Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

Published by panyaponphrandkaew2545, 2021-08-23 15:41:37

Description: ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1 การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความหมายของการสื่อสาร การสื่อสาร(Communication)หมายถึงกระบวนการส่งขา่ วสารขอ้ มูลจากผสู้ ่งขา่ วสารไปยงั ผรู้ ับ ข่าวสาร มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ชกั จูงใหผ้ รู้ ับข่าวสารมีปฏิกริยาตอบสนองกลบั มา โดยคาดหวงั ใหเ้ ป็นไป ตามท่ีผสู้ ่งตอ้ งการ องคป์ ระกอบของการสื่อสาร ประกอบดว้ ย 1. ผสู้ ่งขา่ วสาร (Sender) 2. ขอ้ มลู ข่าวสาร (Message) 3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media) 4. ผรู้ ับขา่ วสาร (Receivers) 5. ความเขา้ ใจและการตอบสนอง กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสาร(CommunicationProcess)โดยทวั่ ไปเริ่มตน้ จากผสู้ ่งข่าวสาร(Sender) ทาํ หนา้ ท่ีเกบ็ รวบรวมแนวความคิดหรือขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เมื่อตอ้ งการส่งข่าวไปยงั ผรู้ ับ ข่าวสาร กจ็ ะแปลงแนวความคิดหรือขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ งออกมาเป็น ตวั อกั ษร น้าํ เสียง สี การเคลื่อนไหว ฯลฯ ซ่ึงเรียกวา่ ขา่ วสาร (Massage) จะไดร้ ับการใส่รหสั (Encoding) แลว้ ส่งไปยงั ผรู้ ับขา่ วสาร (Receivers) ผา่ นสื่อกลาง(Media)ในช่องทางการส่ือสาร(CommunicationChannels)ประเภทต่างๆ หรืออาจจะถกู ส่งจากผสู้ ่งขา่ วสารไปยงั ผรู้ ับขา่ วสารโดยตรงกไ็ ดผ้ รู้ ับขา่ วสาร เม่ือไดร้ ับขา่ วสารแลว้ จะถอดรหสั (Decoding)ตามความเขา้ ใจและประสบการณ์ในอดีตหรือสภาพแวดลอ้ มในขณะน้นั และ มีปฏิกริยาตอบสนองกลบั ไปยงั ผสู้ ่งข่าวสารซ่ึงอยใู่ นรูปขอความรู้ความเขา้ ใจการตอบรับ การปฏิเสธ หรือการน่ิงเงียงกเ็ ป็นไดท้ ้งั น้ีข่าวสารท่ีถกู ส่งจากผสู้ ่งข่าวสารอาจจะไมถ่ ึงผรู้ ับขา่ วสารท้งั หมดก็ เป็นได้ หรือขา่ วสารอาจถูกบิดเบือนไปเพราะในกระบวนการสื่อสารยอ่ มมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวนหรือ ตวั แทรกแซง(Noiseor Interferes) ได้ ทกุ ข้นั ตอนของการส่ือสาร ความสําคญั ของการสื่อสาร การส่ือสารเป็นกระบวนการเกิดข้ึนเป็นปกติวสิ ยั ของคนทุกคนและมีความเกี่ยวขอ้ งไปถึง บคุ คลอื่น ตลอดจนถึงสังคมท่ีแตล่ ะคนเก่ียวขอ้ งอยไู่ ม่วา่ จะทาํ สิ่งใดลว้ นตอ้ งอาศยั การสื่อสารเป็น

เคร่ืองมือช่วยใหบ้ รรลุจุดประสงคท์ ้งั สิ้น จะเห็นไดจ้ ากการที่คนพยายามคิดคน้ และพฒั นาวธิ ีการ สื่อสารมาต้งั แตส่ มยั โบราณท้งั ภาษาพดู ภาษาเขียน ตลอดจนเคร่ืองมือหรือเทคนิควธิ ีการต่างๆลว้ น เกิดจากความพยายามอยา่ งสูงของคนต่อเน่ืองมาหลายชว่ั อายุ หากการสื่อสารไมม่ ีความสาํ คญั และ จาํ เป็นอยา่ งยง่ิ แลว้ เคร่ืองมือและวิธีการสาํ หรับการสื่อสารตา่ งๆ เหลา่ น้ีกค็ งไม่เกิดข้ึนและพฒั นามา ใหเ้ ห็นดงั เช่นในปัจจุบนั ในสภาพสงั คมที่คนจะตอ้ งเก่ียวขอ้ งกนั มากข้ึนเช่นปัจจุบนั การสื่อสารก็ยงิ่ มี ความสาํ คญั ต่อบุคคลและสงั คมมากข้ึนหากคนในสงั คมขาดความรู้ความเขา้ ใจในการสื่อสาร ไม่ สามารถถ่ายทอดความรู้ความคิดหรือทาํ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจระหวา่ งกนั ไดย้ อ่ มจะทาํ ใหเ้ กิดปัญหาต่างๆ มากมายปัญหา ที่เกิดข้ึนกบั บคุ คลและสงั คมทุกวนั น้ีมีอยไู่ ม่นอ้ ยที่เป็นสาเหตมุ าจากความลม้ เหลว ของการสื่อสาร ดงั น้นั การส่ือสารจึงมีความสาํ คญั สาํ หรับบุคคลและสงั คมหลายดา้ น คือ 1. ดา้ นชีวิตประจาํ วนั ในชีวติ ประจาํ วนั หน่ึงๆแต่ละคนจะตอ้ งสื่อสารกบั ตวั เองและสื่อสารกบั ผอู้ ื่น ตลอดเวลา นบั ต้งั แตเ่ วลาตื่นนอนกต็ อ้ งสื่อสารกบั ตวั เองและคนอ่ืนที่อยใู่ กลต้ วั การฟังวิทยอุ ่าน หนงั สือ ออกจากบา้ นไปปฏิบตั ิภาระกิจประจาํ วนั ก็ตอ้ งพบปะบคุ คลและเหตุการณ์ตา่ งๆลว้ นแต่เป็น เรื่องท่ีตอ้ งทาํ การสื่อสารอยตู่ ลอดเวลาไมใ่ นฐานะผสู้ ่งสารก็ในฐานะผรู้ ับสาร หากคนเราขาดความรู้ หรือทกั ษะการสื่อสาร ก็อาจทาํ ใหก้ ารปฏิบตั ิภาระกิจประจาํ วนั อาจบกพร่องได้ 2. ดา้ นสังคมการรวมกลุ่มในสังคมท้งั ในระดบั ครอบครัวชุมชนจนถึงระดบั ประเทศจะตอ้ งมีการ สื่อสารใหเ้ กิดความเขา้ ใจร่วมกนั ในเรื่องต่างๆมีกระบวนการทาํ ใหค้ นยอมอยใู่ นกฏเกณฑก์ ติกาของ สงั คม มีการถา่ ยทอดความรู้และทาํ นุบาํ รุงศิลปวฒั นธรรม 3. ดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรมเกี่ยวกบั การโฆษณาสินคา้ การประชาสมั พนั ธ์ท้งั ภายในและภายนอก องคก์ ร การบริหารติดต่อประสานงาน การฝึกอบรมพนกั งานการใชเ้ คร่ืองมือเทคโนโลยกี ารสื่อสาร ฯลฯกิจการดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรมจะตอ้ งมีการส่ือสารท่ีดี จึงจะประสบผลสาํ เร็จได้ 4. ดา้ นการเมืองการปกครองกิจกรรมดา้ นการเมืองการปกครองจะตอ้ งใชก้ ารส่ือสารทุก ข้นั ตอนเช่น การประชาสมั พนั ธ์ผลงานของรัฐบาล การสร้างความเขา้ ใจกบั ประชาชนในเร่ืองต่างๆ การบงั คบั บญั ชาสง่ั การการใหบ้ ริการประชาชน การชกั ชวนใหป้ ฏิบตั ิตามระเบียบกฏหมายซ่ึงลว้ น จะตอ้ งใชเ้ ทคนิควิธีการของการสื่อสารท้งั สิ้น 5. ดา้ นการเมืองระหวา่ งประเทศซ่ึงตอ้ งมีการติดตอ่ สร้างความสมั พนั ธ์ในดา้ นตา่ งๆเช่น การคา้ การทหาร การทาํ สนธิสัญญา ฯลฯการมีนกั การฑูตประจาํ ในประเทศต่างๆความสัมพนั ธ์

ระหวา่ งประเทศในเรื่องต่างๆเหล่าน้ีมีความจาํ เป็นตอ้ งใชก้ ารติดตอ่ ส่ือสารระหวา่ งกนั อยเู่ สมอหาก ผเู้ ก่ียวขอ้ งมีความรู้และทกั ษะในการส่ือสารเพียงพอ ยอ่ มสามารถสร้างความสมั พนั ธท์ ี่ดีต่อกนั ได้ มารยาทในการสื่อสาร 1. ความสุภาพ ควรใชค้ าํ พูดที่แสดงถึวความสุภาพ และมีมารยาทตามแตส่ ถานการณ์ เช่น ขอ โทษ ขอบคุณ ขออภยั เป็ นตน้ ไมค่ วรแสดงอาการฌโกธรหรือมีอารมณ์ฉุนเฉียวขณะสื่อสาร ไม่ใช้ น้าํ เสียงหว้ นๆ หรือดุดนั วางอาํ นาจเหนือผอู้ ื่น ควรใชน้ ้าํ เสียงท่ีสุภาพนุ่มนวลชวนฟัง 2.การใหเ้ กียรติการใหเ้ กียรติผฟู้ ังหรือคูส่ นทนาในขณะสื่สารจะช่วยสร้างบรรยากาศในการ ส่ือสารไดเ้ ป็นอยา่ งดี เช่น การใหเ้ กียรติแก่สุภาพสตรีก่อนสุภายบรุ ุษ การยกยอ่ งในความสามารถหรือ ความสาํ เร็จของผอู้ ่ืนเป็นตน้ 3.การรู้จกั กาลเทศะในการส่ือสารผสู้ ่งสารจะตอ้ งคาํ นึงถึงกาลเทศะคือโอกาสสถานที่และเวลาเพอ่ื ให้ เกิดความเหมาะสม กบั ผรู้ ับสาร การใช้ภาษาไทยอย่างมปี ระสิทธิภาพ การใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารปํ ญหาที่พบส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ การพดู และออกเสียงคาํ ไมช่ ดั การ ใชค้ าํ ผิดความหมายใชค้ าํ ฟ่ มุ เฟื อยใชล้ กั ษณนามไมถ่ กู ตอ้ งฉะน้นั การใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร ผสู้ ่ง สารจะตอ้ งรู้จกั เลือกคาํ และใชป้ ระโยคใหถ้ ูกตอ้ งตามความเหมาะสมจึงจะทาํ ใหใ้ ชภ้ าษาไทยในการ ส่ือสาร ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิธีการเลือกใชค้ าํ และประโยค มีดงั น้ี ๑. การใช้คาํ การเลือกใชค้ าํ เพื่อใหก้ ารสื่อสารมีประสิทธิภาพผสู้ ่งสารจะตอ้ งมีพ้ืนความรู้ในเรื่องการใช้ คาํ เสียงของคาํ หรือการอา่ นออกเสียงคาํ และรู้จกั ความหมายของคาํ รวมท้งั รู้จกั แยกแยะความ เหมาะสมของระดบั คาํ กบั โอกาส และบคุ คลดว้ ยการใชค้ าํ ในภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารควรมีหลกั ดงั น้ี ๑.๑ ใช้คาํ ให้ถูกต้องตรงตามตัว เน่ืองจากภาษาไทยมีถอ้ ยคาํ ใชใ้ นภาษาเป็นจาํ นวนมากบางคาํ อาจมีรูปคาํ คลา้ ยกนั หรือใกลเ้ คียงกนั แตค่ วามหมายต่างกนั และนาํ มาใชแ้ ทนกนั ไมไ่ ดห้ ากผสู้ ่งสาร ขาดการศึกษาและสังเกตอาจอาจทาํ ใหใ้ ชค้ าํ ผิดความหมายไดล้ กั ษณะของคาํ ที่ทาํ ใหผ้ สู้ ่งสารสับสน ใชผ้ ิดไม่ถกู ตอ้ งตรงตามความหมายมีดงั น้ี ๑) รูปคาํ คลา้ ยกนั แต่ความหมายตา่ งกนั เช่น ผอ่ นผนั (ก) ลดยอ่ นตาม,ลดยอ่ นให้

ผอ่ นปรน (ก) แบง่ หนกั ใหเ้ ป็นเบา เอาไปทีละนอ้ ย ขยบั ขยายใหเ้ บาบางลง ผอ่ นคลาย (ก) ลดความตึงเครียด ผอ่ นผนั มกั ใชเ้ ม่ือฝ่ ายที่มีอาํ นาจเหนือกวา่ ลดยอ่ นใหต้ ามที่ฝ่ ายดอ้ ยกวา่ ขอร้องการร้องขอของอีกฝ่าย หน่ึองเรียกวา่ ขอผอ่ นผนั เช่น นกั ศึกษาตอ้ งการยนื่ คาํ ร้องขอผอ่ นผนั ค่าลงทะเบียนตอ่ ทางวทิ ยาลยั ภายในกาํ หนด ผอ่ นปรน มกั ใชก้ บั บุคคลสองฝ่ ายโดยที่ต่างฝ่ ายตกลงยนิ ยอมขยบั ขยายใหแ้ ก่กนั หรือบรรเทา เช่น หมู่บา้ นน้ีอยกู่ นั มาดว้ ยความสงบสุข เพราะชาวบา้ นตา่ งรู้จกั ผอ่ นปรมใหแ้ ก่กนั ผอ่ นคลาย มกั นิยมใชก้ บั อารมณ์และความรู้สึกหรือสภาพเหตุการณ์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเช่นสถานการณ์ ตึงเครียดจากการที่คนงาน ชุมนุมประทว้ งนดั หยดุ งานไดผ้ อ่ นคลายลงแลว้ ๑.๒ ใช้คาํ ถูกต้องตามอกั ขรวิธี การสื่อสารดว้ ยภาษาไทยอยา่ งมีประสิทธิภาพน้นั ผสู้ ่งสาร จะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความรู้ในการอา่ นและเขียนใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑ์ ของภาษาท้งั น้ีผสู้ ่งสารจะตอ้ ง ศึกษาท้งั สองดา้ นควบคู่กนั ไปโดยอาศยั การสังเกตและจดจาํ เพอ่ื นาํ ไปสู่การใช้ ภาษาท่ีถกู ตอ้ ง และมี ประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน การใชค้ าํ ท่ีถูกตอ้ งตามอกั ขรวิธีผสู้ ่งสารควรศึกษาในดา้ นดงั ตอ่ ไปน้ี การอ่านคาํ คาํ ในภาษาไทยมีวิธีการอา่ นที่แตกตา่ งกนั ดงั น้ี - การอ่านอกั ษรนาํ คือการอ่านออกเสียงคาํ ท่ีมีพยญั ชนะ๒ตวั เรียงกนั พยญั ชนะตวั หนา้ เป็นอกั ษรสูง หรืออกั ษรกลางนาํ อกั ษรต่าํ ประสมสระเดียวกนั จะออกเสียงเป็นสองพยางคแ์ ละออกเสียง อะ ที่ พยญั ชนะตวั หนา้ เช่น ขนุน (ขะ-หนุน) ขณะ (ขะ-หนะ) สมาน อ่านวา่ สะ - หมาน ผนวช อ่านวา่ ผะ - หนวด สนอง อา่ นวา่ สะ - หนอง ผนวก อ่านวา่ ผะ - หนวก ถนอม อา่ นวา่ ถะ - หนอม ผนึก อา่ นวา่ ผะ - หนึก จมูก อา่ นวา่ จะ – หมูก จรัส อา่ นวา่ จะ - หรัด ๑.๓ ใช้คาํ ถูกต้องตามหน้าทีข่ องคาํ ลกั ษณะนาม คือ คาํ นามชนิดหน่ึงท่ีทาํ หนา้ ท่ีประกอบนาม

อื่น เพื่อบอกรูปลกั ษณะ ขนาด หรือประมาณของนาม มกั ใชต้ ามหลงั คาํ วิเศษณ์บอกจาํ นวนนบั จะ อยหู่ ลงั ตวั เลขบอกจาํ นวน ในการใชล้ กั ษณะนามน้นั ตอ้ งคาํ นึงถึงความถูกตอ้ ง ความนิยมของภาษา เป็นสาํ คญั เพราะลกั ษณะนามของนามบางอยา่ งบางชนิดไม่สามารถมาเป็นกฎตายตวั วา่ คาํ นามชนิด น้นั ตอ้ งใชล้ กั ษณะนามอยา่ งน้นั ตอ้ งดูส่วนอ่ืนประกอบดว้ ย เช่น บริบท ( คาํ ท่ีอยรู่ อบ ๆประโยค ) ผใู้ ชล้ กั ษณะนามถูกตอ้ งจึงตอ้ งเป็นผสู้ ังเกตพจิ ารณา และรอบรู้ในเรื่องตา่ ง ๆ การเรียงลาํ ดับคํา การเรียงลาํ ดบั คาํ เรียงตามลาํ ดบั คาํ แบบพจนานุกรมคาํ ท่ีมีความหมายเหมือนกนั จะเกบ็ ไว้ ดว้ ยกนั โดยใชเ้ คร่ืองหมายจุลภาคคน่ั และเรียงสลบั กนั ไป ในตาํ แหน่งของหมวดอกั ษรน้นั ๆ โดย แสดงลกั ษณนามไวท้ ่ีคอลมั น์ดา้ นขวา เช่น กงกระสุน - คนั กงเกวียน, กงลอ้ - กง, วง คาํ นามที่มลี กั ษณนามได้หลายอย่าง คาํ นามบางคาํ อาจมีลกั ษณนามไดห้ ลายอยา่ งในการกาํ หนด ลกั ษณนามแบง่ ออกเป็น ๓ แบบ คือ กาํ หนดลกั ษณนามท่ีนิยมใชก้ นั มากไวห้ นา้ สุดและลกั ษณนามอื่น ๆ เรียงตามกนั ไปโดยใช้ เครื่องหมายจุลภาคคน่ั เช่น ไข่ - ใบ, ฟอง, ลูก โคม (ชนิดต่าง ๆ) - ดวง, ใบ, ลกู กาํ หนดลกั ษณนามแตกตา่ งกนั ตามสภาพที่เป็ นอยโู่ ดยใชเ้ คร่ืองหมายอฒั ภาคคน่ั เพือ่ บอกใหร้ ู้วา่ ลกั ษณนามน้นั ๆแมจ้ ะเป็ นลกั ษณนามของสิ่งเดียวกนั แต่กม็ ีความแตกต่างกนั ตามสภาพ เช่น ซิ่น , ผา้ ซ่ิน - ผนื ; ตวั , ถุง หมายความวา่ ซ่ินหรือผา้ ซ่ินถา้ ยงั ไม่ไดต้ ดั เยบ็ ลกั ษณนามใชว้ า่ ผืนแตถ่ า้ ตดั เยบ็ แลว้ ใชล้ กั ษณนามวา่ ตวั หรือ ถุง ปิ่ นโต - ใบ, ลกู ; เถา, สาย หมายความวา่ ปิ่ นโตแต่ละใบใชล้ กั ษณนามว่าใบหรือลกู แตถ่ า้ นาํ มา เรียงซอ้ นกนั แลว้ มีเครื่องยดึ รวมเขา้ ดว้ ยกนั ใชล้ กั ษณนามวา่ เถาหรือสายบางคร้ังอาจใหค้ าํ อธิบาย ส้นั ๆไวห้ ลงั ลกั ษณนามน้นั ๆโดยใส่คาํ อธิบายไวใ้ นเคร่ืองหมายวงเลบ็ เช่น ระนาด (เครื่องป่ี พาทยช์ นิดหน่ึง) - ลูก (ลกู ระนาด);ผืน (ลูกระนาดที่ร้อยเขา้ เป็นชุด); ราง กาํ หนดลกั ษณนามตามขนาดความกวา้ งความยาวปริมาณน้าํ หนกั หรือรูปแบบท่ีใชง้ านโดยระบุ วา่ “เรียกตามลกั ษณะ”หรือ“เรียกตามลกั ษณะหรือลกั ษณะบรรจุภณั ฑ”์ แลว้ ใหย้ กตวั อยา่ งลกั ษณนาม

เช่น ทอฟฟ่ี เรียกตามลกั ษณะหรือลกั ษณะบรรจุภณั ฑ์ เช่นเมด็ อนั ห่อแท่งหรือกาํ หนดท้งั ลกั ษณนาม ทวั่ ไปและลกั ษณะบรรจุภณั ฑ์ เช่นดา้ ย - เส้น; เรียกตามลกั ษณะหรือลกั ษณะบรรจุภณั ฑ์ เช่น กลมุ่ เขด็ ไจ หลอด ผม - เส้น; เรียกตามลกั ษณะ เช่น กระจุก ปอย ฉลองพระเนตร - องค์ ฉลองพระบาท, รองพระบาท - ขา้ ง, องค;์ คู่ ในกรณีที่คาํ นามน้นั เป็นท้งั คาํ ราชาศพั ทแ์ ละคาํ นามที่ ใชไ้ ดท้ วั่ ไปจะกาํ หนดลกั ษณนามไวท้ ้งั ๒ อยา่ ง เช่น พระขรรค์ - องค;์ เลม่ (ถา้ ใชท้ ว่ั ไป) ๑.๔ ใช้คาํ ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล การใชค้ าํ ในภาษาไทยใชต้ ่างกนั ตามความเหมาะสมประกอบดว้ ยเสียงและความหมายการรู้จกั เลือกคาํ มาใชก้ ารศึกาษาภาษาไทย นอกจากจะศึกษาลกั ษณะสาํ คญั ของภาษาแลว้ ยงั ตอ้ งศึกษาเรื่อง การใชภ้ าษาที่ถูกตอ้ งเหมาะสมหากผใู้ ชภ้ าษามีความรู้เรื่องการใชภ้ าษาไม่ดีพอ อาจทาํ ใหก้ าร ติดตอ่ สื่อสารเกิดความผิดพลาดส่ือสารไดไ้ ม่ตรงความตอ้ งการ หรือส่ือึความไดแ้ ต่ไมเ่ หมาะสมทาํ ให้ ขาดประสิทธิภาพในการสื่อสาร ความผิดพลาดหรือความไม่เหมาะสมท่ีเกิดข้ึนดงั กลา่ วลว้ นมีสาเหตุ มาจากการใชภ้ าษาที่บกพร่องหรือไม่คาํ นึงถึงการใชภ้ าษาไทยอยา่ งถกู ตอ้ ง การใช้ประโยค การส่ือสารดว้ ยการพูดและเขียนจะมีประสิทธิภาพหรือสื่อสารไดด้ ีน้นั ตอ้ งใชค้ าํ ให้ ถกู ตอ้ งโดยใชค้ าํ ท่ีมีความหมายชดั เจน ใชค้ าํ ใหถ้ ูกกบั กาลเทศะและบคุ คล การใชเ้ คร่ืองหมายการเวน้ วรรคตอน การสะกด การันต์ ตอ้ งถูกตอ้ ง ซ่ึงการใชค้ าํ ใหถ้ ูกตอ้ งมีหลกั การดงั น้ี ๑. ใชค้ าํ ใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมประโยคและขอ้ ความ การใชค้ าํ บางคาํ ในประโยคหรือขอ้ ความ บางคร้ังเรามกั จะใช้ คาํ ผิด เช่น คาํ วา่ มว่ั สุมกบั หมกมุ่น บางคนจะใชว้ า่ “นกั เรียน มกั มวั่ สุมกบั ตาํ รา เรียนเม่ือใกลส้ อบ” ซ่ึงไม่ถกู ตอ้ งควรใชค้ าํ วา่ หมกม่นุ แทนคาํ วา่ มว่ั สุม มกั จะใชค้ าํ วา่ รโหฐานใน ความหมายวา่ ใหญ่โต ซ่ึงความหมายของคาํ น้ี หมายถึงที่ลบั ควรใชค้ าํ วา่ มโหฬารแทน ๒. ควรใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา เช่น มกั จะใชห้ มายกาํ หนดการแทนคาํ กาํ หนดการใน งานปกติทว่ั ไปซ่ึงคาํ วา่ หมายกาํ หนดการ จะใชก้ บั งานพระราชพิธี กาํ หนดการ จะใชก้ บั งานทว่ั ไป เป็ นตน้

๓. ควรแบ่งวรรคตอนของคาํ ไทยใหถ้ ูกตอ้ ง เพราะหากแบง่ วรรคตอนผิดกจ็ ะทาํ ให้ ความหมายผิดไปได้ เช่นคนกินกลว้ ย แขก ร้อนจนตาเหลือก (ควรเขียน กลว้ ยแขก ใหต้ ิดกนั ) ยาน้ีกินแลว้ แขง็ แรงไม่มีโรคภยั เบียดเบียน (ควรเขียน แขง็ แรง ใหต้ ิดกนั ) ๔. ใชล้ กั ษณะนามใหถ้ ูกตอ้ ง ลกั ษณะนามเป็ นลกั ษณะพิเศษของภาษาไทย ควรใชใ้ หถ้ กู ตอ้ ง โดยเฉพาะลกั ษณะนามบางคาํ ที่ไม่มีโอกาสใชบ้ ่อยอาจจะจาํ ไมไ่ ด้ เช่น “ชา้ ง” ซ่ึงลกั ษณะนามวา่ ชา้ ง เป็นเชือก ตวั อยา่ ง ชา้ ง ๒ เชือก มกั จะใชผ้ ิดเป็นชา้ ง ๒ ตวั หรือชา้ ง ๒ ชา้ ง เป็นตน้ ๕. ใชค้ าํ ใหต้ รงความหมาย คาํ ไทย คาํ หน่ึงมคี วามหมายไดห้ ลายอยา่ ง บางคาํ มี ความหมาย โดยตรง บางคาํ มีความหมายแฝง บางคาํ มีความหมายโดยนยั และบางคาํ มี ความหมายใกลเ้ คียงจึงตอ้ ง เลือกใชใ้ หต้ รงความหมาย ๕.๑ คาํ ที่มีความหมายไดห้ ลายอยา่ ง เช่น “ขนั ” ถา้ เป็นคาํ นาม หมายถึง ภาชนะใชต้ กั น้าํ เช่น ขนั ใบน้ีดีแท้ “ขนั ” ถา้ เป็นคาํ กริยาก็จะหมายถึง ทาํ ใหต้ ึง เสียงร้องของไก่และนก เช่น นกเขาขนั เพราะจริง ๆ “ขนั ” ถา้ เป็นคาํ วิเศษณ์ หมายถึง น่าหวั เราะ เช่น เธอดูน่าขนั จริง ๆ เป็นตน้ ๕.๒ ความหมายใกลเ้ คียง การใชค้ าํ ชนิดน้ีตอ้ งระมดั ระวงั ใหด้ ี เช่น มืด-มวั , ยมิ้ -แยม้ , เลก็ -นอ้ ย, ใหญ-่ โต, ซ่อม-แซม, ขบ-กดั เป็นตน้ ตวั อยา่ ง มืด หมายถึง ไม่สวา่ ง, มองไมเ่ ห็น เช่น หอ้ งน้ีมืดมาก มวั หมายถึง คลุม้ , มึน, หลง, เพลิน เช่น ลกู ๆ มวั แตร่ ้องรําทาํ เพลง มืดมวั เช่น วนั น้ีอากาศมืดมวั จริง ๆ ๖.การใชค้ าํ ท่ีมีความหมายแฝงหรือความหมายโดยนยั เราตอ้ งศึกษาที่มาของคาํ และดคู วาม แวดลอ้ มเราจะทราบ ความหมายแฝงหรือความหมายโดยนยั ของคาํ น้นั ตวั อยา่ งแม่หมายถึงหญิงท่ีให้ กาํ เนิดแก่ลูกเป็นความหมายหลกั แต่คาํ ต่อไปน้ีไมม่ ีความหมายตามความหมายหลกั เช่น แม่น้าํ แม่ ครัว แม่เหลก็ แม่มด แมเ่ ลา้ แม่สื่อ ฯลฯ เสือหมายถึงสัตวช์ นิดหน่ึงอยใู่ นป่ ากินเน้ือสตั วเ์ ป็นอาหารมีนิสัยดุร้ายแต่คาํ วา่ “เสือ”ตอ่ ไปน้ีไม่ไดม้ ี ความหมายตามความหมายหลกั เช่น เสือผหู้ ญิง, เสือกระดาษ เป็นตน้ ๗. ใชค้ าํ ที่มีตวั สะกดการันต์ ใหถ้ ูกตอ้ งในการเขียนเพราะคาํ ที่ออกเสียงเหมือนกนั แตเ่ ขียน สะกดการันตต์ ่างกนั ยอ่ มมีความหมายตา่ งกนั เช่น สนั , สนั ต,์ สรร, สรรค,์ สนั ทน์ ท้งั หา้ คาํ น้ีเขียน ตา่ งกนั ออกเสียงเหมือนกนั แต่ความหมาย ไมเ่ หมือนกนั คาํ วา่ สันต์ หมายถึง สงบ สรร หมายถึง

เลือก สรรค์ หมายถึง สร้าง เป็นตน้ จึงตอ้ งระมดั ระวงั ในการเขียนคาํ ใหถ้ กู ตอ้ งตามตวั สะกดการันต์ และตรงตามความหมายของคาํ น้นั ๆการเขียนคาํ การเลือกใชค้ าํ ยงั มีขอ้ ควรระวงั อีกหลายลกั ษณะ ขอใหผ้ เู้ รียนศึกษาและสงั เกตใหด้ ีเพ่อื จะไดใ้ ชภ้ าษาในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ประโยค เวลาที่เราพดู จากนั ขอ้ ความที่แตล่ ะฝ่ ายพูดกนั น้นั อาจจะส้นั หรือยาวก็ไดแ้ ลว้ แต่ สถานการณ์ เช่น อาจจะกลา่ วปฏิเสธว่า “ไม่” เพยี งคาํ เดียว หรือ อาจจะกล่าวเป็นขอ้ ความยาว ๆ เช่น กล่าวสุนทร พจน์ เล่านิทาน ก็ได้ การเขียนขอ้ ความถึงกนั กเ็ ช่นเดียวกนั อาจจะ โทรเลขดว้ ยขอ้ ความส้นั ๆ แต่ฝ่าย ผรู้ ับก็รู้เร่ือง หรือเขียนจดหมายยาว ๆ เพอื่ เล่าเรื่องต่าง ๆ ใหค้ นอื่นอา่ น รวมท้งั นกั ประพนั ธท์ ี่แตง่ เรื่องยาว ๆ เป็นร้อย ๆ หนา้ เพอื่ ใหผ้ อู้ ่านรู้เร่ืองราว เหล่าน้นั ขอ้ ความท่ีผพู้ ูดหรือผเู้ ขียนกลา่ วออกไป จะยดื ยาวเพยี งใดก็ตาม ขอ้ ความน้นั ก็แบ่งออกเป็นช่วง ๆ ไดช้ ่วงขอ้ ความท่ีสมบรู ณ์ช่วงหน่ึง เรียกวา่ “ประโยค”ดงั น้นั ประโยค คือ ขอ้ ความที่มีเน้ือความสมบรู ณ์ ถา้ ใครพูดวา่ “กาํ ลงั ปลูก ค่ะ” ยอ่ มไมไ่ ดค้ วามสมบรู ณ์จึงไมเ่ รียกวา่ “ประโยค” แต่ถา้ พูดวา่ “หนูกาํ ลงั ปลูกตน้ มะลิอยู่ ค่ะ” ขอ้ ความน้ีจึงจะสมบรู ณ์ ผฟู้ ังก็รู้เรื่องเราจึงเรียกขอ้ ความน้ีวา่ “ประโยค” และประโยคตอ้ งมี ขอ้ ความสมบรู ณ์ประโยค คือ ขอ้ ความที่มีเน้ือความสมบรู ณ์ การใช้ภาษาไทยอย่างมศี ิลปะ ลกั ษณะท่ีแสดงวา่ ผสู้ ่งสารใชภ้ าษาไทยอยา่ งมีศิลปะพิจารณาไดจ้ ากความสามารถในการใช้ ภาษาไดอ้ ยา่ งมีความไพเราะ สละสลวยน่าฟังเหมาะสมกบั กาลเทศะก่อใหผ้ รู้ ับสารเกิดความน่าเช่ือถือ สบายใจและประทบั ใจในการสื่อสารร่วมกนั การใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารอยา่ งมีศิลปะควรมี หลกั การส่ือสารดงั น้ี ๑.ใช้วิธีหลากคาํ การใชค้ าํ ไม่ซ้าํ ซากจาํ เจถา้ ไม่ตอ้ งการเนน้ คาํ ใดเป็นพเิ ศษไม่ควรใชค้ าํ น้นั ซ้าํ หลายคร้ังในท่ีใกลก้ นั ิเพราะจะ ทาํ ใหเ้ กิด การซ้าํ คาํ ควรใชก้ ารหลากคาํ ใหเ้ หมาะสม การใชค้ าํ ให้ เหมาะกบั กาลเทศะและบุคคล การใชภ้ าษาใหม้ ีประสิทธิผลน้นั นอกจากจะคาํ นึงถึงความหมายแลว้ ยงั ตอ้ งคาํ นึงถึงระดบั ภาษาท่ีใช้ ใหเ้ หมาะแก่เวลา สถานที่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล ส่ือท่ีใชใ้ นการ ส่งสาร และควรคาํ นึงถึงฐานะ ทางบคุ คลซ่ึงเก่ียวขอ้ งกบั คาํ สุภาพและราชาศพั ทด์ ว้ ย การใชค้ าํ ใหต้ รง ตามความนิยมของผใู้ ชภ้ าษาเดียวกนั คาํ ที่มีความหมายเดียวกนั จะเลือกใชค้ าํ ใดแลว้ แตค่ วาม นิยม ของผใู้ ชภ้ าษาน้นั เช่น ชุมชนแออดั การจราจรคบั คง่ั ผคู้ นแน่นขนดั ประชากรหนาแน่น

๒.ใช้ภาษาเรียบง่ายแต่ส่ือสารความหมายได้ดี การใชภ้ าษาท่ีสื่อสารความหมายไดด้ ีผใู้ ชภ้ าษาจะตอ้ งมีพ้นื ความรู้เกี่ยวกบั การใชถ้ อ้ ยคาํ ที่ถกู ตอ้ งตาม ความหมายและการใชป้ ระโยคท่ี ถูกตอ้ งตามกลกั ไวยากรณ์มาก่อนจึงจะสามารถใชภ้ าษาส่ือ ความหมายไดช้ ดั เจนศิลปะของการใชภ้ าษาที่ดีควรมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี - ไมใ่ ชป้ ระโยคที่ซบั ซอ้ นเตม็ ไปดว้ ยคาํ ฟ่ ุมเฟื อย -ไม่ใชภ้ าษาที่คลมุ เครือขาดความชดั เจน ๓.ใชภ้ าษาถกู ตอ้ งตามความนิยม การใชภ้ าษาถกู ตอ้ งตามความนิยมคือการนาํ มาใชท้ าํ ความเขา้ ใจความหมายของสารหรือ ภาษาและเป็นไปตามขอ้ ตกลงของสงั คม เช่น -การเรียกชื่อส่ิงของเคร่ืองใชต้ ่างๆที่เป็นที่รู้จกั ทวั่ ไป -การใชส้ าํ นวนคาํ พงั เพยคาํ เปรียบตอ้ งเลือกใหต้ รงกบั ความนิยมของคนทวั่ ไ -การออกเสียงคาํ ตามความนิยมคาํ บางคาํ เมื่อนาํ มาใชแ้ ลว้ ออกเสียงไมต่ รงตามหลกั เกณฑข์ องภาษา เป็นเพราะความนิยมของผใู้ ชภ้ าษาตอ้ งการออกเสียงเช่นน้นั ๔.รู้จนั าํ ถอ้ ยคาํ สาํ นวนมาใช้ การนาํ ถอ้ ยคาํ สาํ นวนมาใชจ้ ะทาํ ใหก้ ารใชภ้ าษามีความสละสลวยและมีอรรถรสดีข้ึนท้งั น้ี จะตอ้ งยดึ หลกั ความเหมาะสมกบั กาลเทศะ และถกู ตอ้ งตามความนิยมและความหมายของถอ้ ยคาํ สาํ นวนน้นั ๆเช่น -ในเมื่อตอนน้ีเรายงั ไมส่ ามารถคาดเดาสถานการณ์ไดอ้ ยา่ ทาํ ตวั เป็นกระต่ายตื่นตูมไปเสียก่อน กระต่ายตืนตูม เป็นสาํ นวนหมายถึงอาการที่ต่ืนตกใจง่ายโดยไม่พจิ รณาใหถ้ อ่ งแทเ้ สียก่อน -งานน้ีรับรองวา่ ยากย่ิงกวา่ เข็นครกขนึ้ ภูเขาเสียอีก เข็นครกขนึ้ ภูเขา เป็นสาํ นวนหมายถึงทาํ งานท่ียากลาํ บากเกินความสามารถ ๕.รู้จกั ใชภ้ าษาใหเ้ กิดภาพพจน์

การใชถ้ อ้ ยคาํ ท่ีช่วยใหผ้ รู้ ับสารนึกเห็นภาพหรือเกิดความรู้สึกอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงจะช่วยใหส้ ่ือ ความหมายไดช้ ดั เจนยง่ิ ขึน ถอ้ ยคาํ ท่ีช่วยใหเ้ กิดภาพพจน์ เช่น -คาํ ท่ีแสดงอาการเช่นกระฟัดกระเฟี ยด, สะอิดสะเอียน, หลุกหลิก, ผลุนผลนั , โซเซ -คาํ ที่แสดงความรู้สึกเช่นร้อนอบอา้ ว, ร้อนผา่ วๆ, แหง้ ผาก, หวานแหลม, เยน็ เจ๊ียบ -คาํ ท่ีแสดงภาพเช่นสูงตระหง่าน, บานสะพร่ัง, เต้ียม่อตอ้ , ผวสลวย, เหลืองอร่าม -คาํ ที่แสดงเสียงเช่นเซ็งแซ่, เปาะแปะ, ออ้ แอ,้ เจ้ียวจ๊าว, เอะอะโวยวาย, อึกทึกครึกโครม ปัจจยั ทที่ าํ ให้การส่ือสารมปี ระสิทธิภาพ ในการสื่อสารกนั แต่ละคร้ังน้นั ท้งั ผสู้ ่งสารและผรู้ ับสารยอ่ มหวงั ใหก้ ารส่ือสารน้นั ๆเกิดผล สมั ฤทธ์ิและมีประสิทธิภาพสูงสุด นน่ั คือเม่ือไดส้ ่ือสารออกไปแลว้ เน้ือหาของสารท่ีส่งออกไปตอ้ ง ตรงกยั จุดมงุ่ หมายของการสื่อสารและตรงกบั เจตนาของผสู้ ่งสาร เรียกวา่ สามารถส่ือสารกนั ได้ ถกู ตอ้ งแมน่ ยาํ และรวดเร็วจึงจะถือวา่ การสื่อสารน้นั เกิดผลสัมฤิทธ์ิมีประสิทธิภาพการสื่อสารท่ีมี ประสิทธิภาพน้นั ข้ึนอยกู่ ยั ปัจจยั หลายประการ ๑. ปัจจยั ด้านตัวบุคคล ตวั บคุ คลท่ีเก่ียวขอ้ งในดา้ นการส่ือสารไดแ้ ก่ผสู้ ่งสารและผรู้ ับสารโดยท้งั สองฝ่ ายจะตอ้ งมีพ้ืนฐาน ดงั ต่อไปน้ี ๑.๑มีความรู้เก่ียวกบั เร่ืองที่จะส่ือสารถา้ ฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไมม่ ีพ้นื ฐานความรู้ในเร่ืองเก่ียวกบั เน้ือหา สาระท่ีจะสื่อสารก็อาจจพ ตอ้ งส่ือสารกนั หลายคร้ังทาํ ใหเ้ สียเวลาและขาดประสิทธิภาพในการ ส่ือสาร ๑.๒มีทกั ษะเกี่ยวกบั กระบวนการส่ือสารกระบวนการส่ือสา(CommunicationProcess)โดยทวั่ ไป เร่ิมตน้ จากผสู้ ่งข่าวสาร (Sender) ทาํ หนา้ ท่ีเกบ็ รวบรวมแนวความคิดหรือขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ เม่ือตอ้ งการส่งข่าวไปยงั ผรู้ ับข่าวสาร กจ็ ะแปลงแนวความคิดหรือขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ งออกมาเป็น ตวั อกั ษร น้าํ เสียง สี การเคล่ือนไหว ฯลฯ ซ่ึงเรียกว่าขา่ วสาร (Massage) จะไดร้ ับการใส่รหสั (Encoding) แลว้ ส่งไปยงั ผรู้ ับขา่ วสาร (Receivers) ผา่ นสื่อกลาง (Media)ในช่องทางการส่ือสาร (CommunicationChannels)ประเภทต่างๆหรืออาจจะถูกส่งจากผสู้ ่งข่าวสารไปยงั ผรู้ ับขา่ วสารโดยตรง

ก็ได้ ผรู้ ับข่าวสาร เม่ือไดร้ ับข่าวสารแลว้ จะถอดรหัส (Decoding) ตามความเขา้ ใจและประสบการณ์ ในอดีต หรือสภาพแวดลอ้ มในขณะน้นั และมีปฏิกริยาตอบสนองกลบั ไปยงั ผสู้ ่งข่าวสารซ่ึงอยใู่ นรูป ขอความรู้ ความเขา้ ใจ การตอบรับ การปฏิเสธหรือการน่ิงเงียงก็เป็นได้ ท้งั น้ีข่าวสารที่ถูกส่งจากผสู้ ่ง ขา่ วสารอาจจะไม่ถึงผรู้ ับข่าวสารท้งั หมดกเ็ ป็นได้ หรือข่าวสารอาจถกู บิดเบือนไปเพราะใน กระบวนการส่ือสาร ยอ่ มมีโอกาสเกิดสิ่งรบกวน หรือตวั แทรกแซง(Noise or Interferes) ได้ ทุก ข้นั ตอนของการสื่อสาร ๑.๓มีทกั ษะเก่ียวกบั การใชภ้ าษาผสุ้ ่งสารและผรู้ ับสารจะตอ้ งสามารถใชท้ กั ษะในการส่ือสารได้ คล่องแคลว่ ท้งั ดา้ นการฟัง,พูด,อา่ น,เขียน จะช่วยใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการส่ือสารได้ ๒.ปัจจัยด้านสาร หมายถึงเรื่องราว ความรู้ความคิดต่างๆ ที่ผสู้ ่งประสงคจ์ ะใหไ้ ปถึงผรู้ ับ มีองคป์ ระกอบท่ีเป็นปัจจยั ช้ี ความสาํ เร็จของการสื่อสาร 3 ประการ คือ (1) เน้ือหาของสาร (2) สัญลกั ษณ์หรือรหสั ของสาร (3) การเลือกและจดั ลาํ ดบั ขา่ วสาร ๓.ปัจจยั ด้านส่ือ เป็นการสื่อสารท่ีใชส้ ื่อเขา้ ช่วยใหถ้ ึงคนจาํ นวนมากๆในเวลาเดียวกนั ซ่ึงไมอ่ าจกาํ หนดจาํ นวนผรู้ ับ สารได้ และไม่อาจรับผลยอ้ นกลบั ไดท้ นั ที หน่วยท่ี 2 การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์และประเมินค่าสารในชีวติ ประจาํ วนั และงานอาชีพ ส่ือต่างๆ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ หนา้ ๑,๑๑๕ และหนา้ ๑,๒๒๑ ใหค้ วามหมายของ คาํ วา่ “วเิ คราะห์” และ “สาระ” ไวด้ งั น้ี “วเิ คราะห”์ หมายถึง ก.ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะหเ์ หตุการณ์ แยกออกเป็นส่วนๆ เพอ่ื ศึกษาใหถ้ ่องแท้ เช่น วิเคราะหป์ ัญหาต่างๆ วิเคราะหข์ ่าว “สาร” หมายถึง น.แก่น ,เน้ือแท้ , มกั ใชค้ ูก่ บั คาํ แกน่ เป็นแก่นสาร , ขอ้ ความ , ถอ้ ยคาํ , เรื่องราว ซ่ึงใน บริบทน้ีน่าจะหมายถึง ส่วนสาํ คญั ถอ้ ยคาํ คือ เรื่องราวขอ้ มูลตา่ งๆ ที่ผรู้ ับสารไดร้ ับจากการฟังหรือ การอา่ น

การวิเคราะหแ์ ละการสงั เคราะห์สาร จึงหมายถึง การที่ผรู้ ับสารสามารถรับรองอยา่ งใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พนิ ิจพิจารณา สามารถนาํ สาระสาํ คญั และความรู้ความคิดท่ีไดจ้ ากสารน้นั ไปใชป้ ระโยชน์ ได้ สารในชีวิตประจาํ วนั หมายถึง เร่ืองราว ขอ้ มูลตา่ งๆ ท่ีมนุษยใ์ ชต้ ิดตอ่ ถึงกนั ในชีวติ ประจาํ วนั เช่น การพบปะสนทนา การเผยแพร่ความรู้ การปฏิบตั ิภารกิจตา่ งๆ รวมถึงสารท่ีมุ่งใหค้ วามบนั เทิง สารในงานอาชีพ หมายถึง สาท่ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั การประกอบอาชีพต่างๆ ผรู้ ับสารสามารถพจิ ารณา ไดต้ ามความถนดั ความสนใจในงานอาชีพของตน ซ่ึงสารเหลา่ น้ีจะช่วยใหผ้ อู้ ่านมีความรอบรู้ในงาน อาชีพ ช่วยพฒั นาความรู้ความสามารถในงานอาชีพใหม้ ีประสิทธิภาพ หลกั การอ่านข่าว บทความ โฆษณาจากสื่อต่างๆ หลกั การอา่ นขา่ ว บทความ โฆษณาจากส่ือต่างๆ มีดงั น้ี ๑.กาํ หนดมงุ่ หมายวา่ อา่ นเพือ่ อะไร ๑.๑ อา่ นเพ่อื ปฏิบตั ิภารกิจในหนา้ ที่การงาน ๑.๒ การอา่ นเพือ่ การวเิ คราะห์ก่อนติดใจ ๑.๓ การอา่ นเพอ่ื พฒั นาความรู้และพฒั นาอาชีพ ๒.ศึกษาส่วนประกอบตามประเภทของสารท่ีอ่าน เช่น ข่าว ประกอบดว้ ย พาดหวั ขา่ ว วรรคนาํ รายละเอียดของขา่ ว บทความ ประกอบดว้ ย คาํ นาํ เน้ือเรื่อง สรุป ขอ้ ความโฆษณา ประกอบดว้ ย ขอ้ ความพาดหวั ขอ้ ความขยายพาดหวั ขอ้ ความอา้ งอิง ขอ้ ความ ลงทา้ ย ๓.ทาํ ใจใหเ้ ป็นกลาง ปราศจากอคติ จะช่วยใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีถูกตอ้ งไม่เกิดขอ้ ผิดพลาด ๔.อ่านขอ้ มูลอยา่ งละเอียด เพอ่ื จบั ประเดน็ สาํ คญั หรือสาระสาํ คญั ของเรื่อง ๕.แยกแยะขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น ตอ้ งแยกแยะไดว้ า่ ส่วนใดเป็นขอ้ เทจ็ จริง

๖.ทราบความหมายและจุดมงุ่ หมายในการเขียน ข้ันตอนในการวิเคราะห์สาร ข้นั ตอนในการวเิ คราะหส์ าร คือ การนาํ สารที่อา่ นมาแยกเป็นส่วนๆ โดยพิจารณาถึงส่ิงต่อไปน้ี ๑.รูปแบบการประพนั ธ์ ๒.เน้ือเร่ือง ๓.สาํ นวนภาษาและการใชถ้ อ้ ยคาํ ๔.กลวิธีการนาํ เสนอ ประเภทของสารในชีวติ ประจาํ วนั และงานอาชีพ ไดแ้ ก่ ๑.สารท่ีใหค้ วามรู้ ไดแ้ ก่ สารที่เป็นเรื่องราวทางวชิ าการและวชิ าชีพ ๒.สารท่ีโนม้ นา้ วใจ ไดแ้ ก่ สารท่ีนาํ เสนอในรูปของโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ การหาเสียง ๓.สารท่ีจรรโลงใจ ไดแ้ ก่ สารท่ีนาํ เสนอเป็นบทสุนทรพจน์ บทเพลง นิทาน เรื่องส้ัน สุภาษติ จดุ มุ่งหมายในการรับสารจากสื่อต่างๆ ๑.เพือ่ ฆ่าเวลา ๒.เพ่อื ความรู้และเพม่ิ ความคิด ๓.เพ่ือสนองความสนใจ ๔.เพอ่ื กิจธุระหรือผลประโยชน์ ๕.เพื่อความเพลิดเพลิน หลกั การรับสารจากส่ือต่างๆ ๑.มีจุดมงุ่ หมายในการรับสารจากสื่อต่างๆ อยา่ งชดั เจน ๒.มีสมาธิ ๓.ใชว้ ิจารณญาณในการรับสารจากส่ือต่างๆ

๔.มีจรรยามารยาท ไม่กระทาํ การใดๆท่ีเป็นการรบกวนสมาธิผทู้ ี่ตอ้ งใชบ้ ริการจากหอ้ งสื่อร่วมกนั ๕.ควรบนั ทึกสาระสาํ คญั ไวเ้ พอื่ เตือนความจาํ ประเภทของสื่อ ส่ือท่ีใชใ้ นการรับสามารถจาํ แนกได้ ๓ ประเภท คือ ๑.สื่อธรรมชาติ ที่ใชใ้ นการฟัง การดูและการอ่านไดแ้ ก่ อากาศ แสงสวา่ ง และคล่ืนเสียง ๒.ส่ือสาธารณะ ท่ีใชใ้ นการฟัง การดูและการอา่ นไดแ้ ก่ โทรศพั ท์ ป้ายโฆษณา แผน่ พบั ๓.ส่ือมวลชน ที่ใชใ้ นการฟัง การดูและการอา่ นไดแ้ ก่ หนงั สือพมิ พ์ วารสาร วทิ ยุ โทรทศั น์ หน่วยที่3การพูดในงานอาชีพ และการนําเสนอข้อมูลหรือบรรยายสรุป ความหมายและความสําคญั ของการพูด ความหมายของการพูด การพดู หมายถึง พฤติกรรมในการสื่อความหมายของมนุษยโ์ ดยใชเ้ สียงที่เป็นภาษา ทาํ ใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจได้ อาจใช้ อากปั กิริยา ท่าทางประกอบ เพือ่ ถ่ายทอดความรู้ ความคิดเห็นและความรู้จากบุคคลหน่ึงไปยงั อีกบุคคลหน่ึง หร จากผพู้ ดู ไปยงั ผฟู้ ัง ๑.การพูดช่วยใหก้ ารดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั ดาํ เนินไปได้ ๒.การพดู เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสาร ๓.การพดู ทาํ ใหป้ ระสบความสาํ เร็จในอาชีพการงาน -ดา้ นการคา้ -ดา้ นศาสนา -ดา้ นการเมือง ๔.การพดู ช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจกนั ไดง้ า่ ย

ความมุ่งหมายและองค์ประกอบของการพูด ในการพดู ทุกคร้ังผพู้ ดู ควรต้งั ความม่งุ หมายไวใ้ หช้ ดั เจนวา่ พูดเรื่องอะไร โดยคาํ นึงถึงความสนใจ ความเช่ือ ทศั นคติ และความสามารถในการรับรู้ของผฟู้ ังดว้ ย การพดู ท่ีมีความม่งุ หมายชดั เจนจะช่วยใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจเร่ืองรา ไดต้ รงกบั ควมตอ้ งการของผพู้ ดู ๑.การพดู เพื่อใหค้ วามรู้ ๒.การพูดเพื่อความบนั เทิง ๓.การพูดเพอื่ จูงใจ การพูดเป็นวธิ ีการติดต่อส่ือสารของมนุษย์ ดงั น้นั องคป์ ระกอบของการพูดก็คือ องคป์ ระกอบของการสื่อสาร นน่ั เอง คือ มีผสู้ ่งสาร(Source) ผรู้ ับสาร(Receiver) สาร(Message) และสื่อหรือช่องทางการติดต่อ การพดู ในงานอาชีพ การพูดในงานอาชีพ ในหนงั สือเล่มน้ีจะกลา่ วถึงการสาธิต การพูดเพือ่ ขายสินคา้ หรือบริการ การสมั ภาษณ์ การพ เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ การพูดแนะนาํ ตนเองและวทิ ยากร การสนทนาทางโทรศพั ท์ การนาํ เสนอขอ้ มูลหรือการ บรรยายสรุป การพดู สาธิต การพดู อธิบายการปฏิบตั ิส่ิงใดสิ่งหน่ึง มีการใชอ้ ปุ กรณ์หรือเคร่ืองมือประกอบ โดยผพู้ ูดมีจุดประสงคใ์ หผ้ ฟู้ ังมี ความเขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิและอาจปฏิบตั ิตามจนผฟู้ ังเขา้ ใจ การเตรียมตัวก่อนพดู สาธิตควรเตรียมการตามลาํ ดบั ๑.กาํ หนดจุดม่งุ หมายของการสาธิตวา่ จะเป็นเพยี งใหผ้ ฟู้ ังรู้และเขา้ ใจข้นั ตอนการปฏิบตั ิหรือจะใหผ้ ฟู้ ังปฏิบตั ิได ๒.จดั ลาํ ดบั เน้ือหาใหต้ ่อเนื่อง ๓.ถา้ จาํ เป็นตอ้ งจดั เอกสารแสดงข้นั ตอนการปฏิบตั ิกค็ วรเตรียมไวด้ ว้ ย ๔.เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ที่แสดงประกอบในแตล่ ะข้นั ตอนใหเ้ หมาะกบั เวลา

๕.ประสานงานกบั ฝ่ ายจดั สถานท่ีใหเ้ ตรียมสถานที่สาธิตใหเ้ หมาะสมท่ีผฟู้ ังทกุ คนจะมองเห็นการสาธิตไดอ้ ยา่ ง ทว่ั ถึง ๖.ตรวจสอบและทดลองใชอ้ ุปกรณ์ก่อนสาธิต ๗.ทดลองพูดสาธิต การพูดเพ่ือขายสินค้าหรือบริการ การพดู เพอื่ ขายสินคา้ หรือบริการ คือการพูดดึงดูดใจลูกคา้ พนกั งานขายจึงมีบทบาทสาํ คญั ในการกาํ หนดความ สนใจของลูกคา้ ทาํ ใหล้ ูกคา้ ตดั สินใจซ้ือสินคา้ หรือเลือกบริการ หลกั ในการพูดขายสินคา้ หรือบริการ ๑.พูดใหล้ ูกคา้ เห็นประโยชน์ที่จะไดร้ ับ ๒.ศึกษาขอ้ มลู ของลูกคา้ ๓.ควรหาจงั หวะเวลาในการพดู ท่ีเหมาะสม ๔.พูดเสนอเน้ือหาอยา่ งกระชบั ชดั เจน ๕.ผพู้ ูดตอ้ งคาํ นึงอยเู่ สมอวา่ ในขณะน้นั ผฟู้ ังหรือลูกคา้ สาํ คญั ท่ีสุด การสัมภาษณ์ วธิ ีการสัมภาษณ์มีหลายวิธี ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั วตั ถุประสงคแ์ ละสถานการณ์ในการสัมภาษณ์ดว้ ยวา่ เป็นทางการ หรือไม่ วิธีการสมั ภาษณ์ท่ีนิยมใชโ้ ดยทว่ั ไป มีดงั น้ี ๑.การสมั ภาษณ์แบบตวั ต่อตวั ๒.การสมั ภาษณ์โดยใชแ้ บบสอบถาม ๓.การสัมภาษณ์โดยการใชโ้ ทรศพั ท์ การเตรียมการสัมภาษณ์ ๑.ควรนดั หมายใหผ้ สู้ มั ภาษณ์ทราบ วนั เวลา หวั ขอ้ เร่ืองท่ีใชใ้ นการสัมภาษณ์ก่อนท่ีจะมีการสมั ภาษณ์

๒.ศึกษาความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั เรื่องท่ีจะสัมภาษณ์ ๓.คาํ ถามท่ีนาํ มาใชส้ ัมภาษณ์ ๔.เตรียมอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการสัมภาษณ์ การพูดเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ ๑.พูดในส่ิงท่ีถูกตอ้ งและเป็นความจริง ๒.ควรพูดเร่ืองสาํ คญั เพียงเรื่องเดียวเพือ่ ป้องกนั ความสับสนของผฟู้ ัง ๓.พดู ดว้ ยภาษาที่เขา้ ใจงา่ ย กระชบั และชดั เจน ๔.พูดดว้ ยถอ้ ยคาํ ที่ไพเราะ สุภาพ ๕.ควรมีเอกสารประกอบเพือ่ ใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจงา่ ยข้ึน การพดู แนะนําตนเองและวทิ ยากร การพดู แนะนาํ ตวั เองในการพบปะสนทนากนั ตามปกติมกั จะมีการพูดจากนั ดว้ ยเรื่องอื่นๆ นาํ มาสักเลก็ นอ้ ย เช่น สนทนาเรื่องฝนฟ้าอากาศ บรรยากาศของงาน แลว้ จึงมีการแนะนาํ ตนเอง มิใช่วา่ จู่ๆจะมีการแนะนาํ ตนเองข้ึนม การพดู แนะนําวทิ ยากร ๑.แนะนาํ ช่ือนามสกุล ๒.ตาํ แหน่ง หน่วยงาน งานหนา้ ที่รับผิดชอบ ๓.ความถนดั ความสามารถพเิ ศษ ประสบการณ์ ๔.ผลงานท่ีสร้างชื่อ หน่วยท่ี4 การเขยี นบันทึก ความหมายของการเขียนบันทึก

การเขียนบนั ทึก หมายถึง การเขียนขอ้ ความส้นั ๆ เพอ่ื แจง้ ขา่ วสารหรือติดตอ่ งานแบบก่ึงทางการหรือไม่เป็น ทางการนกั อาจใชร้ ูปแบบที่กาํ หนดไวห้ รือไม่มีรูปแบบท่ีกาํ หนดแน่นอนกไ็ ดโ้ ดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ ช้ีแจง การเขยี นบนั ทึกเป็ นวิธีการรับสารอย่างหน่ึงทีไ่ ด้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย และสามารถเขียนบันทกึ จาก แหล่งข้อมูลต่างๆ ได้ ๓ ทาง ดงั นี้ ๑.เขียนบนั ทึกจากการฟัง ๒.ขียนบนั ทึกจากการอ่าน ๓.เขียนบนั ทึกจากเหตุการณ์หรือประสบการณ์ รูปแบบของการเขยี นบันทึก การเขียนบนั ทึกมีรูปแบบตา่ งกนั ผเู้ ขียนจะเลือกเขียนรูปแบบใดข้ึนอยกู่ บั ความสะดวกในการนาํ มาเขียน ซ่ึง สามารถแยกรูปแบบของการเขียนบนั ทึกไดด้ งั น้ี ๑.บนั ทึกโดยการใช้นามบัตร มกั ใชใ้ นโอกาสที่ผตู้ อ้ งการจะติดต่อดว้ ยไมอ่ ยู่ นิยมเขียนขอ้ ความท่ีตอ้ งการใหผ้ ู้ รับทราบไวด้ า้ นหลงั นามบตั ร ซ่ึงเป็นกระดาษวา่ งไมม่ ีขอ้ ความใดๆ นามบตั รจะช่วยใหผ้ รู้ ับทราบวา่ ใครเป็นผมู้ ติดต่อและจะติดตอ่ กลบั ไปไดต้ ามท่ีอยทู่ ี่ปรากฏในนามบตั ร เหตุท่ีใชก้ ระดาษนามบตั รเพราะจะไดไ้ มเ่ สียเวลา เขียนท่ีอยขู่ องผทู้ ี่มาติดต่อ ๒.บนั ทึกโดยใช้จดหมาย นิยมใชเ้ ขียนเป็นจดหมายขนาดส้นั มกั ใชใ้ นโอกาสที่บุคคลท่ีมีความคุน้ เคยกนั จาํ เป็นตอ้ งติดต่อกนั อยา่ งไมม่ ีพิธีรีตองนกั นิยมเรียกวา่ จดหมายนอ้ ย โดยผเู้ ขียนมกั จะเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาหรือ อาวโุ สท่ีสามารถเขียนสง่ั การผนู้ อ้ ยได้ ๓.บนั ทึกโดยใช้แบบฟอร์มรับโทรศัพท์ โอกาสที่จะใชบ้ นั ทึกมกั เป็นกรณีที่มีผโู้ ทรศพั ทเ์ ขา้ มาแตผ่ ทู้ ่ีตอ้ งการพูด ดว้ ยไม่อยู่ ผรู้ ับโทรศพั ทจ์ าํ เป็นตอ้ งใหฝ้ ากขอ้ ความไวแ้ ลว้ บนั ทึกลงในแบบฟอร์มรับโทรศพั ทเ์ พ่อื แจง้ ใหผ้ รู้ ับ ทราบ ๔.บนั ทึกโดยใช้กระดาษบันทกึ ขนาดส้ัน โอกาสที่ใชม้ กั ใชใ้ นการติดต่องานหรือแจง้ ข่าวสาร หรือใชต้ อบรับการ รับของเพ่ือเป็นหลกั ฐาน หรือเป็นการสง่ั การของผูบ้ งั คบั บญั ชาถึงผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาดว้ ยขอ้ ความที่เป็นคาํ ส่งั อยา่ ส้นั ๆ

๕.บนั ทกึ โดยใช้ใบช่วยความจาํ โอกาสที่ใชม้ กั เร่ืองที่จาํ เป็นจะตอ้ งติดต่อหรือดาํ เนินการใหเ้ รียบร้อย แตใ่ นขณะ น้นั ยงั มีภารกิจหรือหนา้ ท่ีอื่นที่ตอ้ งทาํ ไม่สะดวกติดตอ่ หรือดาํ เนินการไดใ้ นทนั ทีจึงจาํ เป็นตอ้ งเขียนบนั ทึกเพือ่ เตือนความจาํ ของตนเอง หน่วยท่ี 5 การเขยี นโครงการ ความหมายของโครงการ โครงการ หมายถึง แผนการดาํ เนินงานในรูปแบบเอกสารท่ีเรียบเรียงข้ึนอยา่ งเป็นลาํ ดบั ข้นั ตอนมีวตั ถุประสงคใ์ การดาํ เนินงานอยา่ งชดั แจง้ พร้อมดว้ ยมีแผนปฏิบตั ิงานเพ่ือใหบ้ รรลุเป้าหมาย ความสําคัญของโครงการ 1) ช่วยใหผ้ รู้ ับผิดชอบวางแผนงานไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ 2) ช่วยใหผ้ รู้ ่วมงานมีความเขา้ ใจแผนงานที่เป็นไปในทิศทางเดียวกนั 3) ช่วยใหง้ านดาํ เนินไปสู่เป้าหมายไดเ้ ร็วข้ึนและมีประสิทธิภาพ 4) ช่วยประหยดั งบประมาณและเวลาที่จะตอ้ งสูญเสียไปโดยไม่จาํ เป็น 5) ช่วยสร้างความมนั่ ใจในการดาํ เนินงานใหแ้ ก่ผรู้ ับผดิ ชอบ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิงานบรรลุเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดขอ้ ผิดพลาดในระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน ลกั ษณะของโครงการทด่ี ี 1) สามารถแกป้ ัญหาขององคก์ รหรือหน่วยงานน้นั ๆ ได้ 2) มีรายละเอียด วตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายอยา่ งชดั เจน 3) มคี วามเป็นไปได้ และสามารถดาํ เนินงานตามเป้าหมายท่ีต้งั ไวไ้ ดจ้ ริง

4) รายละเอียดของโครงการมีความตอ่ เน่ือง สอดคลอ้ งสัมพนั ธก์ นั 5) สามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มคนสังคม หรือประเทศชาติได้ 6) แนวทางปฏิบตั ิเป็นประโยชน์และสอดคลอ้ งกบั แผนงานหลกั ของหน่วยงาน 7) โครงการมีการกาํ หนดข้ึนจากขอ้ มูลจริงท่ีไดม้ ีการศึกษาวิเคราะห์มาแลว้ 8) ทรัพยากรที่จาํ เป็นไดร้ ับการสนบั สนุนจากหน่วยงานและผบู้ ริหารทุก ๆ ดา้ น 9) มีระยะเวลาการดาํ เนินงานท่ีแน่นอน ระบวุ นั เร่ิมตน้ และส้ินสุด 10) สามารถติดตามและประเมินผลไดท้ ุกข้นั ตอน ประเภทของโครงการ 1) โครงการสาํ รวจ 2) โครงการวิจยั และทดลอง 3) โครงการเฉพาะกิจ 4) โครงการทางธุรกิจ ส่วนประกอบของโครงการ 1) ชื่อโครงการ 2) รับผิดชอบโครงการ 3) หลกั การและเหตุผล 4) วตั ถปุ ระสงค์ 5) เป้าหมาย 6) ระยะเวลาดาํ เนินการ 7) สถานที่ดาํ เนินการ

8) วิธีดาํ เนินการ 9) งบประมาณ 10) ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 11) การติดตามและประเมินผล เกณฑ์ในการพจิ ารณาเลือกหวั ข้อโครงการ 1) ตอ้ งเป็นส่ิงที่ผจู้ ดั ทาํ มีความรู้ประสบการณ์และความถนดั ในเร่ืองที่คิดจะทาํ น้นั 2) มีความเหมาะสมกบั ช่วงระยะเวลาท่ีจะจดั ทาํ เช่น เหมาะกบั ฤดูกาล เหมาะแก่ช่วงของผลผลิตที่จะออกทาํ ให วตั ถดุ ิบเพียงพอ และใชเ้ วลาไมม่ ากไม่นอ้ ยเกินไป เป็นตน้ 3) มีความเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถ่ินหรือชุมชน เพื่อผลในการไดร้ ับความร่วมมือหรือการสนบั สนุนจากคนใ ทอ้ งถิ่นหรือชุมชนน้นั 4) มแี หล่งขอ้ มูลท่ีศึกษาคน้ ควา้ เพม่ิ เติมที่เพียงพอ 5) สามารถหาที่ปรึกษาโครงการหรือผมู้ ีความรู้ความชาํ นาญที่ใหค้ าํ ปรึกษาได้ หน่วยท่ี 6 การเขยี นรายงาน ความหมายของการเขยี นรายงาน การเขียนรายงาน หมายถึง ผลการศึกษาคน้ ควา้ สาํ รวจ รวบรวม หรือวเิ คราะห์ วิจยั ขอ้ มูลเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงอยา่ ง ละเอียด มีเหตุผลน่าเช่ือถือ โดยนาํ เสนออยา่ งมีระเบียบแบบแผนใหเ้ หมาะสมกบั เรื่องท่ีทาํ ความสําคญั ของรายงาน รายงานถือเป็นเครื่องมือสาํ คญั ท่ีทาํ ใหอ้ งคก์ ร หน่วยงาน เกิดความรู้ความเขา้ ใจร่วมกนั เป็นการสร้างองคค์ วาม ใหมเ่ กิดการปรับปรุง เปล่ียนแปลง สร้างสรรค์ นอกจากน้ีผลการรายงานยงั สามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานเอกสารอา้ ง ด้งั น้นั รายงานที่ดีจะตอ้ งละเอียด ทนั สมยั มีหลกั ฐานเทจ็ จริงแมน่ ยาํ ชดั เจน เชื่อถือได้ รูปแบบรายงาน แบ่งได้ ๒ รูปแบบ ดงั นี้

๑.รายงานขนาดส้ ันแบบไม่เป็ นทางการ ๒.รายงานขนาดยาวแบบเป็ นทางการ ๑.รายงานขนาดส้ันแบบไม่เป็ นทางการ เป็นรายงานที่อาจมีขอ้ ความส้นั ๆ เพยี งประโยคเดียวหรืออาจมีความยา ประมาณ ๑๐ หนา้ กระดาษ อาจเขียนอยใู่ นรูปจดหมายซ่ึงมกั ใชต้ ิดต่อกบั หน่วยงานภายนอกและดูเป็นทางการ มากกวา่ หรือเขียนเป็นรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ๒.รายงานขนาดยาวแบบเป็ นทางการ เป็นรายงานที่มีความยาวต้งั แต่ ๑๐ หนา้ ข้ึนไปมีขอบเขตของเร่ือง มีขอ้ มูล รายละเอียดท่ีกวา้ งขวาง ตอ้ งอาศยั การวิเคราะหอ์ ยา่ งละเอียด ใชเ้ ป็นหลกั ฐานอา้ งอิงได้ มกั จดั ทาํ เป็นรูปเล่ม ม การใส่สถิติ ตาราง รูปถา่ ย และเอกสารอา้ งอิง ตามระเบียบแบบแผนที่กาํ หนดไว้ ประเภทของรายงาน ประเภทของรายงาน แบ่งเป็น ๔ ประเภท คือ ๑.รายงานเหตกุ ารณ์ ๒.รายงานผลการปฏิบตั ิ ๓.รายงานการประชุม ๔.รายงานวชิ าการ หรือรายงายวจิ ยั หน่วยที่ 7 การเขยี นรายงานการประชุม การเขียนรายงานการประชุม รายงานการประชุม คือ การบนั ทึกความคิดเห็นของผูมาประชุม ผูเขารว มประชุม และมติ ของท่ปี ระชุมไวเปน หลักฐานดังนัน้ เมอื่ มกี ารประชมุ จึงเปน หนา ท่ีของฝา ยเลขานกุ ารทจ่ี ะตองรับผดิ ชอบจดั ทาํ รายงานการประชุม ปญหาของการเขียนรายงานการประชุม 1. ไมรวู ธิ ีการดําเนนิ การประชุมทีถ่ ูกตอง 2. ไมร ูจะจดอยา งไร

3. ไมเขาใจประเด็นของเร่ือง ผเู ขยี นจะตองรูว ธิ คี ดิ กอนเขยี น รลู ําดับความคดิ รูโครงสรางความคดิ รูองคประกอบเนือ้ หา ของหนังสอื รยู อ หนาแรกของหนังสอื ราชการ คอื อะไร ยอหนา ตอ ไป คืออะไร จบอยางไร จะทําใหเขยี น หนังสอื ไดเขาใจงาย ไมส ับสนวกวน การจดรายงานการประชุม รายงานการประชมุ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให ความหมายวา รายละเอียด หรือสาระของการประชุมทจ่ี ดไวอยางเปน ทางการ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ใหความหมายวา การบันทึกความ คิดเหน็ ของผูมาประชุม ผูรว มประชมุ และมตขิ องทปี่ ระชุมไวเ ปนหลกั ฐาน รายงานการประชุมจัดเปนหนังสือราชการชนิดที่ 6 คือ หนังสือที่เจา หนา ทจี่ ัดทาํ ข้นึ หรือรับไวเปน หลกั ฐานในราชการ ดังนน้ั การจัดทํารายงานการประชุมตองจัดทาใหถูกตอง ตามระเบียบ ความสําคัญของรายงานการประชุม รายงานการประชุม มีความสาํ คญั กับองคการมาก หากรายงานการประชุมมีความหมายผดิ ไปจาก การอภิปราย ยอมเกิดความเสียหายตอองคการได โดยมีความสําคัญดงั น้ี 1. เปน องคประกอบของการประชุมการประชุมอยางเปน ทางการ มอี งคประกอบ ไดแ ก ประธาน องคป ระชุม เลขานุการ ญัตติ ระเบียบวาระการประชุม มติ รายงานการประชมุ และหนงั สือเชิญประชุม ในการประชมุ บางเร่อื งอาจมีองคป ระกอบไมค รบกไ็ ด แตร ายงานการประชมุ กถ็ ือเปน องคป ระกอบที่ขาดไมได เพราะการประชุมน้ันมีวัตถุประสงคจ ะใหผ ูม ีอํานาจหนาที่ หรือมีความรูความ เชีย่ วชาญในเรอ่ื งที่มีการประชุมนนั้ มารว มแสดงความคิดเหน็ เพ่ือนําไปสกู ารลงมติ คือเสียงขางมาก และ สามารถนําไปปฏิบัตไิ ดต อไป รายงานการประชุมจึงเปน องคประกอบท่ีมีความสําคัญ เพราะจะตองใชเปน หลกั ฐานในการ อา งอิงยืนยัน หรอื ตรวจสอบในภายหลงั รายงานการประชุมจะมีผลสมบูรณตอเม่ือมีการรับรองรายงานการ ประชุมเรยี บรอยแลว

2. เปนหลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน ยืนยันการปฏิบัติงานที่ไดบันทึกรายงานผลการปฏิบัติงาน การ แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ การกําหนดนโยบาย ขอเสนอแนะ และมติที่ประชุม 3. เปนเครื่องมือการติดตามงาน รายการประชมุ ท่ีมกี ารจดมตไิ ว จะเปนหลักฐานสาํ คัญให เลขานุการหรือผูไดร ับมอบหมายไดตดิ ตามงานตามมตทิ ่ีประชุม การประชมุ จะมีระเบยี บวาระ เร่อื งทีเ่ สนอใหทป่ี ระชมุ ทราบ ซึง่ ผปู ฏิบัตจิ ะรายงานผลหรอื ความกาวหนา ในการปฏบิ ัติงานตามมตทิ ่ีประชุมครั้งกอน ท้ังนีจ้ ะเปน ประโยชนแ กอ งคการใหสามารถเรง รัด และพฒั นางานได 4. เปนหลกั ฐานอางอิง รายงานการประชุมที่รับรองรายงานการประชุมแลว ถือเปน เอกสารทใี่ ช อางองิ ไดตามกฎมาย หากมีปญหาหรือความขัดแยงในทางปฏิบัติ สามารถใชม ติท่ีประชมุ เพื่อยุติความขดั แยงนั้น 5. เปน ขอ มูลขา วสาร เลขานุการจะสงรายงานการประชมุ ใหผเู ขา รว มประชมุ ไดร ับทราบขอ มลู หรอื ทบทวนเรอ่ื งราวทผ่ี านมาในการประชมุ คร้งั กอน นอกจากนย้ี ังเปนประโยชนส าหรบั ผูไมมาประชมุ ไดศึกษา ขอ มลู และรับทราบมติท่ปี ระชุมดวย รายงานการประชมุ เปนขอมลู ขาวสารทีส่ ามารถเผยแพรใหบคุ ลากรในหนวยงานไดรับทราบ และถือวา เปน รูปแบบหนึ่งของการประชุมสัมพนั ธภ ายใน เพ่ือสรางความเขา ใจอนั ดีตอองคการ การเขียนจดหมายเชิญประชุม การประชมุ แตล ะครง้ั เลขานุการตอ งมีหนา ท่ที ําจดหมายเชญิ ประชมุ เพ่ือนดั หมาย คณะกรรมการสมาชิก หรือผทู ี่มสี วนเกี่ยวของกบั การประชมุ ของหนว ยงานนน้ั ๆ ผเู ขา ประชมุ จะไดทราบวา จะ มกี ารประชุม เรื่องอะไร วนั ใด เวลาใด มีระเบียบวาระการประชุมอะไรบา ง เพอ่ื ผูเขาประชมุ จะไดเตรยี มตัวหา ขอมูลตา ง ๆ มาเสนอแกที่ประชุม การเขียนจดหมายเชญิ ประชุมมีหลักการเขยี น ดงั น้ี 1. จดหมายเชญิ ประชมุ ควรสงลว งหนา ใหผ เู ขา รวมประชมุ ทราบลว งหนา อยางนอย 7 วัน กอ น การประชุม เพ่ือใหเตรียมตวั เขาประชมุ หรือหากมธี รุ ะจะไดแจง ใหหนวยงานทราบ 2. แจงเร่ืองทจี่ ะประชมุ วนั เวลา สถานที่ พรอมทง้ั ระเบียบวาระการประชุมใหช ดั เจน 3. ใชส ํานวนภาษาท่ชี ดั เจน รัดกมุ และไดใจความ ไมเขียนเยน่ิ เยอ วกวน เพราะจะทาํ ใหผอู า น เขา ใจความหมายไมถกู ตอง 4. การเขยี นจดหมายเชญิ ประชุม อาจจะเขยี นระเบียบวาระการประชมุ ลงไปในจดหมายเชิญ ประชุม หรือแยกระเบยี บวาระการประชุมอีกแผน ตางหากก็ไดโดยทว่ั ไปการเขียนจดหมายเชญิ ประชุม - ยอ หนา แรกจะแจง วาผูมอี ํานาจ เชน ประธาน คณบดี ผูอํานวยการ ฯลฯ ตองการนัดประชมุ เรื่อง อะไร ครง้ั ท่เี ทาไร เมื่อไร ที่ไหน - ยอหนาถัดมาจะแจงหวั ขอประชุมหรือระเบียบวาระการประชุม และยอหนา สดุ ทายจะเชิญ ใหผ ูเ ขาประชมุ ไปประชมุ ตามวนั เวลา และสถานที่ท่ีกําหนด

การเขียนรายงานการประชุม 1. ควรจดรายงานการประชุมควรจดเฉพาะใจความสําคญั ไมจ ําเปนตองจดทุกคําพูดหากเปน การประชุมสาํ คัญ ๆ อาจตองจดอยา งละเอยี ด จดุ ทุกญตั ติที่ผปู ระชุมเสนอใหพ จิ ารณาแตไ มต องจดคําพูดที่ อภิปรายกัน หรือความเหน็ ท่ีผูประชมุ เสนอท้ังหมด 2. ใชภ าษาใหถ ูกตองชัดเจน ทีส่ ามารถส่ือความหมายใหผูรบั สารหรือขอตกลงของท่ีประชมุ เพื่อ นาํ ไปปฏิบตั ิตามมติของทปี่ ระชมุ โดยบนั ทึกอยางกะทัดรัด เฉพาะใจความสาํ คญั ของเหตุผลและมตขิ องที่ประชมุ 3. การเขยี นรายงานการประชุมควรเขยี นเรียงตามลาํ ดบั วาระการประชมุ คร้ังน้นั ๆ โดยเขยี นหัว เรอ่ื งหรือปญ หาในแตละวาระพรอมทงั้ มตขิ องทปี่ ระชมุ ในญัตตินั้น ๆ ดว ย 4. ไมต องจดคําพูดโตแยงของแตละคน หรอื คําพดู ทีเ่ ปน รายละเอียดปลกี ยอ ยมากเกินไป ยกเวน เปน การบันทึกอยา งละเอยี ดท่ีตองการขอมลู ท่ีมรี ายละเอยี ดมาก 5. ผเู ขียนรายงานการประชุมตอ งตง้ั ใจฟงการประชุมอยา งมสี มาธิเพื่อเขียนรายงานการประชมุ ไดถกู ตอ งตามมติ และตามความเปน จรงิ 6. ควรแยกประเด็นสําคัญของผูทป่ี ระชมุ เสนอมาใหอา นเขา ใจงา ย ไมส ับสน 7. ถา ขอมูลเปน ตัวเลข จาํ นวนเงิน สถติ ิ ควรเขยี นใหถ กู ตอ ง ชดั เจน เรยี งเปนลาํ ดับชัดเจนท่ี สามารถสอ่ื ความหมายไดง า ย 8. ใชถอยคาํ สํานวนแบบยอความใหไ ดใจความสมบูรณ ไมใ ชคําฟุมเฟอย หรอื สํานวนโวหารท่ี เรา อารมณที่อาจส่ือความหมายไปในทางใดทางหนึง่ ไมตรงตามวตั ถุประสงคข องเร่ืองท่ีประชมุ

แบบรายงานการประชุม รายงานการประชุม......................................................... ครั้งที่................................. เมื่อวันที่............................ ณ ......................................................................................... ------------------------------ ผูมาประชุม 1. .............................................................. 2. .............................................................. 3. .............................................................. ผูไมมาประชุม ( ถามี) 1. .............................................................. 2. ................................ .............................. 3. .............................................................. ผูมารวมประชุม ( ถามี) 1. .............................................................. 2. .............................................................. 3. .............................................................. เริ่มประชุมเวลา .................................................................... ขอความ .............................................................................................................................................................................. .................................................................................. ......................................................... ............................................................................................................................. ............... ............................................................................................................................................................................. . เลิกประชุมเวลา .................................................................... ผูจดรายงานประชุม ...................................................................

แบบรายงานการประชุม 1. รายงานการประชุมใหล งช่ือคณะท่ีประชุมหรอื ช่ือการประชุมนัน้ เชน “รายงานการประชมุ คณะกรรมการ............... ” 2. คร้ังท่ี การลงครัง้ ทีท่ ี่ประชุม มี 2 วิธี ท่ีสามารถเลือกปฏิบัตไิ ด คือ 2.1 ลงครั้งที่ที่ประชุมเปนรายป โดยเริ่มครั้งแรกจากเลข 1 เรียงเปนลําดับไปจนสิ้นป ปฏทิ นิ ทับเลขปพุทธศักราชทีป่ ระชุมเมือ่ ขน้ึ ปใหมใหเ ร่ิมครัง้ ท่ี 1 ใหม เรยี งไปตามลําดับ เชน ครัง้ ที่ 1/2555 , 2/2555 2.2 ลงจํานวนคร้งั ทปี่ ระชุมทงั้ หมดของคณะที่ประชมุ หรือการประชมุ นน้ั ประกอบกับครั้งที่ ที่ประชมุ เปนรายป เชน ครง้ั ท่ี 12 – 1/2555 , 12 – 2/2555 3. เม่ือวันท่ี ใหล งวนั เดือน ป ทป่ี ระชมุ เชน วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ 2555 4. ณ ใหลงช่ือสถานที่ ที่ใชเปน ท่ีประชมุ 5. ผมู าประชุม ใหลงชอื่ และหรือตาํ แหนงของผูไดร ับแตงตั้งเปน คณะทปี่ ระชมุ ซ่ึงมาประชุมใน กรณีท่ีเปนผไู ดร บั การแตง ตง้ั เปน ผแู ทนหนว ยงานใหร ะบุวาเปนผแู ทนของหนวยงานใด พรอ มตําแหนงในคณะ ท่ปี ระชุม ในกรณีทีเ่ ปน ผมู าประชุมแทนใหลงช่ือผูมาประชุมแทนและลงดวยวามาประชุมแทนผใู ด หรอื ตําแหนงใด หรือแทนผูแ ทนหนว ยงานใด 6. ผูไมมาประชุมใหล งช่ือหรือตาํ แหนงของผูท ่ีไดรับการแตงต้ังเปนคณะท่ปี ระชุม ซ่ึงมิไดม า ประชุมโดยระบุใหทราบวา เปนผูแทนจากหนวยงานใดพรอมท้งั เหตุผลที่ไมส ามารถมาประชุม ถาหากทราบ ดว ยก็ได 7. ผเู ขารวมประชุมใหลงช่อื หรือตําแหนง ของผทู ่ีมไิ ดร ับการแตงต้ังเปน คณะทีป่ ระชุม ซ่งึ ไดเขา มารวมประชุมและหนว ยงานที่สงั กดั (ถาม)ี 8. เร่มิ ประชมุ ใหล งเวลาที่เริม่ ประชมุ 9. ขอความใหบนั ทึกขอความทป่ี ระชมุ โดยปกติเร่มิ ดว ยประธานกลา วเปดประชุมและเรือ่ งที่ ประชุมกบั มตหิ รือขอสรุปของทป่ี ระชุมในแตล ะเรื่อง ประกอบดวยหัวขอ ดงั น้ี 9.1 วาระท่ี 1 เร่ืองท่ีประธานแจงใหทปี่ ระชมุ ทราบ วธิ เี ขยี น ไดแ ก หัวขอเร่อื ง บุคคลนาํ เขา เน้ือหา บทสรุป (ท่ีประชมุ รับทราบ) 9.2 วาระท่ี 2 เร่ืองรับรองรายงานการประชุม (กรณีเปนการประชุมท่ีไมใชการประชุมคร้ังแรก) วธิ ีเขียน เชน ประธานไดเสนอรา งรายงานการประชุมคร้ังที่ 1/2553 เมอ่ื วันท่ี 5 พฤษภาคม 2553 ใหท่ีประชมุ พจิ ารณา ท่ีประชุมพิจารณาแลว รับรองรายงานการประชุมโดยไมมีก่ีแกไข หรือมกี ารแกไขดังน.ี้ ........................

การรบั รองรายงานการประชุม อาจทําได 3 วธิ ี คือ วิธที ่ี 1 การรับรองแบบเรง ดวน มคี วามจาํ เปน เรงดวนท่ีจะตองรบั รองรายงานการประชุมเพอ่ื นาํ ไปใชง านสาํ คัญ เรง ดว นใหประธานหรอื เลขานุการของที่ประชมุ อา นสรุปมติท่ีประชุมพจิ ารณารับรอง วิธที ี่ 2 การรับรองในการประชมุ คร้งั ตอ ไป ใหประธานหรือเลขานกุ าร เสนอรายงาน การประชมุ คร้ังทีแ่ ลว มาใหท่ปี ระชุมพิจารณารับรอง วธิ ที ่ี 3 การรับรองโดยการแจง เวยี น ใชในกรณที ่ปี ระชมุ ครั้งเดียว / คร้ังสุดทาย หรือประชุมครงั้ ตอไปอกี นานมาก 9.3 วาระที่ 3 เรื่องทีเ่ สนอใหท ่ีประชมุ ทราบ วิธีเขยี นเหมือนกบั ระเบียบวาระที่ 1 9.4 วาระท่ี 4 เรื่องที่เสนอใหท่ีประชมุ พจิ ารณา วิธีเขียน หัวขอเรื่อง ผูนําเขา เนื้อหา (ประกอบ ดว ย ประเด็นปญหาแล ะ ผลกระทบ ขอ เทจ็ จริง ความคดิ เหน็ ขอเสนอ ) บทสรปุ มติทป่ี ระชมุ เชน ทป่ี ระชุมพจิ ารณาแลว ใหส ว นงานหา ขอ มลู เพ่ิมเตมิ ประกอบการพิจารณาในคร้ัง ตอไป 9.5 วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ (ถา มี) เปน เร่อื งดวนและสาํ คัญ เกิดขน้ึ หลงั จากออกหนงั สือเชญิ ประชุมไปแลว 10. ประธาน กลา วการปดประชมุ 11. เลิกประชุมเวลา ใหล งเวลาที่เลิกประชุม 12. ผูจดรายงานการประชุม สวนประกอบของขอความในแตละเรื่อง ควรประกอบดวยเนื้อหา 3 สว น คือ สว นท่ี 1 ความเปนมา หรือสาเหตุที่ทําใหตองมีการประชุมพิจารณาเรอื่ งนน้ั ๆ สวนที่ 2 ความคิดเห็นหรือขออภิปรายตางๆ ซึ่งคณะที่ประชุมไดแสดงความคิดเห็นหรือได อภิปรายในเร่ืองดงั กลาว สว นที่ 3 มติทป่ี ระชุม ซึ่งถือเปนสวนสําคัญ ที่จําเปนตองระบุใหชัดเจน เพื่อจะไดใชเปน หลักฐาน หรือใชเปนแนวทางในการปฏิบัตติ อเร่ืองตางๆ ที่ไดประชุม การจดรายงานการประชุม อาจทาํ ได 3 วิธี คือ วิธที ี่ 1 จดรายละเอยี ดทกุ สํานวนทีพ่ ดู ของกรรมการ หรือผูเขา รวมประชมุ ทุกคน พรอมดวยมติ ใชใ นกรณีทีเ่ ปน ปญหาตีความดา นกฎหมาย / เปนทางการ วิธที ี่ 2 จดอยางยอ จดยอประเด็นสําคัญของกรรมการหรือผูเขารว มประชุม อนั เปน เหตุผล นาํ ไปสูมติของที่ประชุม พรอมดวยมติ วธิ ที ี่ 3 จดแตเ หตผุ ลกบั มติของท่ีประชุมไดแ กป ญ หาขอเทจ็ จริงความเห็นขอ เสนอแนะและมติที่ประขุม

ทักษะการจบั ประเด็นสรุปความ 1. เรื่องแจงทราบ 5W1H ใชเทคนิค 5W1H ในการคดิ วิเคราะหปญ หาคืออะไร หรือ อะไรคือปญหา Who ใคร (ในเรื่องนัน้ มีใครบาง) What ทําอะไร (แตละคนทําอะไรบาง) Where ที่ไหน (เหตกุ ารณหรือสิ่งทท่ี ําน้นั อยทู ่ีไหน) When เมื่อไหร (เหตุการณหรือสิง่ ทีท่ ํานั้นทําเมื่อวนั เดือน ป ใด) Why ทาํ ไม (เหตุใดจึงไดทําสง่ิ นน้ั หรอื เกดิ เหตุการณน ้ันๆ) How อยางไร (เหตุการณหรือสิง่ ทท่ี ําน้ันทําเปนอยางไรบา ง) 2. เรอื่ งพจิ ารณา ประเดน็ ปญ หา ผลกระทบ ขอ เท็จจริง ความคดิ เหน็ ขอเสนอ มตทิ ีป่ ระชุม บุคคล อภิปราย พูดในทป่ี ระชุม ผจู ดรายงานการประชุมตอง “จับเจตนา” ของผูพูดวาตองการอะไร ดังนี้ 2.1 รายงาน - รายงานการปฏิบัติงาน ความคบื หนาของผลงาน / รายงาน ปญ หาอปุ สรรค 2.2 แจง - การพูดแจงใหเพ่ือทราบ 5W1H 2.3 ชี้แจง - การพูดเพื่อช้ีแจง สาเหตุ เรื่องราว หรือชแ้ี จงระเบยี บการปฏิบัติ 2.4 แสดงความคดิ เห็น - การแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ประเดน็ ท่ีพจิ ารณาอยู ทําแลวเกดิ ประโยชน ผลดี ผลเสียหรือไมอยา งไร 2.5 ใหขอเสนอ – การใหขอเสนอควรทาํ อะไร หรือ อยางไร

ตัวอยางการเขียนรายงานการประชุม ขอที่ 1 ขอที่ 2 ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ช ุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ จ ํ า ค ณ ขะอ ท1ี่ว า ร ส า ร ศ า ส ต ร  แ ล ะ ส ื ่ อ ส า ร ม ว ล ช น ขอที่ 3 ครั้งที่ 1 / 2 5 5 6 ขอที่ 4 วันศุกรที่ 2 2 มกราคม พ.ศ. 2 5 5 6 ณ หองประชุมเกษม ศิริสัมพันธ ชั้น 4 อาคารคณะวารสารศาสตรฯ ศูนยรังสิต ------------------------------------------- ผูมาประชุม 1. รองศาสตราจารยพรทพิ ย สัมปต ตะวนชิ ประธานกรรมการ (คณบดีคณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ 2. นายภัทรพงศ ศรีเธียรอินทร 3. อาจารย ดร.พงษศักด์ิ พยัฆวเิ ชยี ร กรรมการผูทรงคุณวุฒิ 4. ผชู ว ยศาสตราจารยช ุลีพร เกษโกวิท กรรมการผูทรงคุณวุฒิ 5. ผชู วยศาสตราจารยป ทมา สุวรรณภกั ดี กรรมการ (รองคณบดฝี ายบรหิ าร และ หัวหนา สาขาภาพยนตรและภาพถาย) 6. รองศาสตราจารยกลั ยกร วรกลุ ลฎั ฐานีย กรรมการ (รองคณบดีฝา ยวชิ าการ) 7. รองศาสตราจารยวงหทัย ตันชวี ะวงศ กรรมการ (รองคณบดีฝายวจิ ัยและวางแผน) 8. อาจารยว ารี ฉัตรอดุ มผล กรรมการ (รองคณบดีฝายการนักศึกษา) ขอที่ 5 9. อาจารย ดร.นธิ ดิ า แสงสิงแกว กรรมการ (ผูอ าํ นวยการโครงการปริญญาตรี ภาคภาษาอังกฤษ (B.J.M.) 10. อาจารยสมชั ชนันท เอกปญญากลุ กรรมการ (ผแู ทนจากสภาอาจารยประเภทหนว ยงาน และ หวั หนา สาขาวิชาโฆษณา) 11. อาจารยเกศราพร ทองพุมพฤกษา กรรมการ (หัวหนาสาขาวชิ าหนงั สือพมิ พและส่ิงพิมพ) 12. อาจารยดวงแกว เธียรสวสัั ดิ์กิจ กรรมการ (หวั หนาสาขาวิชาประชาสมพันธ) 13. นางสาวหรรษา วงศธ รรมกูล เลขานุการคณะกรรมการ 14. นางสาวธารารตั น พรหมบบุ ผา ผชู ว ยเลขานุการคณะกรรมการ 15 นางสาวศรัณยภัทร ศรวี ชิ า ผูชวยเลขานกุ ารคณะกรรมการ

ผูไมมาประชุม 1. อาจารยประไพพิศ มทุ ติ าเจรญิ ตดิ ราชการ (รองคณบดีฝา ยวเิ ทศสัมพนั ธและประชาสัมพันธ) ติดราชการ ขอที่ 6 ตดิ ราชการ 2. รองศาสตราจารยกิติมา สรุ สนธิ -- ขอที่ 6 (ผูแทนคณาจารย) ขอที่ 7 ขอที่ 8 3. รองศาสตราจารยแ อนนา จมุ พลเสถยี ร (ผอํานวยการปริญญาโท) ผูเขารวมประชุม 1. นางปทุมมาศ เฟองการรบ 2. นางสาวอมราลักษณ ภวู ไนยวีรพงศ 3. นางปย าพชั ร คนชม ---------------------------------- เปดประชุมเวลา 1 3 . 3 0 น. ----------------------------------- ประธานกลา วเปด ประชุมและแจงใหทปี่ ระชมุ ทราบและพิจารณาวาระตางๆ ดังน้ี วาระที่ 1 เรื่องที่แจงใหที่ประชุมทราบ 1 . 1 เรื่อง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ประธานแจง ท่ีประชมุ วา ........................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ที่ประชุมรับทราบ มติที่ประชุม วาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ขอที่ 9 2 . 1 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ที่ประชุมพิจารณารายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะวารสาร ศาสตรแ ละสอื่ สารมวลชน ครัง้ ท่ี ........... เม่อื วันท่ี ................. แลว มมี ตใิ หแ กไ ขรายงานการ ประชมุ ดงั น้ี หนาท่ี 4 วาระท่ี 3 ขอท่ี 1 “...........ขอความเดิม.............. ” แกไขเปน “...........ขอความใหม. ............ ” ทป่ี ระชุมรับรองรายการประชุมคร้ังที่ 11/2555 มติที่ประชุม โดยใหแกไขดังกลาว

วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง 3 . 1 เรื่อง................................................................................................... 3.1.1 เรือ่ ง................................................................................ ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... มติที่ประชุม ท่ปี ระชมุ รับทราบ 3.1.2 เร่ือง................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................... มติที่ประชุม ที่ประชมุ รบั ทราบ 3 . 2 เรื่อง.......................................................................................... ประธานแจง ทป่ี ระชุมวา .......................................................................... ..................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... มติที่ประชุม ทป่ี ระชุมรบั ทราบ วาระที่ 4 เรื่องพิจารณา ขอที่ 9 4 . 1 เรื่อง พิจารณา.............................................................................. ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................... มติที่ประชุม ท่ปี ระชุมเหน็ ชอบในหลักการ และใหดําเนินการตามท่ีเสนอ 4 . 2 เรื่อง...................................................................................... 4.2.1 เร่ือง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ มติที่ประชุม ที่ประชมุ เหน็ ชอบในหลักการ และใหดาํ เนินการ ตามที่เสนอ 4.2.2 เร่ือง...................................................................................... ..................................................................................................................................................... ...................................................................................................................... มติที่ประชุม ทปี่ ระชมุ เหน็ ชอบในหลักการ และใหดําเนินการ ตามท่ีเสนอ 4 . 3 เรื่อง พิจารณา.............................................................................. .....................................................................................................................................................

วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ ขอที่ 9 5 . 1 เรื่อง................................................................ ....... ..................................................................................................................................................... ......................................................................................................................... มติที่ประชุม ที่ประชมุ รบั ทราบ 5 . 2 เรื่อง วันประชุมครั้งตอไป ประธานแจงท่ปี ระชุมวา ประชุมคร้งั ตอ ไปในวนั ..................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... มติที่ประชุม ที่ประชุมรับทราบ ----------------------------------- ขอที่ 1 0 ปดประชุมเวลา 1 5 . 1 0 น. ขอ้ ท◌1่◌1 ี ------------------------------------------ ธารารัตน พรหมบุบผา ผูจดรายงานการประชุม หรรษา วงศธรรมกลู ผูตรวจรายงานการประชุม

ขอบกพรองในการเขียนรายงานการประชุม 1. ช่ือรายงานและผจู ด มกี ารใชคาํ ตางๆไมตรงกนั ควรใชใ หเ ปน มาตรฐาน คือ รายงานการ ประชมุ และผจู ดรายงานการประชมุ 2. ช่ือการประชมุ บางแหงต้ังช่อื การประชุมไมเหมาะสม เชน “การประชุมแผน”........ พมิ พช่อื คณะกรรมการตามทแี่ ตง ต้ัง เชน “การประชมุ คณะกรรมการวางแผน” เปน ตน 3. วนั ที่และสถานที่ประชุม - บางคร้ังวนั และวนั ที่ไมตรงกนั เชน วันพธุ ที่ 5 แตความจรงิ คือวันพฤหัสบดีที่ 5 เปนตน - สถานทป่ี ระชุมบางแหง ระบเุ ฉพาะช่ือหรือหมายเลขหองประชมุ ควรระบุหนว ยงานดวย เชน หองประชุม 306 ช้นั 3 อาคารคณะวารสารศาสตรฯ มธ.ศนู ยร งั สิต เปนตน 4. วนั เวลาประชมุ - การใชคาํ วา เปด -ปด ประชุม ทถ่ี กู ควรใชค าํ วา เริ่มประชุม และ เลิกประชมุ สวนคาํ วา เปด -ปด ควรใชในกรณีของประธาน คือ ประธานกลาวเปด การประชมุ – ปดการประชุม - การเขยี นตวั เลขเวลา ตองเขยี น 09.00 น. ไมใช 9.00 น. และเขียนตามจริงไมใชต าม เวลาทีน่ ดั หมาย เศษของนาทอนโุ ลมเปนเลข 0 หรือ 5 นาที เชน 15.45 น. 5. ผมู าประชุม บางแหงใช ผูเขา ประชมุ รายชื่อผเู ขาประชุม ฯลฯ ควรใชใ หเปนมาตรฐานคอื ผมู า ประชุม และ ผไู มมาประชมุ สว นผเู กีย่ วขอ งทเี่ ขาประชมุ แตไมใชก รรมการหรือคณะบุคคลทไี่ ดร บั การแตงต้ัง เรียกวา ผเู ขา รว มประชุม บทท่ี 8 การเขียนรายงานทางวชิ าการหรือรายงานการวิจัย แหล่งข้อมูลในการเขยี นรายงานทางวิชาการหรือรายงานการวจิ ยั วิธีคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ในการเขียนรายงานมีหลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์บุคลากรในหน่วยงานของรัฐและ เอกชน การสอบถามบรรณารักษเ์ กี่ยวกบั ขอ้ มูลท่ีตอ้ งการ การสงั เกต หรือสัมภาษณ์ การฟังการ บรรยาย การฟังการแถลงข่าว จากส่ือมวลชนตา่ งๆ การไปทศั นศึกษา การชมนิทรรศการ สาํ หรับ แหล่งขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นการคน้ ควา้ มีดงั น้ี ๑.หอสมดุ แห่งชาติ ๒.หอ้ งสมุดของสถาบนั การศึกษา ๓.หอ้ งสมุดประชาชน ๔.หอ้ งสมดุ เฉพาะ ๕.พพิ ิธภณั ฑ์ ๖.ศาลาเคร่ืองราชอิสริยยศและเหรียญกษาปณ์ไทย

รายงานทางวชิ าการหรือรายงานการวจิ ัย รายงานทางวิชาการหรือรายงานการวจิ ยั คือ การนาํ เสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีระเบียบแบบแผน มีการอา้ งอิงแหล่งที่มาของขอ้ มลู ถือเป็นส่วนหน่ึงของการประเมินผลการศึกษา ระดับของรายงานทางวิชาการหรือรายงานการวิจัย ๑.รายงาน(Report) เป็นผลการศึกษาคน้ ควา้ ที่ถือเป็นส่วนหน่ึงของการประเมินผลการศึกษาผสู้ อนอาจ กาํ หนดใหผ้ เู้ รียนทาํ เป็นรายบคุ คล หรือเป็นกลุ่มได้ ๒.ภาคนิพนธ์(Term Peper) เป็นผลการศึกษาคน้ ควา้ ท่ีถือเป็นการประเมินผลการศึกษาของวชิ าใดวชิ า หน่ึงในภาคเรียน เน้ือหาของภาคนิพนธ์อาจครอบคลมุ หรือสมั พนั ธ์กบั เน้ือหาวชิ าท่ีเรียนหรือมีเวลา เรียนไดไ้ ม่ละเอียดลึกซ้ึงพอ ภาคนิพนธ์มกั เป็นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ ของนกั ศึกษาปริญญาตรี ๓.วทิ ยานิพนธห์ รือปริญญานิพนธ์ (Thesis or Dissertation) เป็นผลการศึกษาคน้ ควา้ ของนกั ศึกษา ระดบั บณั ฑิตศึกษา ตามหลกั สูตรปริญญามหาบณั ฑิตและดุษฎีบณั ฑิต ผศู้ ึกษาจะตอ้ งใชเ้ วลาในการ คน้ ควา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑ ปี จะตอ้ งมีเน้ือหาและแนวคิดท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ของผศู้ ึกษาเอง ส่วนประกอบและการเขยี นส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการหรือรายงานการวิจัย ๑.ส่วนประกอบตอนตน้ ๑.๑ปกนอก ๑.๒ใบรองปก ๑.๓ปกใน ๑.๔คาํ นาํ ๑.๕สารบญั ๑.๖สารบญั ตาราง ๑.๗สารบญั ภาพประกอบ ๒.ส่วนประกอบตอนเน้ือเร่ือง ๒.๑ส่วนท่ีเป็ นเน้ือหา ๒.๒ส่วนอา้ งอิง ๓.ส่วนประกอบตอนทา้ ย ๓.๑บรรณานุกรม ๓.๒อภิธานศพั ท์ ๓.๔ภาคผนวก ข้นั ตอนในการเขียนรายงาน ๑.การเลือกหวั ขอ้ เร่ือง ๑.๑เป็นเรื่องท่ีน่าสนใจและผเู้ ขียนสนใจ ๑.๒เป็นเร่ืองที่มีเอกสารคน้ ควา้ อยา่ งเพยี งพอ ๑.๓เป็นเรื่องที่ไม่เกินความสามารถในการคน้ ควา้ ๒.การกาํ หนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตของเร่ือง

๒.๑ผเู้ ขียนมีจุดมุง่ หมายอยา่ งไรในการเขียนรายงาน ๒.๒ผเู้ ขียนควรกาํ หนดขอบเขตของเร่ืองใหเ้ หมาะกบั เวลา ๓.การวางโครงเร่ือง โครงเรื่องเป็นการจดั ลาํ ดบั เน้ือหาตามหวั ขอ้ ใหญ่ หัวขอ้ รองและหวั ขอ้ ยอ่ ยอยา่ งคร่าวๆ เพื่อช่วยให้ มองเห็นทิศทาง รูปแบบของเน้ือหา รายละเอียดที่สัมพนั ธ์และครอบคลุมเน้ือหา ควรหาขอ้ มูลหรือ เอกสารอา้ งอิงก่อนเพราะขอ้ มลู ที่มีอยจู่ ะจาํ กดั วา่ เน้ือเรื่องควรเป็นไปแนวใด ๔.การรวบรวมขอ้ มูลและการจดบนั ทึก การจดบนั ทึกมี ๔ วิธีคือ ๔.๑วิธีจดบนั ทึกแบบยอ่ ความ ๔.๒วิธีการจดบนั ทึกแบบถอดความ ๔.๓วธิ ีการจดบนั ทึกแบบคดั ลอก ๔.๔วิธีการจดบนั ทึกแบบวจิ ารณ์หรือสรุปความคิดเห็น ๕.การเรียบเรียงเน้ือหา ๖.การเขียนเชิงอา้ งอิง ๗.การเขียนบรรณานุกรม ๘.ความแตกตา่ งระหวา่ งเชิงอรรถและบรรณานุกรม หน่วยที่ 9 การเขียนจดหมายสมคั รงาน ส่วนประกอบของจดหมายสมัครงาน การเขียนจดหมายสมคั รงาน เป็นจดหมายท่ีผเู้ พ่งิ สาํ เร็จการศึกษา หรือผทู้ ี่มีงานทาํ อยแู่ ลว้ แต่ ตอ้ งการเปลี่ยนงาน เขียนส่งมายงั ผจู้ ดั ฝ่ ายบุคคล หรือหวั หนา้ งานบคุ ลากรโดยมีความมุง่ หมาย เพ่ือใหบ้ ริษทั หรือหน่วยงานภาครัฐบาลและเอกชนใหโ้ อกาสผเู้ ขียนจดหมายเขา้ รับการสัมภาษณ์ โดยปกติเจา้ ของงานจะระบุคุณบตั ิของผสู้ มคั รไวอ้ ยา่ งชดั เจน ส่วนประกอบของจดหมายสมคั รงาน มีดงั น้ี ๑.ที่อยขู่ องผูเ้ ขียน ๒.วนั เดือน ปี ที่เขียนจดหมายสมคั รงาน ๓.เรื่อง ๔.คาํ ข้ึนตน้ เรียน หวั หนา้ งานบคุ ลากร หรือผจู้ ดั การฝ่ ายบุคคล ๕.ความนาํ หรือการเริ่มยอ่ หนา้ แรก ๖.เน้ือหาของการสมคั ร ๗.ยอ่ หนา้ สรุป ๘.คาํ ลงทา้ ย ๙.ลายมือ คาํ นาํ หนา้ นาม ชื่อและนามสกุลผสู้ มคั ร หลกั การเขียนจดหมายสมัครงาน

๑.กระดาษและซองท่ีใชเ้ ขียนควรเป็นกระดาษสีขาวที่มีคุณภาพดีและเขา้ ชุดกนั ๒.ควรเขียนจดหมายสมคั รงานดว้ ยลายมือของตนเองใหส้ ะอาดเรียบร้อน ๓.ขอ้ ความในจดหมายควนเป็นขอ้ ความส้ันๆ ตรงไปตรงมา ๔.ตรวจดูตวั สะกดการันต์ การใชเ้ คร่ืองหมายใหถ้ ูกตอ้ ง ๕.ไมค่ วรใชส้ าํ เนาจดหมายหรือไปรษณียบตั รส่งไปสมคั รงาน ๖.ไมค่ วรกล่าวถึงเงินเดือนท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับในจดหมาย ๗.ถา้ ประกาศแจง้ ความไม่ระบุใหส้ ่งรูปถา่ ยไปใหด้ ู กไ็ ม่ควรส่ง ๘.ไม่ควรเขียนขอ้ ความทาํ นองขอความเห็นใจโดยอา้ งถึงความเดือดร้อนที่ประสบอยู่ ๙.หลีกเลี่ยงการเขียนโจมตี บทท่ี 10 การกรอกแบบฟอร์มเอกสารเพ่ือกจิ ธุระ ความหมายของแบบฟอร์ม พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหค้ วามหมายวา่ แบบ หมายถึง กาํ หนดใหถ้ ือเป็นหลกั หรือเป็นแนวดาํ เนิน ส่วนคาํ วา่ ฟอร์ม เป็นคาํ ทบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ หมายถึง รูป รูปร่าง สรุป แบบฟอร์ม หมายถึง เอกสารที่จดั ทาํ ข้ึนโดยเวน้ ช่องวา่ งไวใ้ หบ้ คุ คลท่ีประสงค์ ติดต่อส่ือสาร แบบฟอร์มเป็นผกู้ รอกขอ้ มูลลงไปในช่องวา่ งตามแนวคาํ ถามในแบบฟอร์มน้นั ใหไ้ ด้ ใจความสมบูรณ์ ลกั ษณะของการติดต่อสื่อสารด้วยการใช้แบบฟอร์ม แบบฟอร์มท่ีใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั มีหลายชนิดแตกต่างกนั ไป ลกั ษณะของการติดต่อส่ือสาร แบ่ง ออกเป็น ประเภท คือ ๑. แบบฟอร์มท่ีบคุ คลทว่ั ไปใชต้ ิดต่อกบั หน่วยงาน ๒. แบบฟอร์มท่ีใชต้ ิดต่อกนั ภายในหน่วยงาน ๓. แบบฟอร์มที่ใชต้ ิดต่อกนั ระหวา่ งบุคคล ประเภทของแบบฟอร์ม แบ่งตามลกั ษณะและวิธีการนาํ ไปใช้ มีดงั นี้ ๑. แบบฟอร์มคาํ ร้องทวั่ ไป ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มที่เป็นคาํ ขอเก่ียวกบั เร่ืองทวั่ ไปท่ีผกู้ รอกแบบฟอร์ม สามารถขอรับบริการในดา้ นต่าง ๆ หรือขอใชส้ ิทธ์ิตามระเบียบตา่ ง ๆ ที่กาํ หนดไวไ้ ด้ โดยตอ้ ง แสดงความ จาํ นงผา่ นการกรอกแบบฟอร์มเสียก่อน เช่น ใบคาํ ร้องขอมีบตั รประชาชน แบบคาํ ขอ จดทะเบียนรถยนต์ ใบคาํ ร้องขอเปล่ียนช่ือ-นามสกลุ เป็นตน้ ๒. แบบฟอร์มคาํ ขออนุญาต ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มที่เป็ นคาํ ขอหรือร้องขอที่ผูก้ รอกแบบฟอร์มสามารถ ใช้ สิทธ์ิหรือใชบ้ ริการไดต้ ่อเม่ือไดร้ ับอนุญาตเทา่ น้นั เช่น ใบขออนุญาตใชร้ ถส่วนกลาง ใบขอ อนุญาตออกนอก เขตจงั หวดั เป็นตน้

๓. แบบฟอร์มการทาํ สญั ญา ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มท่ีเป็ นหลกั ฐานในการกระทาํ อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของ บุคคลอนั มีผลทางกฎหมาย เช่น หนงั สือสญั ญา หนงั สือรับมอบอาํ นาจหรือรับโอนกรรมสิทธ์ิตา่ ง ๆ ท้งั น้ี ตอ้ งเกิดจากการยนิ ยอมพร้อมใจกนั ตอ่ หนา้ พยานบุคคล ๔. แบบฟอร์มใบสมคั ร ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มท่ีผกู้ รอกขอ้ มลู ประสงคจ์ ะขอเขา้ ร่วมกิจกรรมหรือเป็น สมาชิกของหน่วยงาน องคก์ รหรือสมาคมที่ไดต้ ิดต่อยน่ื แบบฟอร์มน้นั เช่นใบสมคั รงานใบสมคั ร เขา้ ศึกษาต่อ ใบสมคั รเขา้ ประกวดร้องเพลง เป็นตน้ ๕. แบบสาํ รวจ/บนั ทึกขอ้ มูล ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มท่ีผสู้ าํ รวจกรอกขอ้ มูลลงไปตามขอ้ เทจ็ จริงท่ีได้ ตรวจสอบหลกั ฐานต่าง ๆ เพือ่ นาํ ขอ้ มลู ที่ไดไ้ ปศึกษาวเิ คราะห์และพฒั นาใหเ้ กิดประโยชน์ต่อไป เช่น แบบ สาํ รวจระบบการทาํ งาน แบบสาํ รวจค่าใชจ้ ่ายในการดาํ เนินงาน แบบสาํ รวจสาํ มะโน ประชากร เป็นตน้ ๖. แบบสอบถาม ไดแ้ ก่ แบบฟอร์มท่ีผูก้ รอกขอ้ มลู ช่วยใหค้ วามอนุเคราะห์แก่ผจู้ ดั ทาํ แบบฟอร์ม โดยยนิ ยอมใหข้ อ้ มูลดว้ ยความยนิ ดีสมคั รใจ เช่น แบบสอบถามความพงึ พอใจในการทาํ งาน แบบสอบถาม ความคิดเห็นตา่ ง ๆ เป็นตน้ โครงสร้างของแบบฟอร์ม ประกอบไปด้วยส่วนสําคัญ ดงั นี้ ๑. เร่ือง/ขอ้ ความที่ระบุประเภทของแบบฟอร์ม เช่น ใบขออนุญาตใชร้ ถส่วนกลาง แบบคาํ ขอจด ทะเบียนรถยนต์ ใบคาํ ร้องขอมีบตั รประชาชน เป็นตน้ ๒. ในกรณีท่ีแบบฟอร์มประเภทคาํ ร้องขอ คาํ ขออนุญาต จะตอ้ งมีการบอกกล่าวตอ่ บคุ คล ผมู้ ีอาํ นาจ ในการลงนามอนุมตั ิหรืออนุญาตไวด้ ว้ ย เช่น เรียน ผอู้ าํ นวยการ เรียน นายกเทศมนตรี เป็นตน้ ๓. ขอ้ มลู รายละเอียดเกี่ยวกบั ผทู้ ี่ประสงคจ์ ะติดต่อส่ือสาร เช่น ช่ือ นามสกลุ ที่อยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ วฒุ ิการศึกษา เป็นตน้ ๔. ขอ้ ความท่ีระบคุ วามประสงคข์ องผมู้ าติดต่อส่ือสาร เช่น ขอเปล่ียนแปลงช่ือ-นามสกุล ขอเปล่ียน สถานที่ติดตอ่ ขอรายงานการตรวจสภาพรถยนต์ เป็ นตน้ ๕. การยนื ยนั การรับรองในการติดต่อส่ือสาร เช่น การลงลายมือชื่อของผกู้ รอกแบบฟอร์ม การลง ลายมือชื่อของบุคคลอา้ งอิง เป็นตน้ ข้อควรปฏบิ ตั ใิ นการกรอกแบบฟอร์ม ๑. ตอ้ งอ่านขอ้ ความท้งั หมดใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งถ่องแทเ้ สียก่อน ๒. ตอ้ งเขียนดว้ ยลายมือที่อ่านงา่ ย ตวั อกั ษรชดั เจน ๓. ต้งั ใจเขียนดว้ ยความประณีตบรรจง มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ๔. เวลากรอกใบสมคั ร ไม่ตอ้ งรีบจนเกินไป เน่ืองจากการรีบเร่งจะทาํ ใหเ้ ขียนผิดได้ ๕. ตอ้ งไม่มีการขดุ ลบ ขีดฆ่า เพราะจะดูไม่เรียบร้อย แสดงวา่ ไม่ต้งั ใจเขียน ๖. ตอ้ งพยายามกรอกขอ้ มูลใหค้ รบถว้ นสมบูรณ์ การกรอกแบบฟอร์มสมัครงาน

หรือใบสมคั รงาน นบั เป็นเคร่ืองมือ ที่สาํ คญั ในการคดั เลือกบคุ ลากรเขา้ ทาํ งาน เพราะเม่ือ ตอ้ งการสมั ภาษณ์ ผสู้ มคั ร ผสู้ ัมภาษณ์จะพจิ ารณาโดย อาศยั ใบสมคั ร ดงั น้นั ผสู้ มคั รจึงควร ทาํ ความเขา้ ใจกบั ใบสมคั รก่อนท่ีจะ กรอกเพอื่ จะไดก้ รอกอยา่ งถกู ตอ้ ง เรียบร้อยและดึงดูดความ สนใจของ ผพู้ จิ ารณาใบสมคั ร หน่วยที่ 11 การเขียนประชาสัมพนั ธ์ในงานอาชีพ ความหมายและความสําคญั ของการประชาสัมพนั ธ์ หมาถึง การเผยแพร่ความรู้และขา่ วสสารของหน่วยงานแก่ประชาชน โดยทว่ั ไปมกั เนน้ การสร้างภาพลกั ษณ์ที่ดีของหน่วยงาน ซ่ึงเป็นการสร้างความเขา้ ใจและความสมั พนั ธ์อนั ดี วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพนั ธ์ ๑.เพื่อบอกกล่าว เผยแพร่ใหค้ วามรู้ และแจง้ ข่าวสารของหน่วยงานใหบ้ ุคคลทว่ั ไปไดท้ ราบ ๒. เพอ่ื ป้องกนั และแกไ้ ขความเขา้ ใจผิด การใหค้ วามรู้และสร้างทศั นคติใหป้ ระชาชนทราบ อยา่ งสม่าํ เสมอ ๓. เพือ่ สาํ รวจตรวจสอบกระแสประชามติ ๔. เพื่อสร้างภาพลกั ษณ์ที่ดี นาํ ไปสู่ชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือของหน่วยงาน หลกั การเขียนเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ ๑. นาํ เสนอขอ้ มลู ท่ีเป็นความจริง ๒. ใชภ้ าษาท่ีเขา้ ใจงา่ ย ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษาไทย เขียนใหก้ ระชบั ชดั เจน และตรงประเดน็ ที่สุด ๓. หลีกเหล่ียงการใชส้ ถิติหรือตวั เลขตา่ งๆ เพราะอาจทาํ ใหเ้ กิดความสบั สน ๔. องคป์ ระกอบท้งั หมดในขอ้ ความประชาสัมพนั ธ์ควรสอดคลอ้ งกนั ๕. ไมเ่ ขียนโจมตีหรือยกยอ่ งผใู้ ดผหู้ น่ึงมากเกินไป ๖. ควรเขียนเพอ่ื สร้างความสัมพนั ธ์อนั ดี ๗. ในการประชาสัมพนั ธ์เพอื่ ส่งเสริมการตลาด ควรนาํ เสนอเรื่องราวท่ีสัมพนั ธก์ บั กิจกรรมทางธุรกิจอยา่ ใกลช้ ิด การใช้ภาษาในการประชาสัมพนั ธ์ เนื่องจากการประชาสมั พนั ธ์เป็นกาใหข้ อ้ มูลขา่ วสารหรือขอ้ เทจ็ จริงที่เกิดข้ึนในหน่วยงาน สู่ประชาชน โดยผา่ นสื่อมวลชนแขนงต่างๆ ในการประชาสมั พนั ธแ์ ต่ละคร้ังจึงควรคาํ นึงถึงการ ใชภ้ าษาเป็นสาํ คญั การใชภ้ าษาในการประชาสมั พนั ธค์ วรมีลกั ษณะดงั น้ี ๑. ใชภ้ าษาทางการหรือก่ึงทางการ เพราะเป็ นการใหข้ อ้ มูลขา่ วสารอยา่ งตรงไปตรงมา ๒. ใชภ้ าษาที่สุภาพ หลีกเหล่ียงการใชศ้ พั ทส์ แลง ๓. ใชภ้ าษาท่ีส่ือความหมายชดั เจน

๔. เขียนถอ้ ยคาํ ตา่ งๆ อยา่ งตรงไปตรงมาในส่วนท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริง ๕. ไมค่ วรเขียนขอ้ มลู อวดอา้ งเกินความจริง ๖. หากตอ้ งใชภ้ าพประกอบ ควรเลือกภาพท่ีเหมาะสมเพอ่ื สร้างภาพลกั ษณ์ที่ดีของหน่วยงาน ประเภทงานเขียนเพื่องานประชาสัมพนั ธ์ ๑. การเขยี นบรรยายภาพ เป็นการเขียนเพือ่ นาํ เสนอขอ้ มลู เชิงอธิบายเสริมรายละเอียดของ ภาพ โดยยดึ หลกั เกี่ยวกบั ใคร ทาํ อะไร ที่ไหน ทาํ ไม อยา่ งไร เมื่อไร ๒. การเขยี นข่าวประชาสัมพนั ธ์ หรือข่าวแจก เป็นการเขียนขา่ วสารซ่ึงหน่วยงานจดั ทาํ ข้ึน เพอ่ื จดั ส่งไปยงั สื่อมวลชนตา่ งๆ ๓. การเขียนบทความประชาสัมพนั ธ์ เป็นการเขียนความเรียงจากขอ้ เทจ็ จริงมุ่งเสนอสาระ และความคิดโดยมีหลกั ฐานอา้ งอิงชดั เจน ๔. การเขียนบทสัมภาษณ์เพื่อการประชาสัมพนั ธ์ เป็นการประชาสัมพนั ธ์หน่วยงานโดยใช้ การพูดคุย มีการต้งั คาํ ถามเพ่อื ขอคาํ ตอบจากผสู้ มั ภาษณ์ ควรมีการต้งั ช่ือเร่ืองและภาพประกอบที่ น่าสนใจ ๕. การเขียนประกาศเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ เป็นการเขียนประชาสัมพนั ธ์เพอื่ มงุ่ แจง้ ข่าวสารทว่ั ไป การเขียนประชาสัมพนั ธใ์ นรูปแบบน้ีตอ้ งใชภ้ าษาท่ีเป็นทางการ กระชบั รัดกุม และ ใชถ้ อ้ ยคาํ ที่มีน้าํ หนกั เพื่อส่ือสารใหต้ รงเป้าหมายในระยะเวลาส้นั ๆ ๖. การเขยี นคําขวญั เพื่อการประชาสัมพนั ธ์ เป็นการใชถ้ อ้ ยคาํ ที่ส้นั และกระชบั ความยาวไม่ เกิน ๑๕ – ๒๐ คาํ โดยมีจุดม่งุ หมายเพ่ือเสริมสร้างภาพลกั ษณ์ของหน่วยงาน โดยทวั่ ไปคาํ ขวญั มี ๒ ประเภท คือ คาํ ขวญั ประจาํ หน่วยงาน องคก์ าร หรือสถาบนั และคาํ ขวญั รณรงค์ ๗. การเขียนแผ่นผับเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ เป็นการเผยแพร่ขา่ วสารน่ารู้สู่ประชาชนโดยมี หน่วยงานเป็นผกู้ าํ กบั ดูแล มีภาพประกอบและการจดั วางท่ีสะดุดตาน่าอา่ น การเขยี นข่าวประชาสัมพนั ธ์ ลกั ษณะการเขียนข่าวประชาสัมพนั ธม์ ีดงั น้ี ๑. นิยมเขียนแบบพีระมิดหวั กลบั โดยนาํ ใจความสาํ คญั มาไวต้ อนตน้ อาจจะมี ๒-๕ ยอ่ หนา้ ก็ไดต้ ามความเหมาะสม ๒. ใหค้ วามสาํ คญั กบั หวั ขอ้ ข่าวกบั หวั ขอ้ เร่ือง โดยใชข้ อ้ ความส้นั ๆ ดึงดูดความสนใจของ ผอู้ า่ น ๓. การนาํ เสนอข่าวอาจนาํ เสนอล่วงหนา้ ไดโ้ ดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม ๔. เขียนเฉพาะขอ้ เทจ็ จริง ไม่แทรกอารมณ์และความรู้สึกส่วนตวั ของผเู้ ขียน ๕. ไมค่ วรใส่เคร่ืองหมายคาํ พดู เพ่อื เนน้ ความสาํ คญั ของขา่ ว ยกเวน้ เป็ นการยกคาํ พดู ของ แหล่งข่าวโดยตรง ๖. หากมีภาพประกอบควรเก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั ข่าวท่ีส่งไป ๗. ควรพิมพข์ า่ วเพียงหนา้ เดียวเพอ่ื ความสวยงามและสะดวกในการอา่ น

๘. เมื่อจบข่าว ใหร้ ะบคุ าํ วา่ “จบ” หรือทาํ เคร่ืองหมายเพ่อื แสดงวา่ จบข่าวแลว้ เช่น # หรือ …. ๙. ใชภ้ าษาที่กะทดั รัด ส่ือความไดช้ ดั เจน ควรใชป้ ระโยคส้นั ๆ ไม่ซบั ซอ้ น ๑๐. กรณีท่ีตอ้ งเป็ นผเู้ ขียนข่าวประชาสัมพนั ธ์ส่งไปยงั ส่ือมวลชน ควรระบแุ หลง่ ท่ีมาของ ขา่ วสารใหช้ ดั เจน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook