Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.ปลาย สุขศึกษา ทช31002

ม.ปลาย สุขศึกษา ทช31002

Published by nutthar.n, 2020-12-14 04:39:29

Description: ม.ปลาย สุขศึกษา ทช31002_compressed (1)

Search

Read the Text Version

143 ขอ ดี 1. เปด ดําเนนิ การคา 24 ชั่วโมง 2. ดาํ เนินการคา อยางไรพ รมแดนท่ัวโลก 3. ใชงบประมาณลงทนุ นอ ย 4. ตดั ปญ หาดานการเดนิ ทาง 5. งา ยตอ การประชาสัมพนั ธ โดยสามารถประชาสัมพันธไ ดท ่ัวโลก ขอ เสยี 1. ตองมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ทีม่ ีประสิทธภิ าพ 2. ประเทศของผูซ ้ือและผขู ายจาํ เปนตองมกี ฎหมายรองรบั อยา งมีประสิทธภิ าพ 3. การดาํ เนนิ การดานภาษตี อ งชดั เจน 4. ผูซ้อื และผขู ายจาํ เปนตองมคี วามรพู ้นื ฐานในเทคโนโลยีอนิ เทอรเ นต กระบวนการพืน้ ฐาน เกี่ยวกบั พาณชิ ยอ เิ ล็กทรอนกิ ส 1. ลกู คา เลอื กรายการสนิ คา ของผจู ําหนา ย (Catalog) 2. ลูกคา สง คําสัง่ ซือ้ ใหผจู าํ หนาย (Order) 3. ลกู คา ชําระเงนิ ใหผูจ ําหนา ย (Payment) 4. ลกู คารอรบั สินคาจากผูจาํ หนา ย (Shipping) เวบ็ ไซทธ ุรกจิ E-Commerce การพาณิชยอ เิ ล็กทรอนิกส ตัวอยา งเวบ็ ไซทใ นประเทศ เชน www.shop4thai.com, www.chulabook.com, www.tohome.com เปนตน ตวั อยางเว็บไซทต างประเทศ เชน www.amazon.com , www.alibaba.com, www.ecplaza.net เปน ตน เรื่องท่ี 9 การบริหารจดั การธุรกิจ ทุนและแหลง เงินทุน เงินทนุ หมายถึง เงินตราทอ่ี งคการธุรกิจจดั หามา เพ่ือนํามาใชในการดาํ เนนิ กจิ การ โดยมจี ดุ ประสงค เพื่อใหไดผลตอบแทนจาการลงทุนอยางคุมคา เงินทุนมีความสําคัญตอธุรกิจ เพราะเปนปจจัยในการ ดําเนนิ ธุรกจิ ต้ังแตเริม่ ตั้งกิจการ และระหวา งดําเนนิ กิจการ เงินทุนทําใหก ารผลิต การซอ้ื ขายเปนไปอยาง มปี ระสิทธิภาพและทาํ ใหธุรกจิ ขยายตัวไดอยา งรวดเรว็

144 ประเภทของเงนิ ทนุ เงินทุนท่ใี ชในการดาํ เนินธรุ กจิ แบงไดเ ปน 2 ประเภท คอื 2.1 เงินทุนคงท่ี เงนิ ทุนคงท่ี หมายถึง เงินทุนที่องคการธุรกิจจัดหาเพ่ือนํามาใชในการจัดหาทรัพยสินถาวร ทรัพยสนิ ถาวร หมายถึง สินทรัพยท ่อี ายุการใชงานนานเกินกวา 1 ป ดังนั้น เงินทุนคงท่ี องคการธุรกิจจึง นาํ มาใชใ นการลงทนุ ซื้อที่ดนิ สรางอาคาร ซอื้ เครือ่ งจักร ซื้อเครื่องใชส าํ นกั งาน เปนตน 2.2 เงินทนุ หมนุ เวยี น เงนิ ทนุ หมุนเวยี น หมายถงึ เงนิ ทนุ ท่ีองคการธุรกิจจัดหา เพื่อนํามาใชในการจัดหาทรัพยสิน หมุนเวียนหรือใชในการดําเนินกิจการ ทรัพยสินหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยท่ีอายุการใชงานไมเกิน หน่ึงป ดังน้ัน เงินทุนหมุนเวียน องคการธุรกิจจึงนํามาใชในการซื้อวัตถุดิบ ซ้ือสินคา จายคาแรงงาน จายคาเบีย้ ประกนั ภัย จา ยคา ขนสง จายคา โฆษณา จา ยคา สาธารณปู โภค เปน ตน แหลงเงนิ ทนุ แหลงทม่ี าของเงนิ ทุน 1. แหลงเงนิ ทนุ จากภายในธรุ กิจเอง ไดแ ก เงินทนุ ของเจา ของกิจการ กาํ ไรสะสม และคาเสื่อม ราคา 2. แหลง เงนิ ทนุ จากภายนอกธรุ กิจ ไดแก เงินทนุ ท่มี าจากการระดมทนุ เงนิ ทนุ จากเจา หนข้ี อง กจิ การและเงนิ ทุนท่ไี ดร ับจากการสนบั สนนุ เรอื่ งท่ี 10 การกาํ หนดราคาขาย ราคา (Price) หมายถงึ “มูลคาของผลิตภัณฑหรือบริการที่แสดงคาออกมาในรูปหนวยเงิน หรือ หนว ยการแลกเปลย่ี นอน่ื ๆ” วิธีการขั้นพื้นฐานในการต้ังราคา นิยมกันอยูทั่วไป คือ วิธีการตั้งราคาโดยยึดตนทุนเปนเกณฑ ราคาขายตอ หนว ย = ตน ทนุ ท้งั หมด + กําไรท่ตี อ งการ การบญั ชี (Accounting) หมายถงึ การจดบันทกึ รายการคา ตา ง ๆ ที่เก่ยี วกบั การรบั -จา ยเงิน การจัด หมวดหมสู รุปผลและวิเคราะห ตคี วาม อยา งมีหลกั เกณฑ ประโยชนและวตั ถุประสงคของการบญั ชี 1. ชวยใหเ จา ของกจิ การสามารถควบคมุ รักษาสนิ ทรพั ยข องกิจการได 2. ชวยใหทราบผลการดําเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึงวา ผลการ ดําเนินงานท่ผี านมา กจิ การมกี าํ ไรหรือขาดทุนเปนจาํ นวนเทาใด 3. ชว ยใหท ราบฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วันใดวันหนึ่งวา กิจการในสินทรัพย หนี้สิน และ ทุน ซงึ่ เปน สว นของเจา ของกจิ การเปน จํานวนเทาใด

145 4. การทําบญั ชเี ปน การรวบรวมสถิติอยางหนึ่งท่ีชวยในการบริหารงาน และใหขอมูลอันเปน ประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานและควบคุมกิจการใหประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย เพื่อบันทึกรายการคาท่ีเกิดข้ึนตามลําดบั กอนหลัง และจาํ แนกตามประเภทของรายการคาไว เพอ่ื ใหถูกตอ ง ตามพระราชบญั ญตั ิวา ดวยการทาํ บญั ชีของกจิ การตา ง ๆ การบรหิ ารคลังสนิ คา การวางแผนการบริหารคลังสินคาเพื่อสํารองสินคาคงคลังในปริมาณท่ีเหมาะสม เปนฟนเฟอง หลักใหธ รุ กจิ สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได การบริหารคลังสินคาจะจัดการตั้งแตการรับเขาจนถึงการจายออก จะเปนการเมื่อสินคาเขามา ควรจะนําสินคาไปเก็บไวที่ไหน ใหถูกสุขลักษณะ เนื่องจากมีการจัดเก็บสินคาหลากหลายประเภท จึงจาํ เปน ตองแบงโซนจดั วางสนิ คา ตนทุนการบริหารคลงั สนิ คา และสนิ คาคงคลงั ประกอบไปดว ย 2 ประเภทดวยกัน ไดแ ก 1. ตน ทนุ การบริหารคลงั สินคา เกดิ จากการดาํ เนินกิจกรรมการใหบรกิ ารภายในคลงั สินคา การจัดเกบ็ สนิ คา 2. ตน ทุนในการถอื ครองสนิ คา คือตนทุนในการถือครองสนิ คา หรอื คาเสียโอกาสทเ่ี งินทุนไปจม อยใู นสินคา เรือ่ งที่ 11 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ คุณธรรม คอื คณุ งามความดีท่ีเรา แสดงออก เชน 1. ความขยนั หมั่นเพียร มคี วามขยนั ในการปฏบิ ัตงิ าน 2. อดทน การทํางานตอ งมีความ เขม แขง็ อดทนตอสภาพทเี่ กดิ ขน้ึ ทุกขณะ งานจะหนักจะเบาเรา ตอ งทํา 3. ความซอื่ สตั ย มคี วามซื่อสัตย ตอตนเอง ตอหมูค ณะ เพือ่ นรว มงาน 4. สจุ ริต เปนคนตรงไมเ อารัดเอาเปรยี บบุคคลอ่นื ไมค ดโกง ถือคติ “ซอื่ กนิ ไมหมด คดกนิ ไมน าน” 5. ความรบั ผิดชอบ มีความรับผิดชอบงานทม่ี อบหมายใหท าํ จนสาํ เรจ็ ถกู ตอง นายจา งพอใจ 6. ความเขาใจตนเองและสังคม คือ เปน คนไวใ จซ่งึ กันและกนั ปญหาและอปุ สรรค 1. ทกั ษะความรู ความชํานาญในธุรกิจถือเปนปจจัยสําคัญที่บงบอกถึงความสามารถในการทํา ธุรกจิ ของผปู ระกอบการ ซึ่งจะตองคนหาตัวเองวามี ทักษะความรู ความสามารถท่ีโดดเดนนั้นเพียงพอ ที่จะชวยขับเคล่ือนธุรกิจนั้นอยูรอดไดหรือไม การท่ีเรามีเงินทุนนั้นก็ไมไดหมายความวาจะประสบ ความสําเร็จ แตต อ งวดั กันที่ฝม อื อีกดว ย แตห ากวาคนหาแลว ยงั ไมเจออีก มขี อแนะนาํ อยู 2 อยา งก็คือ เลิก

146 ทําธุรกจิ หรอื หาคนท่ีมีคณุ สมบัตดิ ังกลาวมาเขา รวมเปนพันธมิตรกัน เทาที่ผานมามีธุรกิจจํานวนมากที่มี หุนสวนจํานวนเยอะมาก และแตละคนก็มีความสามารถแตกตางกันไป เชน ความสามารถทางดานคิด แผนการตลาด การโปรโมทประชาสัมพนั ธ หรือการจดั การภายในองคกร เปนตน อยาลืมวาไมมีใครเกง ทส่ี ดุ หรอื ดที สี่ ุด แตถาเราเอาความสามารถของแตละคนมาผนึกรวมกัน ก็จะทําใหความเกงกาจในธุรกิจ น้นั กา วไปถึงความเปน ทีส่ ุดนน้ั ได 2. ขอมูลท่ีจําเปนตอการเตบิ โต เราจะเห็นไดวา ทุก ๆ ธุรกิจในปจจุบันนี้ตองอาศัยขอมูลตาง ๆ เพอื่ หลอเลย้ี งใหธ ุรกจิ กา วไปอยางม่นั คง ซ่ึงมีความสําคญั ไมแพไปกวาเงนิ ทุนทเ่ี รากําลงั หากันอยู อาทเิ ชน ขอมูลเรอ่ื งความตองการของผูบรโิ ภค อยา ลมื วาทกุ วนั น้ีมีการแขงขันสูง ลูกคาเปนปจจัยสําคัญที่ชวยให ธุรกิจเรารอด ดังน้ัน เราจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคอยางตอเน่ือง หากไมทําเชนน้ันแลว ธรุ กิจของคุณอาจจะมผี ลกระทบก็เปนได นอกจากนี้แลว วงจรของสนิ คาตอ งมกี ารเปลี่ยนแปลงไปตามยคุ ตามสมัยดวย น่ันหมายความวาสินคาทุกชนิดจะมีวงจรชีวิตที่ถูกกําหนดโดยผูบริโภค และแนนอนวา ผูประกอบการจะตอ งมขี อมูลเหลานี้ เพ่อื ใชป รบั แผนเชงิ กลยุทธต า ง ๆ 3. การวางแผนการตลาด หวั ขอนี้สาํ คญั มากตอ ผูประกอบการซ่ึงจะตองคนหาวาแผนการตลาด ของเรานัน้ มีจุดออนและจดุ แขง็ ตรงไหนบา ง วิธีนี้สามารถทําไดโดยการศึกษาแผนการทํางานของคูแขง หากเราทาํ แผนมาเปรยี บเทียบกับคูแขงแลว พบวามีจดุ ออนอยู ขอแนะนาํ ใหท บทวนและเปล่ียนการตลาด ใหมหมด อยาลืมดวยวาทุกวันนี้การทํางานตองศึกษาจากลูกคาและคูแขง บางคร้ังแนวคิดของเราอาจ ขดั แยงกับความเปนจริงอยบู าง แตยงั ไงกต็ อ งปรบั ปรงุ เพือ่ ใหธรุ กิจนนั้ ไปตลอดรอดฝง 4. มาตรฐานในการผลิต เทา ท่เี ราทราบกนั อยวู า คณุ ภาพที่ดีของสินคา คือ ปจจัยสําคัญตอความ อยูรอด ควรหม่ันทบทวนเรื่องมาตรฐานของสินคากันอีกครั้ง เพื่อใหรูวาคุณภาพของสินคาเราตรงกับ ความตองการของผูบ ริโภครึเปลา ดังนนั้ การสรา งมาตรฐานการผลติ คือ สิ่งที่เราตอ งตระหนักและพัฒนา กันอยา งเรือ่ ย ๆ เรือ่ งท่ี 12 หนว ยงานสง เสริมและสนับสนนุ ในประเทศไทย หนว ยงานทสี่ นบั สนุน SMEs  การลงทนุ  การเงิน  การตลาด  วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

147 การลงทนุ 1. ศนู ยบ รกิ ารนกั ลงทนุ ตลาดหลักทรพั ยแ หงประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภเิ ษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2229-2000 โทรสาร (66) 0-26545649 http://www.set.or.th 2. สาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การลงทนุ ถนนวิภาวดรี ังสติ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (66) 0-25378111, 0-2537-8155 โทรสาร (66) 0-537-8177 3. กรมสง เสรมิ อุตสาหกรรม ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2220-4414-8, 0-2202-4511 โทรสาร (66) 0-2246-0031 อเี มล [email protected] http://www.dip.go.th การเงนิ 1. ศนู ยใหคาํ ปรกึ ษาทางการเงินสําหรบั วิสาหกจิ ขนาดกลาง ขนาดยอ ม และประชาชน (ศงป. ศูนยกรงุ เทพ ฯ บานมนังคศิลา ถ.หลานหลวง เขตดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร 10600 โทรศพั ท (66) 0-2268-0334, 0-2628-1802-3 โทรสาร (66) 0-2628-0338 อีเมล [email protected] http://www.sfac.or.th 2. ธนาคารแหง ประเทศไทย 273 ถนนสามเสน บางขนุ พรหม กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท (66) 0-2283-5353 โทรสาร (66) 0-2280-0449, 0-2280-0626 http://www.bot.or.th 3. บรรษทั ประกันสนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม (บสย.) เลขท่ี 2922/243 อาคารชาญอิสสระทาวเวอร II ช้ัน 18 ถนนเพชรบุรตี ัดใหม กรงุ เทพฯ 10320 1 โทรศพั ท (66) 0-2308-2741 (อตั โนมตั ิ 12 เลขหมาย) โทรสาร (66) 0-2308-2749 . อเี มล [email protected] http://www.sicgc.or.th 4. บรรษัทเงนิ ทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) เลขท่ี 475 ชั้น 9 อาคารศิริภญิ โญ ถนนศรอี ยธุ ยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2201-3700-10 โทรสาร (66) 0-2201-3723-4 อีเมล [email protected] http://www.sifc.co.th/index.asp การตลาด 1. กรมสง เสริมการสงออก กระทรวงพาณชิ ย 22/77 ถนนรชั ดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท (66) 0-2511-5066, 0-2512-0093-0104 โทรสาร (66) 0-2512-1079, 0-2513-1917 http://www.depthai.go.th 2. กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท (66) 0-2222-2212 , (66) 0-2221-4706 โทรสาร (66) 0-2223-1422

148 http://www.dit.go.th 3. กรมการคา ตางประเทศ กระทรวงพาณิชย 44/100 หมทู ี่ 1 ถนนสนามบนิ นํ้า ต.บางกระสอ อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท (66) 0-2547-4771-8 โทรสาร (66) 0-2547-4792 อีเมล [email protected] http://www.dft.moc.go.th วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 1. สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หง ประเทศไทย 196 พหลโยธิน จตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 ประเทศไทย โทรศัพท (66) 0-2579-1121-30, (66) 0-2579-5515, (66) 0-2579-0160, (66) 0-2579-8533 โทรสาร (66) 0-2561-4771, (66) 0-2579-8533 อีเมล [email protected] http://www.tistr.or.th 2. สํานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงชาติ 73/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2644-8150-99 โทรสาร (66) 0-26448027-9 http://www.nstda.or.th 3. สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญป่ี นุ ) (ส.ส.ท.) เลขที่ 5-7 ซอยสขุ มุ วิท 29 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2258-0320-5 โทรสาร (66) 0-2258-6440 อีเมล [email protected] http://www.tpa.or.th 4. สาํ นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 แขวงทงุ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2202-3300-4 โทรสาร (66) 0-2202-2415 อเี มล [email protected] http://www.tisi.go.th 5. สถาบันอาหาร 2008 ถนนจรลั สนทิ วงศ ซอย 40 เขตบางยข่ี นั กรงุ เทพฯ 10700 โทรศพั ท (66) 0-2886-8088, โทรสาร (66) 0-2886-8106-7 http://www.nfi.or.th 6. สถาบันพฒั นาอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ซอยตรมี ิตร กลวยนาํ้ ไท ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2713-5492-9 โทรสาร (66) 0-2712-1592-3 อเี มล [email protected] http://www.thaitextile.org

149 กิจกรรม 1. จงอธบิ ายวธิ กี ารแปรรูปและถนอมอาหาร พรอมยกตวั อยาง 2. จงยกตวั อยางอาหารสําเรจ็ รูปในชมุ ชนของทาน พรอมนําเสนอชอ งทางการจําหนา ยและ แนวทางการหาตลาด 3. จงอธบิ ายหลกั การเลอื กผลติ ภณั ฑอาหารสาํ เร็จรปู ตามหลกั สุขาภบิ าลอาหาร 4. จงอธบิ ายวธิ ีการจดั สถานทจ่ี าํ หนา ยและคลงั สินคาตามหลักสุขาภบิ าลอาหาร 5. นําเสนอโครงงานจดั ตั้งธรุ กิจจาํ หนา ยอาหารตามหลักสขุ าภบิ าลอาหารตามท่ที า นสนใจ

150 บรรณานกุ รม ชศู ักดิ์ เดชเกรียงไกรกุล, นิทศั น คณะวรรณ, ธีรพล แซต้ัง, การตลาดรงุ มุงสัมพนั ธ. กรงุ เทพ : บรษิ ทั ซเี อ็ด ยเู คชน่ั จํากดั (มหาชน), 2546. วรี ะพงษ เฉลมิ จิระวฒั น, คณุ ภาพในงานบรกิ าร, กรงุ เทพ : สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญ่ปี นุ ), 2542. ศิรวิ รรณ เสรรี ตั น, ศภุ กร เสรรี ตั น, องอาจ ปทวานิช, ปริญ ลักษิตานนท, สพุ ีร ลมิ่ ไทย, หลักการตลาด. กรงุ เทพ : บริษทั ธีระฟลม และไซเท็กซ, 2543. http://www.ku.ac.th/e-magazine/february44/agri/food.html www.dcharoenshop.com/.../68-organized-shops-and-product-pla... www.atii.th.org/html/ecom.html “การมจี ติ ใจในการบรกิ ารทด่ี ”ี (ออนไลน) . เขา ถงึ เมอื่ 9 กรกฎาคม 2548. จาก www.cdd.go.th/j4607181.htm

151

152 ท่ีปรกึ ษา คณะผูจ ัดทาํ 1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชัยยศ อ่ิมสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. ท่ีปรึกษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน. 3. นายวชั รินทร จําป ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ หนวยศึกษานเิ ทศก กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ หนวยศกึ ษานเิ ทศก ผเู ขยี นและเรียบเรียง โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สิงห สงิ หเสนีย ) กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางกนกพรรณ สุวรรณพิทกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ ขาราชการบํานาญ ผบู รรณาธิการ และพฒั นาปรบั ปรุง ขา ราชการบาํ นาญ ขาราชการบํานาญ 1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ วช สํานกั งาน กศน เขตบางเชน 2. นางสปุ รารถนา ยกุ หะนันทน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3 . นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4 . นางสาวเยาวรตั น คําตรง กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางสาวสรุ พี ร เจรญิ นิช กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 7. นางธญั ญวดี เหลา พาณชิ ย 8. นางเอ้อื จติ ร สมจติ ตช อบ 9. นางสาวชนิตา จิตตธ รรม 10. นางสาวอนงค เชอื้ นนท คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท 4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วัฒนา ผูพ ิมพต นฉบบั นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา ผอู อกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป

153 ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ 2 คณะท่ปี รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน. อิม่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. นายประเสริฐ จําป รองเลขาธิการ กศน. นายชัยยศ จนั ทรโ อกุล ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นพัฒนาสื่อการเรียนการสอน นายวชั รนิ ทร ผาตนิ นิ นาท ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดา นการเผยแพรทางการศกึ ษา นางวัทนี ธรรมวธิ กี ลุ หัวหนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก นางชลุ ีพร งามเขตต ผอู ํานวยการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางอญั ชลี นางศุทธินี ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2 นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศุภโชค ศรีรัตนศลิ ป กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น นายกติ ติพงศ จนั ทวงศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นางสาวผณนิ ทร แซอ ้ึง นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา

154 คณะผปู รับปรุงขอมลู เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษัตริยป  พ.ศ. 2560 ท่ีปรกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสุรพงษ สขุ สเุ ดช ปฏบิ ัตหิ นา ท่รี องเลขาธกิ าร กศน. 2. นายประเสรฐิ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ พวงไพวัลย และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. นางตรีนชุ กศน.เขตพญาไท ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล นางสาวชอ แกว คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4. นางเยาวรัตน ปน มณีวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวา ง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพูนท สังขพ ิชัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook