ทาเนียบภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ตาบลหนองกระท่มุ อาเภอปากท่อ จังหวดั ราชบรุ ี ประจาเดือน มนี าคม ๒๕๖๓ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอปากทอ่ สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั ราชบรุ ี สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา ด้วย กศน.ตาบลหนองกระทุ่ม ได้ดาเนินการจัดทาภูมิปัญญาในท้องถ่ิน ให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี ตาบลหนองกระทุ่ม เพื่อเพ่ิมพูนความรู้และทักษะในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ท้ังจากการศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนาภูมิปัญญามาเผยแพร่เพ่ือให้ ประชาชนในพนื้ ที่ไดน้ าไปใช้และเรียนรเู้ พือ่ เพิ่มอาชีพ และประสบการณใ์ หก้ ับตนเองและครอบครัว ให้มีการ เจริญเติบโตอย่างต่อเน่ืองและเก้ือกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และไม่มสี ารพิษเช่น น้า ดิน แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุล ของสภาพแวดล้อม อย่างต่อเน่ือง และเกิดผลในการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตาบลหนอง กระทมุ่ หวงั ว่าเอกสารเลม่ นี้คงมปี ระโยชน์ตอ่ ผ้อู า่ นและผ้ปู ฏบิ ัติงานต่อไป กศน.ตาบลหนองกระทุม่ มีนาคม 2563
สารบัญ 1 3 คานาหนา้ 6 สารบญั กศน.ตาบลหนองกระท่มุ -ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น การทาปุ๋ยอดั เม็ด : นายสมยศ นวมนิ่ม - ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ การสขี ้าว : นายสมปอง พุ่มระหงส์ - ภูมิปญั ญาท้องถิน่ การสานเข่งจากไม้ไผ่ : นางสุ่ม เมฆกระจา่ ง คณะผู้จดั ทา
1 แบบบนั ทกึ ชดุ ข้อมลู คลังปญั ญา-ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ตาบลหนองกระทุ่ม อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ช่อื ภมู ปิ ัญญา การทาปยุ๋ อดั เมด็ ชอื่ นายสมยศ นามสกุล นวมนิ่ม วันเดอื นปเี กิด 26 มกราคมพ.ศ.2498 ทอี่ ยู่ปัจจบุ นั (ทีส่ ามารถตดิ ต่อได)้ บา้ นเลขท่ี 54 หมทู่ ่ี 6 ตาบล หนองกระท่มุ อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70140. โทรศพั ท์ - ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปญั ญา นายสมยศ นวมน่มิ คือผ้ทู ่คี ดิ ค้นทาปุ๋ยอดั เมด็ ข้นึ มา เนื่องจากครอบครัวมีอาชีพด้านเกษตรกรรม ทาไร่ ทา สวนได้เกษตรแบบทั่วไป ตามฤดู เพื่อลดค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิต นายสมยศ นวมนิ่มถึงได้คิดสูตรทาปุ๋ย อดั เม็ดข้ึนมา สามารถใช้ในครัวเรือน ชมุ ชน สง่ ออกจาหนา่ ยนอกพ้นื ที่ มีความสนใจเก่ียวกับการพัฒนาอย่าง ย่ังยืน ไดศ้ กึ ษาหาความรเู้ กย่ี วกบั การศึกษาดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เป็นสน้ิ คา้ ทลี่ ดตน้ ทุนและสามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงานได้ วัตถดุ บิ ท่ีใชป้ ระโยชนใ์ นผลิตภัณฑท์ ่เี กดิ จากภมู ิปัญญา ซึ่งพน้ื ทีอ่ นื่ ไม่มี การทาป๋ยุ อัดเปน็ เม็ด แทนการใช้สารเคมที ่ีมีอันตราย รายละเอยี ดของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ ด้านการศกึ ษาดูงาน ฝึกปฏบิ ัตใิ นพืน้ ท่จี ริงประโยชนท์ ี่ได้จากภูมิปญั ญาคอื สามารถนาไปปฏิบัตจิ ริงได้ รปู แบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพรผ่ า่ นสื่อมวลชนและส่ืออ่ืนอยา่ งแพรห่ ลาย มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน ........ ครง้ั จานวน........คน มีการนาไปใช้ อนื่ ๆ (ระบุ)
2 ลักษณะของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาตอ่ ยอดภมู ิปญั ญาให้เปน็ นวตั กรรม คณุ คา่ (มลู ค่า) และ ความภาคภูมใิ จ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมท่คี ดิ คน้ ข้ึนมาใหม่ ปัญญาท้องถิน่ ดั้งเดมิ ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจาก ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินที่ได้พฒั นาและต่อยอด แบบเดมิ คอื การใชป้ ุย๋ เคมี การพฒั นาต่อยอดคือ การนาผลิตภัณฑ์ทเี่ หลือจากใชใ้ นครัวเรอื น ชมุ ชน และสามารถจาหนา่ ยออกนอก พน้ื ทีไ่ ด้ รปู ภาพเจ้าของภมู ปิ ญั ญา (นายสมยศ นวมน่ิม) เจา้ ของการทาปุ๋ยอัดเมด็
รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา 3 ตวั ปุ๋ยอดั เม็ดเสรจ็ เรียบร้อยบรรจุใสก่ ระสอบ เคร่อื งอัดเมด็
ท่ีปรึกษา คณะผจู้ ดั ทา นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา นางสาวชาลินี ดารา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน. จังหวัดราชบรุ ี ครู รักษาในตาแหนง่ ผอ.กศน.อาเภอปากท่อ ร่าง/เรียบเรียงและจัดพิมพ์ นางสาวอมรรตั น์ ภริ มย์แกว้ ครู กศน.ตาบลหนองกระทุ่ม
1 แบบบันทึกชดุ ข้อมูลคลงั ปัญญา-ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ตาบลหนองกระทุ่ม อาเภอปากท่อ จังหวดั ราชบรุ ี ชอ่ื ภมู ปิ ัญญา การสขี า้ ว ชื่อนายสมปอง นามสกลุ พุ่มระหงษ์ วนั เดือนปเี กิด - มนี าคม พ.ศ.2499 ท่ีอยู่ปจั จุบนั (ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได้) บ้านเลขท่ี 46 หมทู่ ี่ 6 ตาบล หนองกระทุม่ อาเภอปากท่อ จงั หวัดราชบรุ ี .รหัสไปรษณยี ์ 70140. โทรศพั ท์ - ความเปน็ มาของบุคคลคลังปญั ญา นายสมปอง พุ่มระหงษ์ คือผู้ท่ีคิดค้นและได้ทดลองการสีข้าวขึ้นมา เนื่องจากครอบครัวมีอาชีพด้าน เกษตรกรรม ทาไร่ ทาสวนไดเ้ กษตรแบบท่วั ไป ตามฤดู เพื่อลดค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิต นายสมปอง พุ่มระ หงษ์ ถึงได้คิดการสีข้าวแบบโบราณ และต่อยอดพัฒนามาเป็นสมัยใหม่ สามารถใช้ในครัวเรือน ชุมชน ส่งออกจาหน่ายและรับสีข้าวนอกพ้ืนท่ี มีความสนใจเก่ียวกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้ศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกบั การศกึ ษาด้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง จดุ เดน่ ของภูมิปัญญาท้องถ่ิน เป็นทลี่ ดตน้ ทนุ ให้กบั ครอบครัวชุมชนและสามารถเปน็ แหล่งศึกษาดูงานได้ วัตถดุ บิ ที่ใช้ประโยชนใ์ นผลติ ภณั ฑท์ ่เี กิดจากภูมปิ ัญญา ซ่ึงพ้ืนทีอ่ ื่นไม่มี ข้าวเปลอื กในชมุ ชน และนอกพน้ื ที่ รายละเอียดของภมู ิปัญญาท้องถิ่น รปู แบบในการถ่ายทอดความรู้ ดา้ นการศกึ ษาดูงาน ฝึกปฏิบัติในพื้นท่ีจริงประโยชนท์ ี่ได้จากภูมปิ ัญญาคอื สามารถนาไปปฏิบัตจิ รงิ ได้ รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพรภ่ ูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใชเ้ ฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน มกี ารเผยแพร่ผา่ นส่ือมวลชนและสอื่ อ่ืนอย่างแพรห่ ลาย มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน ........ ครัง้ จานวน........คน มีการนาไปใช้ อ่นื ๆ (ระบุ)
2 ลกั ษณะของภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน การพัฒนาตอ่ ยอดภูมิปญั ญาให้เป็นนวตั กรรม คณุ คา่ (มลู ค่า) และ ความภาคภูมิใจ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมทค่ี ดิ ค้นขึ้นมาใหม่ ปัญญาท้องถ่ินด้ังเดมิ ได้รับการถา่ ยทอดมาจาก ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิม คือ การใช้วัวควายช่วยสี การพฒั นาตอ่ ยอดคือ การนาเครือ่ งจักรเข้ามาผลติ เพื่อใชใ้ นครัวเรอื น ชมุ ชน และสามารถรบั สีข้าวนอก พื้นท่ี จาหน่ายออกนอกพ้นื ทีไ่ ด้ รูปภาพเจ้าของภมู ปิ ญั ญา (นายสมปอง พุ่มระหงษ์) เจา้ ของการสขี ้าว
รปู ภาพภูมปิ ญั ญา 3
ท่ีปรึกษา คณะผจู้ ดั ทา นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา นางสาวชาลินี ดารา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน. จังหวัดราชบรุ ี ครู รักษาในตาแหนง่ ผอ.กศน.อาเภอปากท่อ ร่าง/เรียบเรียงและจัดพิมพ์ นางสาวอมรรตั น์ ภริ มย์แกว้ ครู กศน.ตาบลหนองกระทุ่ม
แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มูลคลังปญั ญา-ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ตาบลหนองกระทุ่ม อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบรุ ี ชื่อภมู ิปัญญา การสานเขง่ จากไม้ไผ่ ช่อื นางสมุ่ นามสกุล เมฆกระจา่ ง วนั เดอื นปเี กิด - / - พ.ศ.2492 ทีอ่ ยู่ปจั จุบัน (ท่สี ามารถติดต่อได)้ บ้านเลขที่ 79 หมทู่ ี่ 2 ตาบล หนองกระทมุ่ อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี .รหัสไปรษณยี ์ 70140. โทรศัพท์ - ความเปน็ มาของบุคคลคลังปญั ญา นางสุ่ม เมฆกระจ่าง คือผู้ท่ีคิดค้นและได้ทดลองการสานเข่งจากไม้ไผ่ข้ึนมา เนื่องจากครอบครัวมีอาชีพ ด้านเกษตรกรรม ทาไร่ ทาสวนได้เกษตรแบบท่ัวไป ตามฤดู เพื่อลดค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิต นางสุ่ม เมฆ กระจ่าง ได้รับสืบทอดและการเรียนรู้ดัดแปลงการทาเข่งจากไม้ไผ่ และต่อยอดพัฒนามาเป็นสมัยใหม่ สามารถใช้ในครัวเรือน ชุมชน ส่งออกจาหน่ายนอกพ้ืนท่ี มีความสนใจเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างย่ังยืน ได้ ศกึ ษาหาความรเู้ กย่ี วกบั การศกึ ษาด้านเศรษฐกิจพอเพียง จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เปน็ ที่ลดต้นทุนให้กบั ครอบครัว ใชป้ ระโยชน์จากวตั ุดบิ จากธรรมชาติ วัตถุดบิ ท่ใี ชป้ ระโยชน์ในผลิตภัณฑ์ท่เี กิดจากภมู ิปัญญา ซ่ึงพนื้ ทอ่ี นื่ ไม่มี ใชป้ ระโยชน์จากวตั ุดบิ จากธรรมชาติ จากท้องถน่ิ มาเป็นผลิตภณั ฑ์ท่ีสามารถจาหน่ายได้ รายละเอยี ดของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ ดา้ นการศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติในพื้นทจี่ ริงประโยชนท์ ี่ได้จากภูมปิ ัญญาคอื สามารถนาไปปฏิบัตจิ ริงได้ รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน มีการเผยแพร่ผ่านส่ือมวลชนและส่อื อ่นื อย่างแพร่หลาย มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน ........ ครั้ง จานวน........คน มีการนาไปใช้ อื่นๆ (ระบุ)
2 ลักษณะของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมิปญั ญาให้เป็นนวัตกรรม คุณคา่ (มลู ค่า) และ ความภาคภูมิใจ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน/นวตั กรรมท่คี ิดค้นขนึ้ มาใหม่ ปัญญาท้องถ่ินด้ังเดมิ ไดร้ บั การถ่ายทอดมาจาก ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ท่ีไดพ้ ฒั นาและต่อยอด แบบเดิม คอื การใชไ้ ม้ไผน่ ามาสาร การพัฒนาตอ่ ยอดคอื การนามาสาน เพื่อใชใ้ นครัวเรือน ชุมชน และสามารถ จาหนา่ ยออกนอกพน้ื ท่ีได้ รปู ภาพเจา้ ของภมู ิปญั ญา (นางสุ่ม เมฆกระจ่าง) เจา้ ของการสานเขง่ จากไมไ้ ผ่
รปู ภาพภูมปิ ญั ญา 3
ท่ีปรึกษา คณะผจู้ ดั ทา นางสาวดารตั น์ กาญจนาภา นางสาวชาลินี ดารา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน. จังหวัดราชบรุ ี ครู รักษาในตาแหนง่ ผอ.กศน.อาเภอปากท่อ ร่าง/เรียบเรียงและจัดพิมพ์ นางสาวอมรรตั น์ ภริ มย์แกว้ ครู กศน.ตาบลหนองกระทุ่ม
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: