Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4

บทที่ 4

Published by surachat.s, 2020-04-21 05:37:31

Description: บทที่ 4

Search

Read the Text Version

41 บทที่ 4 การควบคุม และ ป้องกันโรค เน้ือหา 1. ความหมาย และ ประเภทของโรค 2. แนวโนม้ การเกดิ โรค และ การเจบ็ ป่วยในคนไทย 3. ปัจจยั ท่ีทาให้เกิดโรค 4. การถา่ ยทอดโรค 5. ธรรมชาติของการเกดิ โรค 6. หลกั และ วธิ กี ารป้องกนั และ ควบคุมโรค 7. การป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวติ ประจาวัน และ การดแู ลเบ้อื งต้น แนวคิด 1. โรค และ การเจบ็ ปว่ ย เปน็ ภาวะท่แี สดงออกถึงความไมส่ มดลุ ของร่างกาย ท่ีเกิดข้ึนเพ่ือ ตอบสนองตอ่ สงิ่ ทม่ี ากระตุ้น เมอ่ื เช้อื โรคเขา้ สู่รา่ งกาย จะเกดิ การเปลี่ยนแปลงขึน้ ในร่างกาย ซ่ึง รา่ งกายอาจแสดงออกท้งั อาการ อาการแสดง หรือความผิดปกตจิ ากการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ ภายหลงั การเกิดโรค อาจเปน็ ได้ต้ังแต่ หายจากโรค พิการ หรือ ทพุ ลภาพ หรือ ตาย 2. การเกดิ โรค เกดิ จาก ปัจจัยท่ีสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ คน ส่ิงท่ีทาใหเ้ กิดโรค และ ส่ิงแวดลอ้ ม ในภาวะปกติ ที่ 3 ปัจจัยอยใู่ นภาวะสมดุลจะไม่เกิดโรค ในภาวะท่ีปัจจัยใดปัจจยั หนง่ึ หรือหลายปัจจัย เกดิ ความไม่สมดลุ จะเกิดโรคขึน้ 3. การถา่ ยทอดโรค มที ้ังทางตรง จากบคุ คลทเ่ี ปน็ แหล่งโรค ไปยังบคุ คลท่ีมีภมู ิไวรับ ทางอ้อมที่เป็นการถ่ายทอดผ่านสือ่ กลาง เชน่ ผ่านทางน้า อาหาร พาหะนาโรค และ ถา่ ยทอดทาง อากาศ เช่นทางการไอ จาม 4. ธรรมชาตขิ องการเกดิ โรค ประกอบด้วย 4 ระยะ ไดแ้ ก่ 1) ระยะไวตอ่ การรบั เช้อื เป็น ระยะทผี่ ู้ทีม่ ภี ูมไิ วรบั มคี วามพรอ้ มในการท่จี ะรบั เช้ือโรคเข้าสรู่ ่างกายเน่อื งจากรา่ งกายมีความ อ่อนแอ 2 ) ระยะกอ่ นปรากฏอาการ ซง่ึ เรยี กวา่ ระยะฟักตวั 3) ระยะปรากฏอาการของโรค เปน็ ระยะท่ีร่างกายไมส่ ามารถทนทานตอ่ เช้ือโรคได้ จึงแสดงอาการออกมา 4) ระยะไร้ความสามารถ เป็นระยะสดุ ทา้ ย ซง่ึ ผลลพั ธ์ที่เกดิ ขึ้น จะมไี ด้ตง้ั แต่ เจบ็ ป่วยเรอ้ื รัง พิการ หรอื ตาย 5. การป้องกันโรค แบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ 1) ระดับปฐมภมู ิ เป็นการป้องกนั โรค ล่วงหนา้ ก่อนการเกิดโรค ซงึ่ ประกอบดว้ ย การป้องกนั โรคท่วั ไป และ การป้องกนั โรคเฉพาะอย่าง 2) ระดับทตุ ิยภูมิ เป็นการปอ้ งกันในระยะเกดิ โรค 3) ระดบั ตตยิ ภมู ิ เปน็ การปอ้ งกันภายหลงั ทร่ี า่ งกาย รับตัวก่อโรคเข้าสรู่ า่ งกายแลว้ เป็นการป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดอันตราย และ ความพกิ าร 6. การควบคมุ โรค เป็นการสกดั กัน้ การเพิ่มจานวนการเกิดโรค และ ไม่ให้โรคนัน้ ขยายวง กว้างออกไปในชมุ ชน จนถงึ ขั้นที่ไมส่ ามารถควบคุมได้ ในขณะที่การป้องกนั โรคสว่ นใหญ่จะตอ้ ง ดาเนนิ การก่อนพบตวั ก่อโรค หรือ กอ่ นมอี าการปว่ ย แตก่ ารควบคมุ โรคจะดาเนนิ การหลังทม่ี ีโรค เกดิ ขนึ้ แล้ว โดยมีมาตรการในการลดผลด้านการเจบ็ ปว่ ยในกลมุ่ ผู้ปว่ ย การปอ้ งกนั การถา่ ยทอดโรค ที่จะขยายตวั ออกไป และ การเพ่ิมภูมติ ้านทานใหก้ ับประชากรเสย่ี ง

42 วตั ถุประสงค์ เมอื่ ศึกษาหนว่ ยน้ี จบแลว้ นสิ ติ สามารถ 1. อธบิ าย ความหมายของ “โรค” และ ปจั จยั ทท่ี าให้เกิดโรคได้ 2. อธบิ าย ธรรมชาตขิ องการเกิดโรค และ การถ่ายทอดโรคได้ 3. อธบิ าย หลกั และ วิธีการปอ้ งกนั และ ควบคุมโรคได้ กิจกรรมระหว่างเรยี น 1. ใหน้ ิสิตจบั คู่กนั ซักถามเกี่ยวกับ การเจ็บปว่ ยในรอบปีท่ีผ่านมา และแลกเปลีย่ น ประสบการณเ์ กี่ยวกบั การป้องกัน และ ควบคุมโรคในโรคท่ีนิสิตมีประสบการณ์ คนละ 1 โรค 2. สมุ่ เลือกนิสิต 1-2 คู่ ออกมานาเสนอประสบการณ์ และ ให้นิสิตทเี่ หลือไดร้ ว่ มกนั แสดง ความคดิ เห็น และ แลกเปลยี่ น ประสบการณ์เก่ยี วกบั การเจบ็ ปว่ ย การปอ้ งกัน และ ควบคุมโรค สว่ นของเนื้อหา 1. ความหมาย และ ประเภทของโรค 1.1 ความหมายของโรค คาวา่ “โรค” ตามพจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2543 แปลว่า “ความเจบ็ ป่วย” หรือ ความเจ็บป่วยทางจติ ใจ ซงึ่ ในภาษาองั กฤษใชค้ าวา่ disease มาจาก dis + ease แปลตรงตัวว่า “ความไม่สบาย” “โรค” หมายถงึ ความเจบ็ ป่วยอันเกดิ จาก ส่งิ ทีท่ าให้เกดิ โรค กระทาต่ออวัยวะ ของร่างกาย มนษุ ย์ ในช่วงเวลาหนง่ึ แล้วก่อใหเ้ กดิ ความผิดปกติขึน้ ในร่างกาย ซึง่ แสดงออกเป็น อาการ (signs และ อาการแสดง (symptoms) หรอื พบความผดิ ปกติจาการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ซึ่งอาการ และ อาการแสดงน้ีอาจปรากฏอย่รู ะยะหน่ึง แล้ว หาย หรือ กลบั เป็นซา้ ขึน้ มาอีก หรือ อาการคงอยู่ ตลอดไป และอาจมผี ลทาให้ อวัยวะส่วนใดส่วนหน่งึ หรือทั้งร่างกาย เกิดความพกิ าร ทุพลภาพ หรือ ตาย ได้ (Beaglehole et al.,1993 ; Last, 2001) ร่างกาย ส่ิงท่ีทาให้ เป็นโรค หาย ของเรา เกิดโรค พิการ หรือ ทพุ ลภาพ ตาย รปู ที่ 1 ความหมายของ “โรค” (ดดั แปลงจาก Last, 2001)

43 1.2 ประเภทของโรค (มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2552) แบง่ ตามลักษณะความสามารถของโรคทีจ่ ะแพรต่ ิดตอ่ ไปได้ เปน็ ดงั นี้ 1. โรคติดตอ่ (Communicable disease) หมายถึงโรค เมือ่ ทาให้เกดิ การปว่ ยใน คนหนึง่ แล้วจะสามารถแพร่ติดตอ่ ไปยังคนอ่ืนตอ่ ไปได้อีกจนเกดิ โรคน้นั ๆ ขน้ึ เปน็ วงกวา้ ง มีผู้ปว่ ย เปน็ จานวนมาก เช่นหัด ไขเ้ ลือดออก อจุ จาระร่วง เอดส์ เป็นตน้ นอกจากโรคจะสามารถแพรต่ ิดต่อ จากคนไปสูค่ นดว้ ยกนั แล้ว ยังมโี รคทีส่ ามารถแพรต่ ิดตอ่ จากสตั วม์ าสูค่ นได้ เชน่ โรคฉ่หี นู โรคพิษสนุ ัข บา้ โรคพยาธิใบไม้ตบั โรคอจุ จาระรว่ ง โรคเอดส์ โรคหวัด เปน็ ตน้ 2 โรคไม่ติดตอ่ (Non communicable disease) หมายถงึ โรคที่ไมส่ ามารถแพร่ ตดิ ตอ่ จากคนหน่งึ ไปยงั อีกคนหนง่ึ ได้โรคเหล่านีม้ ักเก่ียวกับพนั ธุกรรม หรอื ความผิดปกตติ งั้ แต่เกิด เช่น โรคเบาหวาน โรคทาลสั ซเี มีย เป็นตน้ นอกจากนนั้ ยงั หมายถึง การบาดเจ็บจากจราจรทางถนน การเสยี ชีวติ จากการจมน้าในเด็ก ปญั หาสขุ ภาพจากหมอกควนั ในภาคเหนือ และ ภาคใต้ อบุ ตั ภิ ยั สารเคมี เปน็ ตน้ 2. แนวโน้มการเกดิ โรค และ การเจบ็ ป่วยในคนไทย ในสมยั ก่อนการแพทย์ และ การสาธารณสุข ยงั ไมเ่ จรญิ โรคทพ่ี บส่วนใหญ่ ที่เป็นสาเหตุของ การเจ็บป่วย และ การตาย จะเป็นโรคติดต่อ เชน่ อหิวาตกโรค ไข้ทรพษิ เป็นตน้ ต่อมามีความ เจริญก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี การแพทย์ และ การสาธารณสขุ มคี วามเจรญิ มากข้ึน มีผลทาใหก้ าร เจ็บป่วย และ การตาย ดว้ ยโรคติดต่อ ลดน้อย แตโ่ รคไม่ตดิ ตอ่ ซง่ึ ส่วนหน่งึ เกดิ จากพฤตกิ รรมกลับทวี ความรุนแรงเพม่ิ มากข้ึน เช่นพฤติกรรมการบริโภค อาหาร หวาน มัน เคม็ ความรบี เร่งในการปฏิบตั ิ กจิ วัตรประจาวัน ส่ิงแวดล้อมที่เต็มไปด้วยมลพิษ สง่ิ แวดล้อทีไ่ ม่เหมาะสม ทาใหเ้ กดิ โรคไม่ติดต่อ เกดิ ขน้ึ เชน่ เบาหวาน ทาลสั ซเี มีย และ มะเร็ง เป็นตน้ 3. ปัจจัยทีท่ าใหเ้ กิดโรค การเกิดโรคภัย ไข้เจ็บในมนุษย์นนั้ ตอ้ งเกดิ จากสาเหตุ หรอื ปจั จยั 3 อยา่ ง ได้แก่ (พิพัฒน์ ลกั ษมจี รสั กุล, 2546 ; ไพบูลย์ โลห่ ส์ ุนทร, 2552 ) 1. คน (Host) 2. ส่ิงทที่ าให้เกดิ โรค (Agent) 3. สิ่งแวดลอ้ ม (Environment) คน (Host ) สภาพร่างกายทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป ทาใหเ้ กดิ ความไวต่อการเกิดโรค เชน่ เดก็ และ ผ้สู งอายุ มีความเสี่ยงทจ่ี ะเกดิ โรคไดม้ ากกวา่ กลมุ่ อายุอืน่ ๆ เน่ืองจากเป็นกลุ่มทีม่ ีภูมติ ้นทานตา่ คุณลักษณะของ บุคคลทีส่ ่งผลใหม้ ีโอกาสเป็นโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึน้ 1. อายุ พบวา่ โรคบางอย่างพบในเด็กมากกวา่ ผ้ใู หญ่ เช่น คอตบี ไอกรน โปลโิ อ เน่อื งจากในวยั เดก็ ภมู คิ ุ้มกนั ของรา่ งกายยงั ไม่สมบรู ณ์ ทาใหภ้ ูมติ า้ นทานตา่ เม่ือไดร้ ับเชื้อโรค มี โอกาสทจี่ ะเปน็ โรคสูง เมอ่ื ได้รับวคั ซีน ทาใหภ้ มู ิคุ้มกนั ในรา่ งกายสงู ขน้ึ และ ลดตา่ ลงเม่ืออยูใ่ นวยั ผสู้ ูงอายุ ทาใหม้ ีโอกาสเสี่ยงต่อการเจบ็ ปว่ ยได้มากขนึ้ 2. เพศ โดยท่ัวไป เพศชาย มีอตั ราตาย สูงกว่าเพศหญิง เนือ่ งจากลักษณะของการ ทางาน และลักษณะของการดาเนนิ ชีวติ แต่เพศหญงิ มีอัตราปว่ ย มากกว่าเพศชาย อาจเนื่องมาจาก

44 ความสมดลุ ของฮอรโ์ มน และโดยท่ัวไปเพศหญงิ มีอตั ราการไปพบแพทย์ เพื่อตรวจสุขภาพใน ระยะแรกสงู กว่าเพศชาย 3. กรรมพนั ธุ์ โรคบางชนิดสามารถถ่ายทอดทางกรรมพนั ธุ์ ได้ เชน่ โรคเลอื ดทาลสั ซีเมยี เบาหวาน เป็นต้น 4. เชื้อชาติ คนที่ต่างเชอื้ ชาติจะมคี วามสามารถในการตา้ นทางโรคแตกต่างกัน เชน่ คนผวิ ขาวจะมคี วามสามารถต้านทานต่อวัณโรค ไดม้ ากกวา่ คนผวิ ดา 5. ภูมิต้านทานในมนุษย์ ในเด็กท่ีกนิ นมแม่ ภูมิคุม้ กันที่ผา่ นจากแม่ไปหาลกู จะอยู่ นานประมาณ 6 เดือน 6. อาชีพ ผู้ท่ีทางานเก่ียวข้องกับแบตเตอร่ี มีโอกาสท่จี ะได้รบั สารพษิ จากตะกว่ั หรือ เกษตรกร มคี วามเสย่ี งท่ีจะเกดิ โรคมะเร็งของผวิ หนงั 7. พฤตกิ รรม เชน่ พฤตกิ รรมการกินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ ก็เสีย่ งต่อการเกิดโรค พยาธิตา่ ง ๆ หรือ อาหารมีการปนเป้ือนเช้ือโรค เช่นอาหารที่มีแมลงวนั ตอม หรืออาหารทป่ี รงุ สกุ แล้ว แตท่ งิ้ ไว้คา้ งคนื หลายวัน ก็มีความเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรคในระบบทางเดนิ อาหาร เช่นโรคอุจจาระรว่ ง หรอื โรคอาหารเปน็ พษิ สิง่ ท่ีทาให้เกิดโรค (Agent) หมายถึง ตัวก่อโรค หรือ สิง่ ท่ีเปน็ ต้นเหตุที่ทาให้เกดิ โรค อาจ เป็นสงิ่ ที่มีชวี ิต หรือ ไม่มีชวี ติ กไ็ ด้ แบง่ เป็น 4 ชนิด ไดแ้ ก่ 1. สง่ิ ทท่ี าใหเ้ กดิ โรคทางชีวภาพ (biological agent) ไดแ้ ก่เชอ้ื โรคตา่ ง ไ เช่น แบคทีเรยี พยาธิ เชื้อรา ชนิดตา่ ง ๆ ริคเกตเชยี เป็นต้น 2. สิง่ ทีท่ าใหเ้ กิดโรคทางเคมี (chemical agent) หมายถึงสารเคมี ท่ีอาจเป็น อนั ตรายต่อมนษุ ย์ ได้แก่ สารพษิ ต่าง ๆ เช่นสารหนู ยาฆ่าแมลง เคร่อื งสาอาง ยารักษาโรค และ สารเคมที ี่อยูใ่ นรา่ งกายมนุษย์ที่มมี าก หรอื นอ้ ย เกินไปกก็ ่อให้เกดิ ความผดิ ปกติ ไดเ้ ชน่ ฮอร์โมน 3. สิ่งทที่ าให้เกดิ โรคทางกายภาพ (physical agent) ได้แก่ความร้อน แสง เสยี ง รงั สีตา่ ง ๆ 4. ส่ิงทีท่ าให้เกิดโรค เน่ืองจากการขาดสารทีจ่ าเป็นต่อร่างกาย (absent or insufficiency or factor necessary to health) เชน่ วติ ามินต่าง ๆ ถ้าขาดวติ ามิน ซี อาจทาให้ เกิดอาการเลอื ดออกตามไรฟัน เปน็ ต้น ส่ิงแวดล้อม (Environment) หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่อยรู่ อบ ๆ ตวั เรา ท่มี ีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การเกดิ โรค 1.สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ (physical environment) ไดแ้ ก่ สภาพท่วั ไปของที่ อยอู่ าศัย เช่นมีภาชนะเกบ็ กกั นา้ ในบ้าน ทีไ่ ม่มีฝาปิด ก็จะเออื้ ให้ยุงลายมาวางไข่ ทาให้เปน็ แหล่ง เพาะพนั ธข์ุ องพาหะนาโรค ไข้เลอื ดออก 2. สง่ิ แวดล้อมทางเคมี (chemical environment) ไดแ้ ก่ ภาวะแวดลอ้ มที่ ประกอบด้วยสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีมลี ักษณะทางเคมี ทจี่ ะนาไปสโู่ รคได้ เชน่ การพบสารเคมีบางอยา่ งใน อาหาร โดย เฉพาะอย่างยง่ิ กล่มุ ยาปฏชิ วี นะ ทจ่ี ะนาไปสู่การด้ือยาในอนาคต 3. สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (biological environment ) ได้แก่ สภาวะแวดลอ้ ม ท่ี ประกอบด้วยสิ่งมชี ีวติ ตา่ ง ๆ เชน่ เชอ้ื โรค ที่จะนาไปสูก่ ารแพร่กระจายเช้อื เช่น บริเวณทม่ี ยี งุ ลาย ชุกชมุ

45 4. สง่ิ แวดล้อมทางด้านเศรษฐกจิ และ สงั คม เปน็ สิง่ แวดล้อมที่เอ้ือต่อการเกิดโรค เช่น พฤติกรรมของกลุ่มประชากรทเ่ี ส่ียงต่อการเกดิ โรคเอดส์ ทเ่ี กดิ จากการยา้ ยถ่ินจากสงั คมชนบทสู่ สงั คมเมือง การเกดิ โรคแตล่ ะอยา่ ง เกิดจากความ ไมส่ มดุลของปัจจัยทั้ง 3 อย่าง ในภาวะปกตทิ ่ีไม่มี โรค ปจั จยั ทง้ั 3 จะมคี วามสมดุลกนั ในภาวะปกติ จะทาให้เกดิ ความไม่สมดุลกนั ซึง่ อาจทาใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงในตัวคน เช่น คนมีภูมติ า้ นทานต่อโรคตา่ เชน่ ในคนท่อี ดอาหาร หรอื อดนอนมา หลายวนั ทาให้ร่างกายอ่อนแอ เม่ือไปเยยี่ มเพ่ือน หรือผู้ป่วยอ่ืนทปี่ ว่ ยเป็นโรค เช่น ไข้หวัด กม็ ีโอกาส ทจ่ี ะตดิ เช้อื โรคจากผู้ปว่ ยไดง้ ่าย ในฤดฝู น มีฝนตกบ่อย ๆ อาจ ทกุ วนั หรือ 2-3 วัน ต่อคร้งั ทาให้มีนา้ ขังเปน็ จานวนมาก โดยเฉพาะในภาชนะที่ไม่ได้ใชแ้ ล้ว เชน่ ยางรถยนต์ แกว้ แตก ขวดแตก กะลามะพร้าว ทาให้เกิดน้าขงั ซึง่ เปน็ แหล่งเพาะพันธ์ของลูกนา้ ยงุ ลาย ท่ีเป็นพาหะของโรค ไข้เลือดออก หรือในฤดรู ้อน ในทีท่ ่ีมีอากาศรอ้ น ยุงสามารถแพรพ่ ันธ์ุไดด้ ี เน่ืองจากความร้อนทาให้ไข่ ยงุ สุกและแตกตวั ไดง้ า่ ย จงึ ทาใหม้ ปี ริมาณของยุงเป็นจานวนมาก ซ่งึ สง่ ผลทาให้ เดก็ มโี อกาสเส่ยี งตอ่ การเกิดไขเ้ ลือดออกได้ 4. การถา่ ยทอดโรค (Modes of disease transmission) (สุพินดา เตียว, 2546 ) โรคติดตอ่ มีการถา่ ยทอดโรคทั้งโดยตรง และ โดยออ้ ม ดงั นี้ 1. ถา่ ยทอดโดยตรง (direct transmission) ได้แก่การถ่ายทอดจาก บุคคลที่ เป็นแหลง่ โรค ไปยังคนท่มี ภี มู ิไวรบั โดยไม่มีสื่อกลาง เชน่ การติดตอ่ โดยการสมั ผัส การไอ จามรดกัน 2. ถา่ ยทอดทางอ้อม (indirect transmission) เปน็ การถ่ายทอดผา่ นส่อื กลาง สามารถแบ่งได้ดังน้ี 2.1 ถา่ ยทอดโดยอาศัยส่ือนาโรค เชน่ ผ่านทาง อาหาร นา้ กรณีท่เี ปน็ โรคติดตอ่ ทางเดนิ อาหาร 2.2 ถา่ ยทอดโดยอาศยั พาหะนาโรค เชน่ แมลงวนั ยุง 3. ถ่ายทอดทางอากาศ (airborne) เป็นการถา่ ยทอดทางละอองฝอย เชน่ การ ไอ หรอื จามรดกนั และ ถา่ ยทอดทางฝุ่น เช่นกรณเี ช้ือวัณโรคท่อี อกมากับเสมหะ แลว้ ตกลงสู่พืน้ ดนิ เมอ่ื แหง้ จะกลายเป็นฝ่นุ ละออง ทีส่ ามารถปลิวฟุ้งกระจายเข้าสู่ร่างกายได้ 5. ธรรมชาติของการเกิดโรค การศกึ ษาธรรมชาติของการเกดิ โรค สามารถใช้อธบิ ายแบบแผนของการเกิดโรค ซงึ่ สามารถ อธบิ ายไดท้ ั้งโรคตดิ เชอ้ื และ โรคไมต่ ิดเช้ือ โดยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ (ไพบลู ย์ โล่หส์ นุ ทร, 2552) 1. ระยะไวต่อการรับเช้ือ เป็นระยะท่ีมนษุ ยเ์ ส่ยี งต่อการสมั ผัส หรอื กาลังสมั ผสั กับ ปจั จัยเสีย่ ง เชน่ เดก็ ท่ีมภี าวะทพุ โภชนาการ หรือ ขาดอาหาร มภี ูมิไวรับต่อการตดิ เช้อื โรค ซง่ึ ทาให้ เกิดปอดบวม หรือ อจุ จาระร่วงได้โดยง่าย แตล่ ะโรคมีความแตกต่างกนั ในตามธรรมชาติของโรค ปรมิ าณของเชือ้ โรค สาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดโรค และพฤตกิ รรมของมนุษย์ รวมท้ังส่งิ แวดล้อมที่สนับสนนุ ให้เกดิ โรค 2. ระยะก่อนปรากฏอาการ มกี ารเปล่ียนแปลงทางพยาธสิ ภาพ แต่ยังไม่ปรากฏ อาการ ในโรคติดเช้ือเปน็ ระยะทเี่ ชอ้ื โรคเข้าสรู่ า่ งกาย และมีการเพิ่มจานวนของเชอ้ื โรค แตไ่ ม่

46 สามารถตรวจพบอาการของการติดเชื้อ จงึ เรียกระยะนวี้ า่ “ระยะฟักตัว” ในโรคไม่ตดิ ต่อ ระยะนม้ี ี ระยะเวลาไม่แน่นอน ตา่ งจากโรคติดเชื้อท่มี ีระยะเวลาท่ีแน่นอน 3. ระยะปรากฏอาการของโรค เปน็ ระยะท่ีร่างกายไม่สามารถทนต่อการรุกราน ของเช้ือโรค ได้ ทาใหร้ ่างกายปรากฏอาการ และ อาการแสดง ผู้ปว่ ยในระยะนี้แบ่งเปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ 3.1 กลุม่ ท่หี ายไปไดเ้ อง ในบางครง้ั โรคจะหายไปไดเ้ อง ต้ังแต่อยู่ในระยะ กอ่ นปรากฏอาการ ทงั้ นข้ี ้ึนอยกู่ บั วา่ ผปู้ ่วยไดด้ แู ลตนเองจนสามารถปรบั ตวั ให้ผา่ นพน้ ภาวะท่ไี ม่สมดุล นไ้ี ดเ้ ร็วเพียงใด 3.2 กลุ่มทีร่ ักษาด้วยวิธกี ารที่ไมส่ ลับซบั ซ้อน เช่นรบั ประทานยากห็ าย ผ้ปู ่วยกล่มุ นีต้ ้องไดร้ ับการวินิจฉัยโรคแต่เรม่ิ แรก กอ่ นทีพ่ ยาธสิ ภาพของโรคจะรนุ แรง การได้รับการ รักษาท่ีทนั ท่วงที การหลกี เล่ียงปัจจยั ท่ีทาให้อาการผู้ปว่ ยเลวลง จะทาให้ผปู้ ว่ ยหายจากโรคไดเ้ ร็วขน้ึ 3.3 กล่มุ ท่ีตอ้ งรกั ษาด้วยวิธกี ารทยี่ ่งุ ยาก เชน่ การผา่ ตัดรว่ มกบั การให้ยา หรอื รว่ มกับการฉายแสง หรอื วิธีการอน่ื ๆ กล่มุ นมี้ ักเป็นกลุ่มทไ่ี ม่สนใจตัวเอง หรือกลมุ่ ที่ดอ้ ยโอกาส ในการเขา้ รับบริการสขุ ภาพ ไดร้ ับการตรวจวินิจฉยั ชา้ ปล่อยใหต้ นเองมีอาการมากเขา้ จึงเข้ารบั การ ตรวจวินิจฉัย หรอื ในบางกรณีมกี ารดาเนินโรคเรว็ ทาให้มอี าการรุนแรง ในระยะส้ัน ๆ เช่นโรคฉห่ี นู ที่ เชอ้ื โรคเขา้ ไปทาลาย ปอดตบั หรอื ไต ทาใหเ้ สียชีวิตไดโ้ ดยงา่ ย 4. ระยะไรค้ วามสามารถ เป็นระยะที่โรคเขา้ มาสู่ระยะสุดทา้ ย ผลลพั ธ์ของโรคใน ระยะน้ี ข้ึนอยกู่ ับชนิดของเชือ้ โรค สาเหตุของโรค การไดร้ บั การรักษาทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ และการรกั ษา ทท่ี นั ท่วงที ตลอดจนการฟ้นื ฟูสภาพ รวมทงั้ พฤตกิ รรมของผปู้ ่วย ทีจ่ ะส่งเสริม หรอื ยบั ยั้งความ รุนแรงของโรคด้วยตนเอง ผลทเี่ กิดในระยะน้ี ไดแ้ ก่ ตาย เจบ็ ปว่ ยเรือ้ รงั มคี วามพกิ าร และทด่ี ที ่ีสดุ คอื หายจากโรค 6. หลกั และวิธกี ารป้องกัน และ ควบคุมโรค ความหมาย และ ความสาคัญของการป้องกนั โรค การปอ้ งกนั โรค หมายถึง การดาเนินการใด ๆ เพ่อื สกดั กัน้ ไมใ่ ห้เกดิ โรค กบั บคุ คล ไปจนถึง การหยดุ ยงั้ การลุกลามของโรค ไม่ให้เกิดผลเสียตอ่ ผู้ปว่ ย รวมท้งั การสกดั กัน้ ไม่ให้เกิดโรค กบั คน จานวนมากในชุมชน ด้วย หลักการดาเนินงานในการปอ้ งกนั โรค (อัมพร เจรญิ ชัย และ เปรอื่ งจิตร ฆารรศั มี ,2545) การปอ้ งกนั โรคมหี ลักทส่ี าคัญคอื ต้องแก้ไขที่ปจั จยั ทม่ี ผี ลต่อการเจ็บป่วย โดยตอ้ งดาเนินการ โดยมุ่งท่กี ารปรบั ปรุงปจั จัยท่ีเปน็ ต้นเหตุของการเกดิ โรค ตัง้ แต่การสกดั ไมใ่ ห้ตวั ก่อโรคเขา้ สู่ร่างกายผู้ มภี ูมไิ วรับ ลดประมาณตัวก่อโรคในแหล่งโรค สกัดก้นั ไม่ให้ตวั กอ่ โรคออกจากแหล่งโรค ไปเข้าสู่ รา่ งกายผมู้ ภี มู ิไวรับ เพิ่มความตา้ นทานใหแ้ ก่ผู้ทม่ี ภี ูมิไวรับ แก้ไขสภาพแวดลอ้ มไม่ให้อานวยต่อการ เพมิ่ ปรมิ าณตวั ก่อโรค และ สัตว์นาโรคต่าง ๆ และ ในที่สุดตอ้ งมีการปรับสภาพร่างกาย ผ้ทู ่ีมภี มู ไิ วรับ ให้สามารถตา้ นทานโรค ไม่ให้ดาเนินต่อไปได้ ระดับของการดาเนินการปอ้ งกันโรค แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดบั ปฐมภมู ิ (primary prevention) เป็นการป้องกนั โรคลว่ งหน้า เป็นการปอ้ งกัน โรคกอ่ นระยะเกิดโรค เปน็ วธิ กี ารทยี่ อมรับว่ามีประสิทธภิ าพมาก ประหยดั ทส่ี ุด และได้ผลมากท่ีสุด ซ่งึ สามารถแบ่งกิจกรรมออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

47 1.1 การป้องกนั โรคทั่วไป ไดแ้ กก่ จิ กรรมต่าง ๆ ทส่ี ่งเสริมสุขภาพ ทงั้ ทางร่างกาย และ จติ ใจ ไดแ้ ก่ 1.1.1 การใหส้ ขุ ศึกษา เกย่ี วกับความรทู้ วั่ ไปในการป้องกันโรค การ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ และการปรับตวั ให้ถูกหลักสขุ วิทยาส่วนบคุ คล และชมุ ชน 1.1.2 การจัดโภชนาการใหถ้ ูกต้องตามมาตรฐาน เหมาะสมกับกลุม่ อายุ เช่น การรับประทานอาหารใหค้ รบท้ัง 5 หมู่ รับประทานอาหารให้ครบท้งั 3 มื้อ ในจานวนท่ี พอเหมาะกบั ร่างกาย และ ปริมาณงานท่ที าในแตล่ ะวนั 1.1.3 กจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมในด้านการเลยี้ งดูเด็กทถี่ ูกต้อง ท้ังการเจรญิ เติบโตในด้านรา่ งกาย และ จิตใจ 1.1.4 การจดั ท่ีอยู่อาศยั ใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ รวมทัง้ การประกอบอาชีพที่ ปลอดภยั และ เหมาะสม 1.1.5 การจัดใหม้ ีบริการดา้ นตรวจสขุ ภาพอนามัย โดยเฉพาะในเด็กเล็ก หรอื เด็กนักเรียน และในกลุ่มผู้ใหญค่ วรมีการตรวจสุขภาพปลี ะ 1 ครั้ง 1.1.6 การจัดใหม้ ีบรกิ ารดา้ นการใหค้ าปรึกษา และ แนะนาเกี่ยวกับ เพศศึกษา การสมรส การส่งเสริมสขุ ภาพจิต การให้ความรู้เกย่ี วกับการป้องกัน และ การโภชนาการ 1.2 การป้องกนั เฉพาะอยา่ ง ได้แก่กจิ กรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสรมิ ให้ร่างกายมีความ ตา้ นทานต่อโรคตา่ ง ๆ การปรับปรงุ ส่งิ แวดลอ้ มไมใ่ หเ้ ป็นแหลง่ แพรโ่ รค ไดแ้ กก่ ิจกรรมต่าง ๆ ที่ เกีย่ วขอ้ งกบั 1.2.1 การให้ภูมคิ มุ้ กันเพ่ือป้องกนั โรคติดต่อตา่ ง ๆ ท่สี ามารถป้องกนั ได้ ดว้ ยวคั ซนี ได้แก่วคั ซีนข้นั พืน้ ฐานสาหรบั เดก็ และ วัคซีนขั้นเสริม สาหรบั กลุ่มตา่ ง ๆ ทีม่ ีความเสย่ี ง ตอ่ การเกิดโรค เช่น วณั โรค คอตบี ไอกรน บาดทะยัก ตบั อักเสบ คางทูม หดั หัดเยอรมัน ไข้สมอง อกั เสบ ทใ่ี ห้ในเด็ก หรือ วคั ซีนชนิดอื่นทใ่ี ห้เพอื่ ป้องกนั เชน่ วัคซนี ป้องกันไขห้ วัด 2009 ไข้หวัดใหญ่ ในกลมุ่ ผู้ท่มี ีความเส่ยี งต่อการเกิดโรคเชน่ ผู้ที่ปว่ ยด้วยโรคเรอ้ื รัง เช่น เบาหวาน ผ้สู ูงอายุ เป็นตน้ หรอื การใช้อุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ เช่น การใช้ถุงยางอนามยั ปอ้ งกันโรคเอดส์ และ โรคติดต่อทาง เพศสมั พนั ธ์ การใส่แวน่ ดา หรอื หนา้ กากเช่อื มโลหะ เพ่ือปอ้ งกันสายตาจากประกายไฟเช่ือมโลหะ 1.2.2 การจดั หรอื ปรบั ปรงุ สขุ าภิบาลส่ิงแวดลอ้ ม ได้แก่การจัดหานา้ สะอาด การกาจดั ของเสยี และ สิง่ ปฏกิ ูล การสขุ าภบิ าลอาหาร การกาจัด และ ควบคุมมลพษิ การกาจัด หรือ ควบคมุ สตั ว์ และ แมลงนาโรค การควบคมุ ส่งิ ท่ีก่อให้เกดความราคาญต่าง ๆ 1.2.3 การจัดบรกิ ารให้ความปลอดภัย ในด้านการป้องกนั อุบตั ภิ ัยจากการ ประกอบอาชีพ การจราจร การเดนิ ทางท่องเท่ียว 2. ระดบั ทุติยภมู ิ (secondary prevention) เปน็ การป้องกนั ในระยะเกิดโรค เมอ่ื เกิด โรคขน้ึ จดุ มุ่งหมายทสี่ าคัญคือ การระงบั กระบวนการดาเนินของโรค การปอ้ งกนั การแพรเ่ ชอื้ และ การระบาดของโรค ไปยังบุคคลอื่น ๆ ในชุมชน โดยมมี าตรการดงั นี้ 2.1 การคน้ หาผปู้ ว่ ยในระยะเริ่มแรก โดยเฉพาะโรคติดต่อท่ีรา้ ยแรง เพ่ือป้องกัน ไมใ่ ห้เชือ้ โรคแพร่กระจายไปสู่ ผู้อ่ืน นอกจากนนั้ ยงั สามารถระงบั กระบวนการดาเนนิ ของโรคได้ เพอื่ ใหก้ ารรักษาที่ถกู ต้อง และปอ้ งกนั ไมใ่ ห้โรคตดิ ต่อไปยงั ผ้อู ืน่ 2.2 การวินิจฉยั โรค และการรักษาท่ีทนั ทว่ งที จะทาให้สามารถรักษาโรคได้ถูกต้อง และ มปี ระสิทธภิ าพ

48 2.3 การปอ้ งกันการแพรเ่ ชื้อ ที่อาจแพรก่ ระจายไปสู่บคุ คลอนื่ ในชุมชน เชน่ การ ควบคุมสัตว์ แมลงนาโรค การทาให้น้าสะอาดปราศจากเชื้อโรค การสุขาภบิ าลอาหาร เช่น ปกปดิ อาหารจากแมลง หรือ สัตวน์ าโรค เชน่ แมลงสาบ หรอื หนู การสขุ าภิบาลส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ การ กาจัด ขยะ ตามประเภทของขยะ เช่น ขยะเปียก นามาทาเปน็ ปยุ๋ หรือฝัง ขยะแหง้ ในส่วนทส่ี ามารถ นามาใชไ้ ด้อีก เชน่ กระดาษหนา้ เดยี ว ขวดแกว้ เปน็ ต้น 2.4 ใชม้ าตรการทางกฎหมาย โดยเฉพาะโรคตดิ ต่อทรี่ ้ายแรง และ อาจส่งผล กระทบตอ่ คนหมมู่ าก เชน่ โรคไข้หวดั 2009 เปน็ ต้น 3. ระดบั ตตยิ ภูมิ ( tertiary prevention) เป็นการป้องกนั ในระยะหลงั ภายหลงั จากที่ ไดร้ ับตัวก่อโรคเข้าไป และเกิดอาการของโรคขน้ึ แล้ว การดาเนนิ การป้องกนั ไมใ่ ห้เกิดอันตรายต่อ ผปู้ ว่ ยจนถงึ พิการในท่ีสุด ตัวอย่างเชน่ ในกรณผี ู้ประสบอบุ ัติเหตุรถยนต์ และไดร้ บั อันตรายจนเกดิ การบาดเจ็บที่ศีรษะอยา่ งรุนแรงจนหมดสติ การดแู ลประคับประคองในระยะหมดสติ เพื่อป้องกัน สมองตาย จนผูป้ ว่ ยเกดิ ความพกิ าร เม่ือฟ้นื รู้สึกตัวภายหลัง ถือว่าเปน็ การป้องกันในระยะ ตตยิ ภูมิ ซงึ่ มาตรการในการป้องกัน เป็นการปอ้ งกันความพิการ และใหก้ ารฟ้ืนฟูสภาพตัง้ แตเ่ นน่ิ ๆ 6. การควบคุมโรค (มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, 2552 ) การควบคมุ โรคเป็นมาตรการที่มจี ดุ มุ่งหมาย เพ่ือสกัดกน้ั การเพิ่มจานวนการเกิดโรค และ ไม่ให้โรคนนั้ ขยายวงกวา้ งออกไปในชุมชน จนถึงขน้ั ทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้ ในขณะท่กี ารป้องกนั โรค สว่ นใหญ่จะต้องดาเนินการกอ่ นพบตวั ก่อโรค หรอื ก่อนมีอาการป่วย แตก่ ารควบคมุ โรคจะ ดาเนนิ การหลังท่ีมโี รคเกดิ ขึน้ แล้ว แต่การป้องกัน และ ควบคุมโรคมจี ุดมุ่งหมายเดียวกันคอื การ ยบั ยง้ั ไมใ่ ห้เกิดอนั ตรายกบั บุคคลและ ชุมชนจากการเกิดโรค โดยเน้นการควบคมุ ไม่ใหต้ วั กอ่ โรคออก จากแหลง่ โรค ไปยังบุคคลอน่ื ขั้นตอนในการควบคุมโรค เมือ่ พบผู้ป่วยท่ีไดร้ ับตวั กอ่ โรคเข้าไปในร่างกาย จนกระท่ังมีการเปลย่ี นแปลงทางพยาธสิ ภาพ ของร่างกาย และ แสดงอาการ และ อาการแสดงใหเ้ ห็นไดใ้ นท่สี ดุ ตอ้ งดาเนินการดงั น้ี 1. พยายามลดผลดา้ นการเจบ็ ปว่ ยในกลุ่มผู้ปว่ ย ผู้ปว่ ย เปน็ กลมุ่ ทีม่ ีตวั กอ่ โรคอยู่ ในรา่ งกาย ท่ีพร้อมจะถา่ ยทอดไปยังผูท้ มี่ ีภมู ิไวรับ หรอื ผทู้ ีม่ ีสภาพรา่ งกายออ่ นแอ การดาเนนิ การวบ คมุ โรคในเบื้องต้น เป็นบทบาทของบุคลากรทางดา้ นสุขภาพทีต่ ้อง เตรยี มการด้านการวนิ ิจฉัยโรค และ เตรยี มการดา้ นการรักษาโรค เพือ่ ลดผลด้านการเจบ็ ป่วยในกลุ่มผู้ปว่ ย 2. ปอ้ งกันการถ่ายทอดโรคท่ีจะขยายตัวออกไป ได้แก่ 2.1 การกาจดั แหลง่ รังโรค กรณที แ่ี หล่งรงั โรคที่เปน็ สัตว์ หรอื แมลงนาโรค เช่น ยุงลาย นาโรคไข้เลอื ดออก ซง่ึ ปกติยุงลาจะวางไขใ่ นน้าสะอาด ตามภาชนะบรรจนุ า้ ที่อยูท่ ง้ั ใน และ นอกบรเิ วณบา้ น และในภาชนะท่ไี ม่ใช้แล้วเช่น ขวดแตก ยางรถยนต์ทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ ซง่ึ ภาชนะ ดังกลา่ วอาจอยู่ในสวน หรือในท่ีทีร่ กรุงรงั ไม่ได้มีการทาความสะอาดเปน็ ประจา การทาลายแหล่ง สามารถทาได้โดยการปรับปรุงสุขาภบิ าลส่งิ แวดลอ้ ม การคว่าภาชนะท่ีมนี ้าขงั ภาชนะบรรจุน้าใน บ้านควรมฝี าปิด หากเปน็ ภาชนะบรรจุน้าทีไ่ มม่ ีฝาปิด เชน่ อา่ งน้าในห้องนา้ อาจใสท่ รายอะเบท ท่มี ี คณุ สมบัตใิ นการฆ่าลกู นา้ ของยุงลาย หรอื ใสป่ ลาหางนกยงู เพ่ือให้กนิ ลูกนา้ ยุงลาย เป็นตน้ 2.2 การลดความสามารถในการแพร่ติดต่อของโรค เป็นการดาเนินการ ทาใหต้ วั ก่อโรคมีระยะในการแพร่ติดต่อสั้นลง เช่น กรณีการใหว้ ัคซนี โปลโิ อชนดิ กิน ในพื้นท่ที ี่พบ ผู้ปว่ ยโปลิโอเป็นประจา มผี ลทาใหเ้ ชื้อโปลิโอท่ีหลบซ่อนอยู่ในตัวคน ถูกทาลาย ซ่ึงมีผลทาใหโ้ อกาส

49 ในการแพรต่ ดิ ต่อลดสนั้ ลงดว้ ย ซึง่ การดาเนินการในลักษณะนตี้ ้องมกี ารดาเนินการติดตอ่ กันหลายปี จนสามารถกวาดลา้ งโรคได้ 2.3 การแยกแหล่งรังโรคออกจากผทู้ มี่ ีภมู ิไวรับ หรือ ผู้ทมี่ รี ่างกายออ่ นแอ พร้อมทจ่ี ะรับเชื้อโรค เป็นการดาเนินการเพ่ือลดการถ่ายทอดเชื้อทีเ่ ปน็ ตัวก่อโรคให้มีโอกาสสัมผสั กับ ผูท้ ม่ี ีภมู ไิ วรบั น้อยลง เชน่ การรบั ผู้ปว่ ยเขา้ รับการรกั ษาในโรงพยาบาล เพื่อแยกผปู้ ว่ ยให้ออกจากคน ปกติ หรือ ผทู้ ี่มีภมู ิไวรับ 2.4 การแยกกกั โรค (Isolation) เป็นมาตรการทีใ่ ชก้ ับผ้ปู ว่ ย เพอ่ื แยก ผู้ป่วยไมใ่ ห้แพร่ติดตอ่ ไปยังผู้อื่น ซง่ึ ต้องมีมาตรการเพ่ือให้แน่ใจวา่ เชอื้ โรคจะไม่แพร่ไปสู่ผู้อน่ื 2.5 การสุขาภิบาลส่ิงแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การควบคุมสัตวน์ าโรค การกาจัด ขยะสิ่งปฏกิ ลู การจัดหาน้ากิน นา้ ใชท้ ่ีสะอาด การสขุ าภบิ าลอาหาร การดาเนนิ การดา้ นสุขาภบิ าล เหลา่ น้ีมคี วามสาคัญอยา่ งยิ่งในการควบคุมโรคตดิ ตอ่ ทางอาหารและ นา้ เช่น โรคอาหารเป็นพษิ อจุ จาระร่วง เปน็ ต้น 3. เพม่ิ ภมู ิต้านทานใหก้ ับประชากรเสี่ยง เพอ่ื ให้สามารถต้านทานการติดโรคได้ ไดแ้ ก่ การสร้างเสรมิ ภมู คิ ุ้มกันโรค วัคซีนที่สาคญั เช่น คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก หัดเยอรมัน เป็นต้น 7. การป้องกนั โรคท่ีพบบ่อยในชีวิตประจาวนั และ การดูแลเบื้องต้น โรคทพี่ บบอ่ ย ส่วนใหญ่เปน็ โรคในระบบทางเดินหายใจ เชน่ โรคไขห้ วดั ไขห้ วัดใหญ่ โรคตดิ ต่อทางอาหารและ นา้ เชน่ โรคอจุ จาระร่วง อาหารเป็นพษิ โรคตดิ ต่อทนี่ าโดยแมลง เชน่ โรค ไข้เลือดออก และ โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ ไขห้ วัด (Cold) เปน็ การตดิ เชื้อ ของจมูก และ คอ บางครัง้ เรยี ก upper respiratory tract infection เกดิ จากเชื้อไวรสั เมือ่ เช้อื โรคเข้าส่รู า่ งกาย จะทาใหเ้ ยื่อจมูก บวม แดง มีการหล่งั ของเมือกออกมา ผูป้ ว่ ยจะมีอาหารน้ามกู ไหล ไข้ไมส่ งู มาก เปน็ โรคที่สามารถหายไดเ้ อง ภายใน 1 สัปดาห์ โดยปกติในผใู้ หญ่จะเป็นประมาณ เฉลี่ย 2-4 คร้ัง ต่อ ปี โรคไข้หวดั มคี วามแตกต่างจาก ไขห้ วดั ใหญ่ ไข้หวดั ใหญ่ จะมไี ขส้ งู ประมาณ 3-4 วนั ปวดศรี ษะมาก ออ่ นเพลยี ปวดเมือ่ ยตามตัวซงึ่ พบได้บ่อย การตดิ ตอ่ เชือ้ น้ีตดิ ต่อได้ง่าย ในทางเดินหายใจ โดยการไอ หรอื จาม เชอื้ โรคจะเข้าทางเยือ่ บุ ตา และ ปาก สัมผัสเชอื้ โรคในผ้ปู ่วยทางแกว้ นา้ เส้อื ผา้ การจูบ และ สมั ผัสทางมือท่ีปนเป้ือนกบั เช้ือโรค การป้องกนั ควรลา้ งมือบอ่ ย ๆ ไมค่ วรเอามอื เขา้ ปาก หรือ ขยตี้ า ไม่ควรใช้ของสว่ นตวั เช่น ผ้าเชด็ หน้า แกว้ นา้ รว่ มกับผอู้ ื่น หลีกเล่ียงการสมั ผัสใกลช้ กิ บั ผูป้ ว่ ย เมื่อมีอาการป่วยควรหยุด พกั ทบ่ี ้าน เวลา ไอ หรือ จาม ควรใชผ้ ้าปดิ ปาก และ จมูก ทกุ ครั้ง การปอ้ งกนั ไขห้ วดั ใหญ่ โดยการฉดี วคั ซนี เปน็ วัคซีนทที่ าจากเชือ้ ท่ีตายแล้ว ฉีดปลี ะ 1 คร้งั แต่การฉดี ต้องเลือกผู้ป่วยดงั ต่อไปนี้ 1. ผูท้ ม่ี อี ายุ มากกวา่ 50 ปี 2. ผทู้ มี่ โี รคเรอ้ื รงั ประจาตวั เชน่ โรคไต โรคหวั ใจ โรคตับ เบาหวาน เอดส์ 3. หญิงตั้งครรภ์ ตัง้ แต่ 3 เดือน ขน้ึ ไป และมกี ารระบาดของไข้หวัดใหญ่ 4. ผู้ทอี่ าศยั ในสถานเลี้ยงคนชรา 5. เจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ ทีด่ แู ลผ้ปู ่วยเร้อื รงั 6. นกั เรยี นท่อี ยู่รวมกัน

50 7. ผ้ทู ีจ่ ะเดนิ ทางไปยังพืน้ ที่ ที่มกี ารระบาดของไข้หวดั ใหญ่ โรคติดต่อทางอาหารและน้า โรคติดต่อทางอาหารและ นา้ ท่พี บบ่อยได้แก่โรคอุจจาระร่วง และ โรคอาหารเป็นพิษ โรคอุจจาระรว่ ง หมายถึง ภาวะทมี่ กี ารถา่ ยอจุ จาระเหลว จานวน 3 ครง้ั ต่อกันหรือ มากกว่า หรือถา่ ยเปน็ นา้ มากกว่า 1 คร้ัง ใน 1 วัน หรอื ถ่ายเปน็ มูกหรือปนเลอื ดอย่างน้อย 1 คร้งั สาเหตุเกิดจากการติดเชือ้ ในลาไส้จากเชื้อแบคทีเรยี ไวรสั โปรโตซัว ปรสติ และหนอนพยาธิ การติดตอ่ ของโรค โดยการรบั ประทานอาหารหรอื ด่มื นา้ ที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมากบั อจุ จาระของผูป้ ่วย ระยะฟักตัวของโรค อาจสัน้ 10-12 ชั่วโมง หรอื 24-72 ช่ัวโมง ขึ้นกับชนดิ ของเชื้อกอ่ โรค อาการและอาการแสดง อาการอจุ จาระร่วงเปน็ น้า ปวดท้อง คล่ืนไส้ อาเจียน การป้องกันโรคติดต่อทางอาหารและน้า 1. เลอื กอาหารทผ่ี ่านกระบวนการผลิตอย่างปลอดภยั เชน่ เลอื กนมทผ่ี า่ นกระบวนการพาส เจอร์ไรซ์ ผักผลไม้ควรลา้ งด้วยน้าปรมิ าณมากๆ ให้สะอาดทัว่ ถึง 2. ปรุงอาหารใหส้ ุกทั่วถงึ ก่อนรบั ประทาน 3. รบั ประทานอาหารท่ีปรุงสกุ ใหม่ๆ 4. หากมคี วามจาเป็นตอ้ งเกบ็ อาหารทปี่ รงุ สุกไวน้ านกว่า 4-5 ช่ัวโมง ควรเกบ็ ไวใ้ นตู้เยน็ และ ก่อนที่จะนาอาหารมารบั ประทานความอนุ่ ให้ร้อน 5. ไมน่ าอาหารที่ปรุงสุกแลว้ มาปนกบั อาหารดิบอกี เพราะอาหารท่สี ุกอาจปนเป้ือนเช้ือโรคได้ 6. ล้างมอื ให้สะอาด ไม่วา่ จะเปน็ ก่อนการปรุงอาหาร กอ่ นรบั ประทาน และโดยเฉพาะหลัง การเข้าห้องน้า 7. ดูแลความสะอาดของพ้ืนท่ีสาหรับเตรยี มอาหาร ล้างทาความสะอาดหลงั การใช้ทกุ ครง้ั 8. เกบ็ อาหารใหป้ ลอดภัยจากแมลง หนู หรอื สตั วอ์ ่ืนๆ 9. ใชน้ ้าสะอาดในการปรงุ อาหาร และควรระวงั เปน็ พิเศษในการใชน้ ้าเพื่อเตรียมอาหารเดก็ ทารกได้ เมื่อมีอาการอจุ จาระร่วง ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. ใหส้ ารนา้ ละลายเกลอื แรโ่ อ อาร์ เอส หรอื ของเหลวมากกวา่ ปกติ เพื่อป้องกนั การขาดน้า 2. ให้อาหารอ่อนย่อยงา่ ย เชน่ ขา้ วตม้ โจก๊ หรอื นา้ ข้าว หรือแกงจืด ไมง่ ดอาหาร เพื่อ ปอ้ งกันการขาดสารอาหาร 3. เมื่ออาการโรคอุจจาระรว่ งไม่ดีขึน้ กค็ วรไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรอื แพทย์ไดแ้ ก่ ถ่าย เป็นนา้ มากขนึ้ อาเจยี นบอ่ ย กนิ อาหารไมไ่ ด้ กระหายนา้ กวา่ ปกติ มีไขส้ งู ถ่ายอุจจาระเป็นมูก หรอื ปนเลือด โรคตดิ ตอ่ ที่นาโดยแมลง โรคติดต่อทนี่ าโดยแมลง ท่ีพบบอ่ ยได้แกโ่ รค ไข้เลอื ดออก ไขม้ าลาเรยี โดยเฉพาะโรค ไข้เลอื ดออก พบว่าพบในกลุ่มอายทุ ีม่ ีอายมุ ากข้นึ

51 ไข้เลือดออก สาเหตุโรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดตอ่ ที่เกดิ จากยุงลาย ตัวเมยี บินไปกัดคนท่ปี ว่ ย เปน็ ไขเ้ ลือดออกโดยเฉพาะช่วงทมี่ ีไข้สงู เชือ้ ไวรัส จะเพ่ิมจานวนในตวั ยงุ ประมาณ 8-10 วนั เมอ่ื ยงุ กดั คนกจ็ ะแพรเ่ ชอื้ สู่คน เชื้อจะอยใู่ นร่างกายคนประมาณ 2-7 วันในชว่ งทีม่ ีไข้ หากยุงกดั คนในช่วงนี้ กจ็ ะรับเชือ้ ไวรัสมาแพร่ให้กบั คนอน่ื ได้ ซง่ึ ส่วนใหญ่มักจะเปน็ เดก็ โรคน้รี ะบาดในฤดูฝน ยุงลายชอบ ออกหากินในเวลากลางวันตามบา้ นเรอื น และโรงเรยี น ชอบวางไขต่ ามภาชนะท่ีมีน้าขัง เช่น ยาง รถยนต์ กะลา กระป๋อง จานรองขาตู้กบั ข้าว แตไ่ มช่ อบวางไข่ในท่อระบายน้า ห้วย หนอง คลอง บงึ อาการ อาการของไขเ้ ลอื ดออกไมจ่ าเพาะ อาการมีได้หลายอย่าง ในเดก็ อาจจะมีเพียง อาการไขแ้ ละผน่ื ในผใู้ หญ่อาจจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดตามตวั ปวดกระบอกตา ปวดกลา้ มเนือ้ หากไม่คดิ โรคนอ้ี าจจะทาใหก้ ารรกั ษาช้า ผู้ปว่ ยอาจจะเสยี ชีวติ ลกั ษณะที่สาคัญของไข้เลือกออกคือ ไข้สูงเฉียบพลัน ประมาณ 2-7 วนั เบื่ออาหาร หนา้ แดง ปวดศรี ษะ รว่ มกับอาการคลื่นไส้ อาเจียน และอาจมีอาการปวดทอ้ งรว่ มด้วย บางรายอาจมีจุดเลือดสแี ดงข้ึนตามลาตัว แขน ขา อาจ มกี าเดาออก หรอื เลอื ดออกตามไรฟัน และถ่ายอุจาระดาเน่ืองจากเลือดออก และอาจทาใหเ้ กดิ อาการช็อกได้ ในรายท่ชี อ็ กจะสังเกตไดจ้ ากไขจ้ ะลดแต่ผู้ป่วยซึมลง ตวั เย็น หมดสตแิ ละเสยี ชวี ิตได้ การป้องกนั 1. กาจดั แหล่งเพาะพันธ์ยุ ุง เช่น กะละ ยาง กระป๋อง 2. หาฝาปดิ ภาชนะบรรจนุ ้า เช่น โอง่ ถงั น้า หรือใส่ ทรายอะเบท เพื่อกาจัดลูกน้ายุงลาย 3. ในแหล่งนา้ สาธารณะอาจจะเล้ียงปลาเพอ่ื กนิ ลกู น้า 4. ปรบั ปรงุ สขุ าภบิ าลส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือกาจัดแหลง่ เพาะพนั ธยุ์ ุง สรุป การเจบ็ ปว่ ย เป็นภาวะทแ่ี สดงออกถึงความไมส่ มดุลของรา่ งกาย ซงึ่ โรคท่ีเกดิ จากการ เจ็บป่วยจะมีทงั้ โรคตดิ ตอ่ และโรคไม่ตดิ ตอ่ การมีความรู้เก่ียวกับธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค การถา่ ยทอด โรค จะนาไปสู่ การป้องกนั โรคที่ถูกตอ้ ง ซ่ึงการป้องกนั โรคทม่ี ปี ระสิทธิภาพมากท่สี ุด คือการปอ้ งกนั โรคปฐมภูมิ หรือ การป้องกนั โรค ต้ังแตท่ ยี่ งั ไม่เกิดโรค แต่ เม่อื ไมส่ ามารถป้องกนั การเกดิ โรคได้ และ มีการเกิดโรคในบุคคลแลว้ ก็ต้องมีการควบคุมโรค เพื่อไมใ่ หเ้ กิด การแพร่กระจายของโรค ซงึ่ จะ สง่ ผลกระทบทั้งในบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน และอาจสง่ ผลกระทบถึงการท่องเท่ียว เศรษฐกิจ และ สงั คมได้ในทสี่ ดุ เอกสารอ้างองิ ฤทัยพร ตรีตรง และ ผจงศลิ ป์ เพิงมาก. ระบาดวิทยา : แนวคดิ พ้ืนฐาน และ แนวทางการนาไปใช้ . ภาควชิ าพยาบาลสาธารณสุข คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์,2550 . พันธุท์ ิพย์ รามสตู . ระบาดวิทยาสงั คม. กรุงเทพ : พ.ี เอ.ลิฟว่ิง, 2540. พิพฒั น์ ลักษมีจรัสกุล. (2546). วทิ ยาการระบาด : ประยกุ ตใ์ นงานโรคติดเช้ือ. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 4. กรงุ เทพ ฯ : เจริญดกี ารพิมพ.์ ไพบูลย์ โล่หส์ ุนทร. ระบาดวิทยา . พมิ พ์ครั้งที่ 7. กรงุ เทพ : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,2552.

52 มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. เอกสารประกอบการสอนชุดวชิ า การสาธารณสุข ท่ัวไป หนว่ ยท่ี 1– 7 . พิมพ์ครงั้ ที 8 .นนทบุรี : สานกั พิมพ์ หาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช,2552. สุพินดา แซ่เตียว. การจดั การดา้ นสุขภาพอนามยั . กรงุ เทพ : โรงพิมพ์ประสานมติ ร จากัด,2546. อมั พร เจรญิ ชัย และ เปร่ืองจิตร ฆารรศั มี. (2545) . เอกสารประกอบการสอนวชิ าการ พยาบาลชมุ ชน 2. ภาควชิ าพยาบาลสาธารณสขุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. Beaglehole, R., Bonita, R., & Kjellstrom, T., (1996). Basic epidemiology. Geneva : World Health Organization. Last, J.M. (2001). A dictionary of epidemiology. (4th ed). New York : Oxford University Press. แนะนาเว็บไซต์ท่คี วรศกึ ษาเพม่ิ เติม http://www.moph.go.th/ กระทรวงสาธารณสขุ http://www.thaincd.com/ สานกั โรคไม่ตดิ ต่อ http://www.boe.moph.go.th/ สานักระบาดวทิ ยา http://beid.ddc.moph.go.th / สานักโรคตดิ ตอ่ อุบัตใิ หม่ http://www.kmddc.go.th / สานกั จัดการความรู้ กรมควบคมุ โรคตดิ ต่อ http://www.aidsthai.org/ สานกั โรคเอดส์ วณั โรค และ โรคตดิ ต่อทาง เพศสมั พันธ์ http://thaigcd.ddc.moph.go.th/ สานกั โรคตดิ ต่อทว่ั ไป

53 คาถามทา้ ยบท ใหน้ ิสิต ระบรุ ายละเอยี ด การเจบ็ ปว่ ยของตนเอง ในรอบ 6 เดอื นทผ่ี ่านมา ในหัวข้อต่อไปน้ี 1. ระบุการเจ็บป่วย หรือ โรค ท่เี ป็น จานวน 1 อาการ หรือ 1 โรค ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... 2. ระบอุ าการที่เป็น ............................................................................................................................. .................................. ......................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ ................................................... ................................................................................................................................... ............................ 3. ระบุสาเหตขุ องการเจ็บป่วยครง้ั น้ี ..................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................... . ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................................... ............................ 4. ระบุวธิ กี ารดแู ลตนเอง และ การปฏบิ ตั ติ วั เม่ือเจบ็ ป่วย ............................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. .............................................................................................................................................. ................. 5. ระบุกจิ กรรมท่ีเกยี่ วข้องกับการ ป้องกนั และ ควบคุมโรคในโรคท่ีเจบ็ ป่วยครง้ั น้ี ............................................................................................................................................................ ... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .......................................................... .... ............................................................................................................................. .................................. 6. บอกสง่ิ ที่ได้จากการทากิจกรรมนี้ ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................................... ............................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook