์ โดยตน้ ทนุ ท่ีเกิดขนึ้ นนั้ เป็นตน้ ทนุ ท่ีไม่ก่อใหเ้ กิดมลู คา่ และผปู้ ระกอบการ ตอ้ งแบกรบั ภาระตน้ ทนุ เหลา่ นี้ ซง่ึ เป็นสว่ นสาคญั ในการทาใหต้ น้ ทนุ ประกอบการเพ่มิ สงู ขนึ้ • 5. กลยุทธก์ ารใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ mเดรพวาด่ือเaนมเรnินาว็ aงชแาว่gลนยะeขลตmนดน้ สตทeง่น้นุแnททลtนุ ่ีปะโอsรละีกyจหอsิสยงtตคดeั กิ ป์ทmสร่ีสแ์ะดุ;ลกะTออเงบMปคห็นป์ Sนกร่งึ)าะรคกซเพอือง่ึ เบ่มิปกขป็านอรรเงคเะพรสระ่มิ่อืทิ บปงธบมริภะือาTสใพนMิทใกธนาิภSกราาวคพราอืขใงนนแกกสผาาง่นรรบกคขราือนหิรสขราะง่นรหบกสนาบง่ รา้บเจทพรดั ่ีชหิ่อื กว่าใายหรรจใบ้ดนดั รา้กกรนลาาขรเรุ ปนตกาส้ดัาหงร่สขซมินนง่ึาใมสจยีหงใ่ขนสนอเนิาง้รธทคอ่ื ุร่ีใา้งกนก(ิจกาTการrาบรaรวรnขารนงทsแสกุpผง่สoนนิซrกค่ึงtาคา้aรือแtคiลoวะาnม การจดั วางเสน้ ทางใหม้ ีประสทิ ธิภาพสงู สดุ ภายใตข้ อ้ จากดั ตา่ งๆหวั ใจหลกั ของการขนสง่ คือการสง่ ของใหร้ วดเรว็ และเกิดตน้ ทนุ ในการ ขนสง่ ท่ีต่าท่ีสดุ ดงั นนั้ ผปู้ ระกอบการขนสง่ จงึ จาเป็นตอ้ งพจิ ารณาจากหลากหลายปัจจยั ท่ีจะชว่ ยทาใหล้ ดตน้ ทนุ ในการขนสง่ เพ่ือไมใ่ หไ้ ป กระทบตอ่ ตน้ ทนุ รวมของผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารของธุรกิจ

9การวางแผนการขนส่ง • หน่งึ ในกิจกรรมหลกั ทางธรุ กิจท่ีทกุ ๆ บรษิ ัทจะตอ้ งมอี ย่างหลกี เล่ยี งไม่ไดเ้ ลยก็คือ กิจกรรมในหว่ งโซอ่ ปุ ทาน (Supply Chain) ท่ีมีตงั้ แตก่ ารสรรหาวตั ถดุ บิ ในการผลติ การเสนอขายสินคา้ และบรกิ าร การสง่ มอบสนิ คา้ และ บรกิ ารถงึ มือลกู คา้ ทงั้ แบบธรุ กิจสธู่ รุ กิจ และธรุ กิจถงึ ผบู้ รโิ ภคปลายทาง ตลอดจนถงึ การดแู ลบรกิ ารหลงั การขาย เพ่ือสรา้ งความพงึ พอใจสงู สดุ ใหก้ บั ผบู้ รโิ ภค ไม่วา่ จะเป็นบรษิ ัทท่ีใหบ้ รกิ ารจดั สง่ สนิ คา้ หรอื จดั สง่ อาหาร บรษิ ัทท่ีตอ้ ง กระจายสินคา้ สรู่ า้ นคา้ ปลีกท่วั ประเทศ บรษิ ัทท่ีใหบ้ รกิ ารซอ่ มแซมบารุงเฉพาะทางท่ีตอ้ งไปยงั พนื้ ท่ีตา่ ง ๆ หรอื แมก้ ระท่งั บรษิ ทั ท่ีตอ้ งใชน้ กั ขายแบบเชิงรุกตรงไปในพนื้ ท่ีโดยตรง ทงั้ หมดลว้ นถกู เช่ือมโยงเขา้ หากนั ดว้ ย “การ เดินทาง” ท่จี ะตอ้ งใหบ้ รกิ ารดว้ ยการแวะรบั สง่ สินคา้ หรอื แวะใหบ้ รกิ ารลกู คา้ หลายจดุ หลายพนื้ ท่ีในหน่งึ วนั

1. TIME WINDOWS 9การวางแผนการขนส่ง (ต่อ) 5. TIME 2. DISTRIBUTORS & 3. LOAD 4. RESOURCE เง่ือนไขในการจดั การเวลา ในการเขา้ SUPPLIERS CONSTRAINTS ในหลายธรุ กิจมีตวั เลขการเตบิ โตท่ี CONSUMPTION รบั สง่ สินคา้ หรอื การใหบ้ รกิ ารในพืน้ ท่ี การรบั คาส่งั ซอื้ สนิ คา้ และบรกิ ารใน นา้ หนกั ของพสั ดใุ นการ สงู ขนึ้ จากการเติบโตของ E- โดยปกติแลว้ กระบวนการ ตา่ ง ๆ เป็นปัญหาท่ีหลาย ๆ ธรุ กิจตอ้ ง จานวนท่ีมากขนึ้ กวา่ เดมิ ปกติ มา ขนสง่ มีผลโดยตรงตอ่ Commerce ในชว่ งท่ีผา่ นมา คานวณการวางแผน บรหิ ารกบั ความผนั ผวนในเรอ่ื งของ พรอ้ มกบั จานวนจดุ รบั และสง่ สินคา้ จานวนในการบรรทกุ สง่ ผลใหป้ รมิ าณความตอ้ งการขนสง่ จดั ลาดับการขนส่งหรอื เวลาท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั และแตกตา่ ง หลากหลายประเภท ไมว่ า่ จะเป็นศนู ย์ สนิ คา้ ตอ่ รอบการขนสง่ สนิ คา้ หรอื การสง่ มอบบรกิ ารถงึ ธรุ กิจ การจดั ลาดบั การ กนั ในแตล่ ะจดุ ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ กระจายสนิ คา้ ศนู ยใ์ หบ้ รกิ ารราย ซง่ึ ขนาดของรถบรรทกุ และผบู้ รโิ ภคปลายทางมีมากขนึ้ ใหบ้ ริการท่ีมีอยใู่ นปัจจบุ นั สงู สดุ เน่ืองจากหากมีจดุ รบั สง่ สนิ คา้ ภมู ภิ าค โรงงานผลติ รา้ นคา้ ปลีก/สง่ หรอื รถขนสง่ นนั้ ก็มีขนาด ในทางกลบั กนั จานวนทรพั ยากร จะทาการคานวณเสน้ ทาง หลายท่ี ย่ิงทาใหม้ ีการจดั ลาดบั เวลาท่ี หรอื บา้ นเรอื น ท่ีมีจานวนมากย่ิงขนึ้ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป รองรบั รถบรรทกุ รถขนสง่ จานวนคนขบั แบบรถขนสง่ 1 คนั ตอ่ การ ซบั ซอ้ นมากขนึ้ ซงึ่ อาจจะทาใหไ้ ดผ้ ล เช่นกนั ทาใหก้ ารวางแผนจดั ลาดบั นา้ หนกั ไดไ้ ม่เทา่ กนั ตอ้ ง รวมถงึ เวลาการทางาน กลบั มีอยู่ คานวณ 1 ครงั้ แตห่ าก ลพั ธก์ ารจดั ลาดบั เสน้ ทางท่ีไม่ การขนส่งหรอื การจัดลาดบั การ อาศยั การคานวณท่ี อยา่ งจากดั เชน่ เดิม ทาใหธ้ ุรกิจตอ้ ง จานวนรถขนสง่ มีมากขึน้ เหมาะสมทงั้ ในดา้ นของตน้ ทนุ หรือ ใหบ้ ริการ ตอ้ งเกิดความคมุ้ คา่ สงู สดุ คมุ้ คา่ ท่ีสดุ ตอ่ รอบการ บรหิ ารจดั การใชท้ รพั ยากรท่ีมีอยใู่ ห้ เป็นหลกั สิบ หลกั รอ้ ย หรอื เวลา รวมถงึ การขาดโอกาสในการสง่ ในหน่งึ วนั รวมถงึ เรอ่ื งของการสง่ มอบ ขนสง่ พรอ้ มกบั การ คมุ้ คา่ มากท่ีสดุ เชน่ จะทาอยา่ งไรให้ หลกั พนั คนั จะทาใหก้ าร มอบสนิ คา้ และบรกิ ารไดต้ รงตอ่ เวลา ความพงึ พอใจในการใหบ้ รกิ ารกบั กลมุ่ คานงึ ถึงขอ้ กฎหมายการ รถขนสง่ เดินทางสง่ ของไดจ้ านวน คานวนการวางแผน ในปรมิ าณท่ีถกู วางแผนไวต้ อ่ หน่ึงวนั ลกู คา้ ท่ีมีปัจจยั เรอ่ื งของการบรหิ าร ขนสง่ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั หลายจดุ มากย่ิงขนึ้ บรหิ ารเวลา จดั ลาดับการขนส่งใชเ้ วลา ได้ เวลาในการขนสง่ เขา้ มาเก่ียวขอ้ งอีก นา้ หนกั ตามเกณฑท์ ่ีจะ ขนสง่ ตอ่ ท่ีใหก้ ระชบั มากขนึ้ ซง่ึ ในการประมวลผลท่ีนาน ดว้ ย สามารถขนสง่ ได้ คาถามเหลา่ นี้ ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งมือใน มาก จนทาใหส้ ญู เสียเวลา การวางแผนจัดลาดับการขนส่ง จากขนั้ ตอนการวางแผนงาน หรอื การจัดลาดับการให้บริการที่มี มากเกินไป ซง่ึ จะกระทบตอ่ ประสทิ ธิภาพและตอบโจทยต์ าม เวลาในการปฏิบตั ิงานใน ปัจจยั ท่ีแตกตา่ งกนั ของแตล่ ะธรุ กิจ หนง่ึ วนั

การวางแผนการขนสง่

อา้ งองิ https://www.amauditgroup.com/en/9- %E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3/32- %E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0 %B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B 8%84%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87- %E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0 %B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8 %AD%E0%B8%99- %E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0 %B9%83%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook