Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประถม สังคมศึกษา สค11001

ประถม สังคมศึกษา สค11001

Published by nutthar.n, 2020-12-09 02:39:59

Description: สังคมศึกษา สค11001

Search

Read the Text Version

45 “เจา ราม” ซึ่งตอ มาไดพระราชทานนามใหมว า “เจารามคําแหง” หลังจากตีทัพขุนสามชนเจาเมืองฉอดแตก พายไป (พระราชบดิ าจงึ ทรงขนานพระนามวา พระรามคาํ แหง ซึ่งแปลวา พระรามผกู ลา หาญ) พอขนุ รามคาํ แหงราช เสดจ็ ข้นึ ครองราชสมบัติเปน กษตั ริยอ งคที่สามแหง ราชวงศพระรว ง พ.ศ. 1826 ปรากฏในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง (ศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี 1) ในยุคพอขุนรามคําแหงมหาราชเปนยุคท่ี กรุงสุโขทัยเฟองฟูและเจริญขึ้นกวาเดิมมาก ระบบการปกครองมีประสิทธิภาพ มีการติดตอสัมพันธกับ ตา งประเทศ ในดานเศรษฐกจิ และการเมือง ประชาชนอยดู กี นิ ดี ทรงเปนนกั รบที่เกง กลา มาก ทรงทําสงคราม และปราบปรามเมืองตา ง ๆ จนเปน ทีเ่ กรงขามของอาณาจกั รอืน่ สง ผลใหอาณาจกั รสโุ ขทยั สงบสุขตลอดมา พระราชกรณยี กิจท่สี าํ คัญของพอขนุ รามคําแหง 1. ดา นการเมืองการปกครองมีการขยายอาณาเขตอยางกวางขวางมากที่สุดในสมัยสุโขทัย โดยทิศ- ตะวันออกไดลาว ทิศใตไดดินแดนแหลมมลายู ทศิ ตะวันตกไดห ัวเมอื งมอญ 2. เอาใจใสดูแลทุกขสุขของราษฎร โดยใหผูที่ไดรับความเดือดรอนมาสั่นกระดิ่งกราบทูลความ เดอื ดรอนใหทรงทราบ พระองคจ ะทรงชวยตัดสินใหค วามชว ยเหลอื เสมอื น “พอปกครองลูก” 3. จดั สรา งพระแทนมนงั ศิลาบาตร ไวสาํ หรบั พระสงฆข น้ึ แสดงธรรม และทรงรบั เอาพระพุทธศาสนา จากลังกาเขามาเปนศาสนาประจําชาติ ทําใหเปนการวางรากฐานใหพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติไทย มาจนถึงทุกวนั นี้ 4. มีการสรางทํานบกั้นนํ้าสําหรับใชในการเพาะปลูก และปองกันการขาดแคลนนํ้าโดยอาศัย แนวคันดินที่เรียกกวา “เข่ือนพระรว ง” 5. ดานวฒั ธรรมที่สาํ คญั ซงึ่ แสดงความเปนชาติ คือ ภาษา พอ ขุนรามคําแหงทรงคิดประดิษฐอักษรไทยข้ึน ใชแ ทนอกั ษรขอม เม่ือ พ.ศ. 1826 เรียก “ลายสือไทย” ซ่ึงทําใหคนไทยในปจจุบันมีอักษรไทยใชมีการจารึก เรือ่ งราวของสโุ ขทัยลงบนแทนหนิ ซงึ่ ตอ มาเรยี กวา “ศิลาจารกึ หลกั ที่ 1” 6. เครื่องสังคโลก มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศจีน ไดรับความรูเร่ืองการทําถวยชาม เครื่องเคลอื บดนิ เผาจากจนี มีการตง้ั โรงงานเครอ่ื งเคลอื บดินเผาขึ้นในกรงุ สุโขทยั และเมืองศรีสัชนาลัย ซง่ึ เรียก เคร่ืองเคลอื บดินเผาที่ผลิตขน้ึ ในสมัยนั้นวา “เคร่ืองสังคโลก” ปจจบุ ันเปน สงิ่ ทท่ี รงคุณคา ที่หายากยง่ิ จากพระราชประวัติและพระราชกรณยี กจิ ของพอขุนรามคาํ แหง จงึ ทาํ ใหม หาชนในสมยั ตอมาไดส าํ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณ จึงไดถวายสมัญญานามตอ ทา ยพระนามวา “มหาราช” เปนองคแ รกของชาติไทย และเปนที่ยอมรบั ในการขานพระนามสืบมาวา พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช อกั ษรลายสอื ไท มลี ักษณะคลายตวั อกั ษรของขอม หลักศลิ าจารึกหลกั ที่ 1

46 สมยั อยธุ ยา พระนเรศวรมหาราช พระนเรศวรมหาราช เปนพระมหากษัตริยไทยในสมยั อยุธยาทมี่ ชี ่ือเสียงมากท่ีสุดในดานการรบ และการปกครอง เปนผูกอบกูเอกราชของชาติไทย หลังจากตกเปนเมืองข้ึนของพมานานถึง 15 ป ในสมัย พระองค มีการทาํ สงครามทีย่ ิง่ ใหญกับประเทศพมา คือ สงครามยุทธหัตถี พระบรมราชานสุ รณด อนเจดยี  จงั หวัดสพุ รรณบุรี ภาพจิตรกรรมพระราชประวัตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ตอนยุทธหัตถี วัดสุวรรณดาราราม จงั หวัดพระนครอยธุ ยา พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช มพี ระนามเดมิ วา พระองคด าํ เปนพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรม- ราชาและพระวิสุทธิกษัตริย (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ พ.ศ. 2098 ที่เมืองพษิ ณโุ ลก มพี ระเชษฐภคินี คือ พระสพุ รรณกัลยา มพี ระอนุชา คือ สมเด็จพระเอกาทศรถ (องคขาว) ขณะทีท่ รงพระเยาวพระองคใชชีวิตอยูในพระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก จนกระทั่งพระเจาบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก ในสงครามชางเผือก จึงทําใหเมืองพิษณุโลกตอง แปรสภาพเปนเมืองประเทศราชของหงสาวดี และพระเจาบุเรงนอง ทรงขอพระนเรศวรไปเปนองคประกัน ทีห่ งสาวดี ทําใหพระองคตองจากบา นเมอื งไปตัง้ แตพ ระชนมม ายุเพยี ง 9 พรรษา ครัน้ พระชนมายุ 15 พรรษา เสด็จกลบั มาประทบั ทปี่ ระเทศไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชา พระราชทานนามใหพระองคว า “พระนเรศวร” และโปรดเกลาฯ ใหเปน พระมหาอปุ ราชาไปปกครองเมืองพษิ ณุโลก ทรงฟน ฟูกําลังทหาร สะสมกําลังคนและ อาวธุ ในทส่ี ุดก็ทรงกอบกูเ อกราชของกรงุ ศรีอยธุ ยามาได หลังจากท่ีไทยตกเปน เมืองขน้ึ ของพมานานถึง 15 ป เสด็จสวรรคต วันท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2148 พระชนมายุ 48 พรรษา พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ําคัญของสมเดจ็ พระนเรศวร 1. ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2135 พระองคท รงกระทํายทุ ธหัตถีกับพระมหาอุปราชของพมา ท่ีตําบลหนองสาหราย เมืองสุพรรณบุรี ทรงฟนพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนมบนคอชาง นับเปนชัยชนะ อยางเด็ดขาดเหนือพมา จนทาํ ใหกรงุ ศรอี ยุธยาวา งเวน จากการทาํ ศกึ สงครามกับพมายาวนานถงึ 160 ป

47 2. ทรงขยายอํานาจไปหัวเมืองตาง ๆ จนทําใหอาณาจักรอยุธยามีอาณาเขตกวางขวาง สามารถยึด ครองลานชาง ลานนา เชยี งใหม ลําปาง เขมร และพมา บางสว นไวได 3. ทรงสง เสริมการคาขายกบั ตา งประเทศ โดยอนุญาตใหพอคาตางชาติมาคาขายภายในอาณาจักร อยุธยาได เชน จีน สเปน และฮอลันดา เปน ตน ซึง่ บางประเทศที่เขา มานั้นไดตัง้ สถานกี ารคา ขน้ึ ดวย ในสมยั พระนเรศวรมหาราช อาณาจักรอยุธยามีอาณาเขตกวางขวางที่สุด และมีความเจริญรุงเรืองมาก ดวยพระปรีชาสามารถของพระองค ทําใหพระองคไดรับพระราชสมัญญาเปน “มหาราช”และในวันที่ 25 มกราคม ซึ่งตรงกับวนั กระทํายุทธหตั ถี รฐั บาลไทยประกาศใหว ันท่ี 25 มกราคม ของทุกป เปนวนั กองทพั ไทย สมเด็จพระนเรศมหาราชทรงทาํ ยทุ ธหตั ถกี ับพระมหาอุปราช สมเดจ็ พระนารายณม หาราช สมเด็จพระนารายณมหาราช เปนพระมหากษัตรยิ ท ่มี พี ระปรชี าญาณ ดา นการตา งประเทศและศิลปะ- วรรณคดีอยา งสูง ในราชสํานกั พรอ มพร่ังไปดวยนักปราชญ ราชกวีคนสําคัญ ในยุคน้ันไดช่ือวาเปน “ยุคทอง ของวรรณคดไี ทย”

48 พระราชประวัติ สมเด็จพระนารายณม หาราช เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่อื พ.ศ. 2175 เปนพระราชโอรสในสมเด็จ- พระเจา ปราสาททอง กบั พระนางศิรริ าชกัลยา พระนารายณมหาราช เสด็จขึ้นครองราชย เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2199 ขณะมีพระชนมายุ 25 พรรษา และไดสรางเมอื งลพบรุ ขี ึ้นเปน ราชธานีแหงที่ 2 พระองคท รงเสด็จสวรรคต เม่ือวนั ท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ณ พระทน่ี ั่งสุทธาสวรรย พระนารายณร าชนิเวศน จังหวดั ลพบุรี พระนารายณราชนเิ วศน จงั หวัดลพบรุ ี พระราชกรณยี กิจท่ีสําคัญของสมเด็จพระนารายณม หาราช สมเดจ็ พระนารายณมหาราช ทรงเปนพระมหากษัตริยท่ีทรงพระปรีชาสามารถอยางยิ่ง ทรงสราง ความเจรญิ รงุ เรือง และความยงิ่ ใหญใหแ กกรุงศรอี ยธุ ยาเปน อยางมาก มพี ระราชกรณยี กิจท่สี ําคัญ ดังน้ี 1. ดานการปกครองขยายดนิ แดนโดยทรงยกทัพไปตเี มืองเชียงใหม และเมืองพมาอีกหลายเมือง เชน มะริด ตะนาวศรี และมีพระยาโกษาธบิ ดี (เหลก็ ) เปน กาํ ลังสาํ คัญใหสมเด็จพระนารายณสามารถยึดหัวเมือง ของพมา ได 2. ดา นวรรณคดีไทย ในสมยั พระองคถ ือเปน ยุคทองของวรรณคดี กวที มี่ ชี ือ่ เสยี ง เชน พระมหาราชครู พระศรีมโหสถ ศรปี ราชญ วรรณคดที ี่สําคัญไดแก สมุทรโฆษคาํ ฉนั ท และหนงั สอื จนิ ดามณี ซ่งึ เปนแบบเรียน ภาษาไทยเลมแรกของไทย ฯลฯ 3. ดานการตางประเทศ มีความสัมพันธกับนานาประเทศ ทั้งในยุโรปและเอเชีย ไดมีชาวกรีก ชอื่ คอนสแตนติน ฟอลคอน เขามารบั ราชการดูแลการคา กับชาวตางชาติ การคาก็เจริญรุงเรือง มีรายไดเขา ประเทศมาก สมเดจ็ พระนารายณมหาราช จึงทรงแตงตั้งใหเปน เจาพระยาวิชาเยนทร ฝร่ังเศสเปนชาติที่มี บทบาทมากท้ังในการคาและการเผยแพรศาสนา พระองคไดทรงพระราชทานที่ดินใหปลูกสรางโบสถและ โรงเรยี น 4. ทรงมีเสรีภาพในการนับถอื ศาสนา ในสมยั พระองค มิชชันนารีจากภาคตะวันตก เขามาเผยแพร คริสตศ าสนา พระองคทรงอนุญาตใหต ง้ั บานเรอื น สรางโบสถในดินแดนอยุธยาและประชาชนสามารถนับถือ ศาสนาไดอ ยางเสรี

49 นบั ไดว า ในยคุ ของพระองคทรงสรางความเจริญรุงเรืองท้งั ดา นเศรษฐกิจ การพฒั นาประเทศ และเปน ยุคทองของวรรณคดีไทย พระองคจ ึงไดรับการยอมรบั และไดร ับการยกยอ งเปน “มหาราช” สมเด็จพระนารายณม หาราช ทรงพระปรีชาสามารถในหลาย ๆ ดา น ทําใหบ า นเมืองเขมแข็ง รุงเรือง ทางกวีนิพนธ แกปญหาจากการถูกตางชาติรุกราน จึงสมควรอยางย่ิงท่ีจะไดรับการยกยองถวายพระนาม “มหาราช” ชาวบานบางระจัน ชาวบา นบางระจัน เปนตวั อยางของความสามัคคี ในการรวมตัวกันตอสแู ละรวมพลังสามารถตา นทาน กองทัพพมาไดห ลายครัง้ จนไดช อ่ื วา “เขมแขง็ กวากองทัพของกรุงศรีอยุธยาในสมัยน้ัน” มีกิตติศัพทเลืองลือ ในดา นวีรกรรม ความกลา หาญจารกึ ไวใ นประวตั ศิ าสตร อนุสาวรยี วรี ชนคายบางระจนั อยูท ่จี งั หวัดสิงหบ รุ ี ประวัติความเปนมาและผลงาน การรบที่บางระจัน เปน การรบเพื่อปองกนั ตัวเองของชาวบานเมอื งสงิ หบ ุรีและเมืองตาง ๆ ที่พากันมา หลบภัยของกองทัพพมาทีบ่ างระจนั ในคราวการเสยี กรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ซึ่งสามารถเขาตีกองทัพพมาได หลายคร้งั

50 พ.ศ. 2308 เนเมยี วสหี บดี ไดย กกองทัพพมา รุกเขาสูอาณาจักรอยุธยาจากทางเหนือ ไดมาหยุดอยูท่ี เมอื งวิเศษชัยชาญ ทหารพมา เท่ียวกวาดตอ นผคู นและทรัพยส ิน ทําใหราษฎรตางพากันโกรธแคนตอการกดขี่ ขมเหงของทหารพมา จึงมีการแอบคบคิดกันตอสู ชาวเมืองวิเศษชัยชาญ เมืองสิงหบุรี เมืองสรรคบุรีและ ชาวบานใกลเคียงพากันคิดอุบายเพื่อลอลวงทหารพมา มีหัวหนาท่ีเปนผูนําท่ีสําคัญคือ นายแทน นายโชติ นายอนิ นายเมือง ลวงทหารพมาไปเพื่อฆา ฟนตายประมาณ 20 คน แลวจึงพากันหนีไปยังบางระจัน จึงเปนที่ เล่อื งลอื ไปทัว่ ในขณะเดียวกันชาวเมืองตาง ๆ ท่ีอยูใกลเคียงตางก็เขามาสมทบและหลบอาศัยอยูท่ีบางระจัน เปน จํานวนมาก การพยายามเขาตีคายบางระจนั ของทหารพมาไดมกี ารสง กองทัพเขา รบถึง 8 ครั้งดวยกัน ในที่สุด พมา ก็สามารถตีคา ยใหญบ างระจนั ไดใ นป พ.ศ. 2309 รวมเวลาท่ีไทยรบกบั พมาเปน เวลาทงั้ สิน้ 5 เดือน แมวาคายบางระจันจะตองพายแพแกพมาก็ตาม แตวีรกรรมในคร้ังนั้นไดรับการจารึกอยูใน ประวตั ศิ าสตรและจติ ใจของประชาชนชาวไทยตลอดมา เพ่ือเปนการรําลึกถงึ วีรกรรมอนั ยงิ่ ใหญค วามกลา หาญ รักชาติ จังหวัดสงิ หบ ุรี จึงไดก อสรา งอนุสาวรยี ใ หก บั ผนู าํ คา ยบางระจนั ทั้ง 11 ทา นข้ึน และกาํ หนดใหท ุกวันท่ี 4 กุมภาพนั ธ ของทกุ ป เปนวนั สดุดีคา ยบางระจัน ประวัตหิ วั หนาชาวบานบางระจัน ทั้ง 11 ทาน นายทองแกว อยเู มอื งวิเศษชยั ชาญ เมื่อถกู กองทัพพมาตีเมอื งวิเศษ แตกและยึดเมืองได นายทองแกว จึงรวบรวมชาวบานหลบหนี ไปอยูบานโพธิ์ทะเล ทานหนีออกมาคราวเดียวกับนายดอก ตอ งแยกกนั อยูเพราะมีชาวบานกนั มาก ตอมากองทพั พมาทางเหนือยกลงมาปลน ขม เหง ชาวบา นมากขนึ้ จึงชักชวนกันมาอยวู ัดโพธ์เิ กา ตน บา นบางระจัน ทานเปนบุคคลสําคัญอีกคนหน่ึงในการออกรบและ รว มวางแผนในการรบดว ย ทา นไดทําการตอ สูก บั กองทพั พมา จนเสียชีวติ ในทร่ี บ

51 นายดอก ทา นอยเู มอื งวิเศษชัยชาญ เมือ่ กองทพั พมายกมาสมัย กรุงศรีอยุธยา แมทัพพมาส่ังใหกองทัพออกตีหัวเมือง ตา ง ๆ เมืองวิเศษชยั ชาญจึงอยูในกลุมเปาหมาย เม่ือกองทัพ พมา เขาตีเมอื งวเิ ศษชัยชาญแตก นายดอกจึงชักชวนชาวบาน ไปอยบู านตลบั คอื บา นกลับในปจ จุบนั กองทพั พมา เท่ียวออกลาดตระเวนเปนบรเิ วณกวา ง ทาํ ใหชาวบา นเดอื ดรอ นเพราะถูกทหารพมา ขม เหง จึงชักชวน กันหนมี าอยทู ีว่ ดั โพธิ์เกาตน คายบางระจนั นายดอกเปน ผูนาํ ชาวบา นทานไดร ว มรบกบั ชาวบาน บางระจนั กองทพั พมาบกุ เขา ไดแ ลว ทําใหท า นเสียชวี ิต ในสนามรบ ขุนสรรค จากเมืองสรรคบุรี ทานไดรวบรวมชาวบานตอสูกับ ทหารพมา ที่ยกทัพมาทางเมอื งอุทยั ธานี ทา นมีฝม ือในการ ยิงปน เมอ่ื ทา นกบั ชาวบานตอ ตา นทหารพมา ไมไ หว จงึ ชกั ชวนชาวบานมารวมกันทบ่ี างระจันและไดร ว มรบกบั ชาวบานสีบัวทอง ชาวเมืองวิเศษชยั ชาญ ชาวบางระจันทม่ี า รวมกันอยู ณ วัดโพธ์ิเกาตน คายบางระจัน ทา นไดใ หช าวบาน รวบรวมอาวธุ ตา ง ๆ ท่ียึดไดจากทหารพมา ในการรบครง้ั กอ น ๆ ทีไ่ ดร ับชัยชนะ ครั้งหนง่ึ ทานไดรว มกบั นายจันหนวดเขี้ยวทานไดคุมพล 100 คน ตีทพั ของอาคาปนคญีแตกพาย ทานไดรวมรบ อยูใน คายจนกระทง่ั เสยี ชีวติ ในที่รบ

52 นายทองแสงใหญ ทานเปน 1 ใน 11 ทานท่ีเปนผูนําระดับแนวหนา และทานเปนผูที่คิดต้ังคายนอย เพ่ือลวงทหารพมา ทานคัด ชายฉกรรจจาํ นวนหน่งึ ตั้งคายขึ้นอีกคายหนึ่งซ่ึงหางออกจาก คา ยใหญอ อกไป ในคายใหญซ่ึงเต็มไปดวยคนแก ท้ังหญิง ชาย เด็กเล็ก และผปู ว ยท่ีบาดเจบ็ จากการสรู บและมีการเสียชีวิตทกุ วนั ทานตอสูกับทหารพมาดวยกําลังที่มีอยูทั้งหมด จนวาระสุดทายทา นก็ไดเ สยี ชีวติ ในสนามรบ นายทองเหมน็ ทานเปนชาวบางระจัน เขารวมในคายบางระจัน และเปน อีกทา นหนง่ึ ท่ีรว มวางแผนในการรบ ในการรบครั้งที่ 4 ทานทําหนาท่ีเปนปกขวารวมกับ นายโชติ นายดอก นายทองแกว คมุ พล 200 คน ไปขามคลอง บานขุนโลกตีโอบหลังขาศึก ผลทําใหทัพพมาแตกพายและ ไดฆาแมทัพพมา คอื สุรินทรจอขอ ง ครั้งสุดทายพมาทําการรบแตในคายโดยยิงปนใหญ ออกมา นายทองเหม็นสุดทจ่ี ะทนรวมกับพวกชาวบานจํานวน หน่งึ โดยนายทองเหมน็ ขี่กระบอื เผอื กตลยุ ผาคายพมา จึงเสีย ทพี มา นายทองเหมน็ ถูกพมา จับฆาตายในทนี่ ้นั

53 พนั เรือง เปนหัวหนาหมูบาน เม่ือถูกพมาเขาปลนหมูบาน หาขา วปลาอาหารใหทหาร ชาวบา นถกู ทหารพมารงั แกขมเหง จึงไดรับความเดือดรอน นายพันเรือง นายทองแสงใหญ นายจันหนวดเข้ียว ปรึกษากันใหชาวบานบางระจันท้ังหมด ไปอยูในวัดโพธ์ิเกาตนเปนที่หลบทหารพมา เพราะมีคลอง ธรรมชาติลอมรอบถึง 2 ช้ันและรวมชายฉกรรจในหมูบานได จํานวนหนึ่งจึงแบงกลุมกันออกลาดตระเวนหลอกลอทหาร พมาใหหลงทางเขาตีไมถูกและนายพันเรือง ยังเปนผูออก ความคิดหลอปนใหญเพ่ือยิงทําลายคายพมา จึงชักชวน ชาวบานชวยกันสละทองเหลือง ทองแดง หลอปนขึ้น 2 กระบอก แตใชการไมได อาจเปนเพราะโลหะไมเปนชนิด เดียวกันหรือไมมีความชํานาญการ ชาวบานตองอยูในสภาพ เสียขวัญกําลังใจและทานไดหลบหนีทหารพมาในคราว คา ยแตกไปเสียชีวิตริมฝงคลองหนา วดั ขนุ สงฆหางจากคา ย นายเมอื ง เปนคนบานสีบัวทอง เมืองสิงหบุรี รวมกับ นายอิน นายโชติ นายแทน และชาวบา นอีกจํานวนหนงึ่ ลวงทหารพมา ไปฆาและทานเปนคนไปนมิ นตพระอาจารยธรรมโชตจิ ากแขวง เมอื งสพุ รรณบุรมี าอยูวัดโพธ์ิเกาตน คายบางระจัน นายเมือง เปน 1 ใน 11 ผูนําชาวบานในคายท่ีคุมคนออกตอสูกับพมา จนกระท่งั เสียชวี ติ ในสนามรบ

54 นายอิน เปน คนบา นสบี วั ทอง ที่มากบั นายแทน นายโชติและ นายเมือง เปน คนหนง่ึ ทร่ี ว มกันฆา ทหารพมาในครง้ั แรกแลว มา รวบรวมกําลังตง้ั คา ยบางระจนั ขนึ้ ณ วัดโพธเ์ิ กา ตน ทา นเปน 1 ใน 11 ผนู าํ ชาวบานทอี่ อกตอสกู ับทหารพมา ดว ยความกลา - หาญจนตวั ตายในสนามรบ นายโชติ เปนคนบานสีบัวทอง แขวงเขตเมืองสิงหบุรีติดตอ เมืองสพุ รรณบรุ ี นายโชติไดรวมชาวบา นที่ถูกกองลาดตระเวน ของทหารพมา ขมเหงและใหส ง หญิงสาวให ในคร้งั นน้ั ทานกบั พรรคพวกไดลวงทหารพมาไปฆาได กวา 20 คน จากน้ันทานและชาวบานจึงมาอยูรวมกัน ณ บางระจัน ทา นไดต อสูกับทหารพมา จนเสยี ชีวิตในสนามรบ

55 นายแทน เปนคนบานศรีบัวทอง แขวงเมืองสิงหบุรี เปนผูท่ีมี ความกลาหาญและมฝี ม ือในการวางแผนรบ จดั ไดวาเปน แมทัพใหญอีกทานหนึ่ง นายแทนคุมพลเขารบกับพมา หลายครั้งไดรบั ชยั ชนะในการรบคร้งั ที่ 4 ทานคุมพล 200 คน เปน ทัพหลวง ทา นคมุ พลเขาตลี วงพมากอนและใหทัพปกขวา และปกซายเขาตีโอบหลัง สนามรบ คือ ฝงคลองทุงหวย ไผสะตือ สต่ี น ในการรบครั้งนัน้ ทา นไดร ับชยั ชนะและสามารถฆา แมทัพพมาได คือ สุรินทรจอของ แตทานก็ตองไดรับความ บาดเจ็บทเี่ ขา เนื่องจากถูกอาวุธของขาศึกตอ งหามกลบั คา ย หลงั จากน้ัน ทา นตอ งนอนรกั ษาตวั อยูในคายไดมินาน ก็เสียชีวติ เพราะพษิ บาดแผล ทาํ ใหทุกคนในบางระจนั เสยี ขวญั กําลังใจเพราะขาดบุคคลซ่ึงเปนที่พึ่ง 1 ใน 11 ทานทุกคนใน คายตอ งหลง่ั น้ําตาในการจากไปของทาน พระอาจารยธรรมโชติ เดิมทานจําพรรณนาอยูวัดเขานางบวช แขวงเมือง- สุพรรณบุรี เปนผูมีความรูเรื่องวิทยาคมตาง ๆ และเร่ืองยา สมุนไพรไทยโบราณเปนอยางดี จึงเปนที่รูจักเคารพนับถือมาก ของประชาชนท่วั ไป ในเมอื่ ภัยสงครามเกิดขึ้นในบานเมืองทานก็ ยังเปนขวัญกําลังใจใหกับชาวบานตอสูกับขาศึก ซ่ึงเหตุการณ เชนนไี้ มน าจะเกิดข้นึ กับชาวบา น โดยชาวบา นศรบี วั ทองมีนายเมอื ง เปนผูนิมนตทานมาอยู ณ วดั โพธเ์ิ กาตน ชาวบานหนที หารพมามาอยูรวมกันเปนจํานวน มาก โรคภัยไขเจ็บก็มีเกิดขึ้น ความตองการยาสมุนไพร นํ้ามนต ก็มากข้ึน พระอาจารยธรรมโชติไมมีภาชนะที่ใหญพอกับความ ตอสงกมายั รกขรอุงงธชนาวบบุราี นโดยเฉพาะนักรบชาวบานท่ีตองการ ความเปนศิริมงคลในการออกรบ พระอาจารยธรรมโชติ จึงทํา น้ํามนตใสส ระ เพือ่ ใหพอกบั ความตองการของชาวบาน นํ้าในสระ จงึ มคี วามศกั ด์สิ ิทธ์ิถึงปจ จบุ นั สุดทายไมมีใครทราบวาทานมรณภาพในวัดโพธิ์เกาตน หรอื หลบหนีไปไหน

56 พระเจา ตากสินมหาราช พระเจา ตากสินมหาราช เปนพระมหากษตั ริยท ีม่ พี ระมหากรณุ าธิคุณตอ ประเทศชาติอยางยง่ิ โดยทรง สรู บกับขา ศึกศตั รู จนสามารถกอบกเู อกราชของชาติไทยกลับคืนมาจากพมา ไดภ ายในระยะเวลาอันส้นั และต้ัง กรุงธนบรุ ีเปน เมืองหลวงของไทยในสมยั นน้ั พระราชประวัติ พระบรมราชานุสาวรียพ ระเจาตากสิน ท่ีจงั หวัดจนั ทบรุ ี สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พระราชสมภพ ตรงกับวันท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2277 มี พระนาม เดิมวา สิน พระราชบิดาเปนชาวจีนชื่อ นายไหฮอง หรือ หยง แซแต เปนนายอากรบอน พระราชมารดา เปนคนไทย ช่ือ นางนกเอยี้ ง โดยเมอื่ ทรงพระเยาว เจา พระยาจักรีไดขอสมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราชไปเลย้ี ง เปน บุตรบุญธรรม ต้งั ชื่อวา สนิ เจาพระยาจักรไี ดน ําไปถวายตวั เปนมหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจาอยูหัวบรมโกศ ตอมาไดรับความชอบ เปน พระยาตาก เจาเมืองตาก พ.ศ. 2310 กรงุ ศรีอยธุ ยาเสยี แกพมา คร้งั ที่ 2 ในวันที่ 7 เมษายน พระเจา ตากไดยึดเมอื งจันทบุรีเปน ท่ีตง้ั มน่ั ในการรวบรวมคน เพือ่ กอบกเู อกราช และพระยาตากกก็ อบกูก รงุ ศรีอยธุ ยากลับคืนไดภายใน 7 เดือน แลวกค็ ดิ จะปฏิสงั ขรณกรุงศรีอยุธยาขนึ้ เปนราชธานีใหม แตเม่ือตรวจสอบความเสียหายแลว เห็นวากรุงศรี- อยุธยามีความเสียหายมาก ยากแกการบูรณะแลว จึงเลือกเมืองธนบุรีเปนราชธานี เจาตาก ทรงทําพิธี ปราบดาภิเษกเปนกษัตริยครองกรุงธนบุรี ตรงกับวันท่ี 28 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2311 ขณะมีพระชนมายุได 34 พรรษา รวมสริ ิราชสมบัติ 15 ป พระราชกรณยี กิจสําคัญ 1. ทรงรวบรวมไพลพลจนสามารถกอบกเู อกราชใหชาติไทยไดภายในเวลา 7 เดือน เทานนั้ นับตงั้ แต เสยี กรุงศรีอยุธยาครง้ั ท่ี 2 ใหแกพมา 2. ทรงสถาปนากรุงธนบรุ ีเปน ราชธานี และปราบดาภิเษกเปน พระมหากษัตริย ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรอื สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช

57 3. ทรงรวบรวมประเทศใหเ ปนปกแผน ไดสําเรจ็ โดยการปราบปรามชมุ นมุ ตาง ๆ ทีต่ งั้ ตนเปน ใหญ หลายชุมนุม ท่ีสําคัญ ไดแก ชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุมเจาพระฝาง และชุมนุมเจา- นครศรีธรรมราช โดยใชเวลาเพียง 3 ปเ ศษ 4. ทรงมพี ระทัยมงุ ม่ันในการฟนฟูประเทศใหม คี วามเจรญิ กาวหนา ในดานตาง ๆ แมวาตลอด ระยะเวลา 15 ป ในชวงสมยั ของพระองคจ ะมีการทาํ ศึกอยตู ลอดเวลากต็ าม เชน การฟน ฟทู างเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม ทําใหสงั คมไทยคืนสภู าวะปกติภายในเวลาอนั รวดเร็ว พระบรมราชานสุ าวรยี ส มเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช ทีว่ งเวยี นใหญ กรุงเทพมหานคร พระองคไดรับการยอมรับและยกยองวาเปน “มหาราช” และเพ่ือใหประชาชนชาวไทยไดรําลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระองค รัฐบาลจึงประกาศใหวันที่ 28 ธันวาคม ของทุกป ซึ่งตรงกับวันท่ีทรง ปราบดาภเิ ษกข้ึนเปน พระมหากษัตรยิ  เปน วันสมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช พระยาพชิ ยั ดาบหกั พระยาพิชยั ดาบหกั เปน ตัวอยา งของบคุ คลท่มี คี วามเสยี สละ กลา หาญ ตอ สูเพื่อประเทศชาติ ยอมเสียสละแมก ระทั่งชีวติ ของตนเอง อนุสาวรียพ ระยาพิชยั ดาบหัก หนา ศาลากลางจงั หวดั อตุ รดติ ถ

58 ประวัติและผลงาน พระยาพิชัยดาบหัก เดิมชื่อ จอย เกิดท่ีบานหวยคา อําเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ เม่ืออายุได 14 ป บิดานําไปฝากกับทานพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ เมืองพิชัย จนสามารถอานออกเขียนไดจนแตกฉาน เพราะเปนคนขยันและเอาใจใสในตาํ ราเรียนและคอยรับใชอาจารย และขณะเดียวกนั ก็ซอ มมวยไปดวย ตอมา เจาเมืองพิชัย ไดนําบุตร (ช่ือเฉิด) มาฝากที่วัดเพ่ือร่ําเรียนวิชา จึงเกิดเรื่องทะเลาะวิวาทกันกับจอยเสมอ จอ ยจึงตัดสินใจหนอี อกจากวดั เดนิ ทางขน้ึ ไปทางเหนือโดยมิไดบอกพอ แม และอาจารย จึงไดไปพบกับครูฝก มวยคนหน่ึงชอื่ เที่ยง จงึ ขอฝากตวั เปน ศิษยแลวเปล่ียนชื่อใหมเปน ทองดี ครูเที่ยงรักนายทองดีมาก และมัก เรียกนายทองดี วา นายทองดี ฟน ขาว (เนื่องจากทานไมเคย้ี วหมากพลูดังคนสมยั นั้น) ทําใหลูกหลานครูอิจฉา จนหาทางกล่นั แกลง ตา ง ๆ นานา จงึ ทาํ ใหจ อ ยกราบลาครูเดินทางข้ึนเหนือตอไป เม่ือทานเดินทางถึงเมืองตาก ขณะนั้นกําลังมีพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยาท่ีวัดใหญ เจาเมืองตาก (สมเดจ็ พระเจากรงุ ธนบุร)ี ไดจ ดั ใหมีมวยฉลองดวย นายทองดี ฟนขาว ไดเขาไปเปรียบเทียบมวยกับครูหาว ซึ่งเปนครูมวยมือดีของเจาเมืองตาก นายทองดี ฟนขาว ใชความวองไวใชหมัด ศอก และเตะขากรรไกร จนครูหา วสลบไป เจาเมืองตากพอใจมากจึงใหเงิน 3 ตําลึงและชักชวนใหมาอยูดวย นายทองดี ฟนขาว จึงไดถวายตัว เปน ทหารของเจา เมอื งตาก (สมเด็จพระเจากรงุ ธนบรุ ี) ตัง้ แตบัดน้ัน รับใชเปนท่ีโปรดปรานมาก ไดรับยศเปน “หลวงพชิ ัยอาสา” สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดขึ้นเปนกษัตริยปกครองกรุงธนบุรี และโปรดเกลาฯ ใหหลวงพิชัยอาสา เปนเจา หมืน่ ไวยวรนาถ เปนทหารเอกราชองครักษใ นพระองค และตอมาโปรดเกลาฯ เปน “พระยาสหี ราชเดโช” เมือ่ ปราบชมุ นุมเจาพระฝางไดแลว สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ไดทรงปูนบําเหน็จความชอบใหทหาร ของพระองคโดยทัว่ หนา กนั สว นพระยาสหี ราชเดโช ไดโ ปรดเกลา ฯ ปนู บําเหน็จความชอบ ใหเปน “พระยาพิชัย” ปกครองเมืองพิชยั ซึง่ เปนบา นเกิดเมอ่ื สมยั เยาวว ัย ในป พ.ศ. 2313 - 2316 ไดเ กิดการสรู บกับพมา อีกหลายคราว และทุกคราวกองทัพพมาไดแตกพายไป พอสิ้นฤดูฝน ปมะเส็ง พ.ศ. 2316 โปสุพลายกกองทัพมาตีเมืองพิชัย ศึกครั้งน้ีพระยาพิชัยจับดาบสองมือ คาดดาย คุมทหารออกตอ สไู ลฟนแทงพมา อยางชุลมุน ณ สมรภูมิบริเวณวัดเอกา จนเสียการทรงตัวจึงใชดาบ ขา งขวาพยงุ ตวั ไวจนทําใหดาบขางขวาหกั เปนสองทอ น กองทัพโปสพุ ลาก็แตกพา ยกลบั ไป เปนท่ีเลืองลอื จนได นามวา “พระยาพชิ ยั ดาบหัก” ชีวิตราชการของพระยาพิชัยดาบหัก นาจะรุงเรืองและเปนกําลังปองกันบานเมืองไดเปนอยางดี ในแผน ดินตอมา หากแตว าพระยาพิชัยดาบหกั เห็นวาตวั ทา นเปนขาหลวงเดิมของพระเจาตากเกรงวานานวันไป จะเปนที่ระแวงของพระเจา แผนดนิ และจะหาความสุขไดยาก ประกอบกับมีความโศกเศราอาลัยในพระเจาตาก อยางมาก ไดก ราบทลู วาจะขอตายตามสมเด็จพระเจา ตาก จึงไดถกู ประหารชีวติ ตอนอายุ 41 ป พระยาพิชยั ดาบหกั ไดส รางมรดกอนั ควรแกก ารยกยองสรรเสริญใหสืบทอดมาถึงปจจุบันในเร่ืองของ ความซื่อสัตยสุจริต ความกตัญูกตเวที ความเด็ดเด่ียวเฉียบขาดกลาหาญ มีความรักชาติตองการใหชาติมี ความเจริญรุงเรืองม่นั คง

59 สมยั รัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงเปนปฐม- กษัตริยแหงราชวงศจักรี ทรงยายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรี มาต้ังท่ี กรงุ เทพมหานคร ตง้ั ช่อื วา กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร เปนเมือง- หลวงของไทย จนถงึ ปจจบุ ันนี้ พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช เสด็จพระราช- สมภพ เมอ่ื วนั ที่ 21 มนี าคม พ.ศ. 2279 มีพระนามเดมิ วา ทองดว ง ทรงผนวชเมื่อพระชนมายุได 21 พรรษา หลังจากลาสิกขา ไดทรงเขารับ ราชการจนกระทงั่ ไดด ํารงตําแหนง หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี หลังเสียกรุงศรีอยธุ ยา พระองคไดทรงกอบกู ราชอาณาจกั รขึน้ มาใหม ในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พระองคไดรับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปน พระยาจักรี และสมเด็จเจา พระยามหากษัตริยศ กึ ตามลําดับ ตอ มา พ.ศ. 2325 สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ไดปราบดาภเิ ษกเปนปฐมกษัตรยิ แหงราชวงศจกั รี พระองคเ สดจ็ สวรรคต เมื่อวนั ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระราชกรณยี กจิ สาํ คญั 1. สรา งพระบรมมหาราชวัง พ.ศ. 2327 สรางพระมหาปราสาท และสรา งวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม พรอ มทง้ั อญั เชญิ พระแกว มรกตจากกรุงธนบรุ ี มาประดิษฐานอยูภายในวัดแหง น้ี วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม 2. ดานการเมืองการปกครอง 2.1 ทรงสถาปนาราชวงศจักรีและกรุงรัตนโกสินทรใหเปนราชธานีแหงใหม โดยทรงยายราชธานี จากกรุงธนบุรมี าอยทู กี่ รงุ เทพมหานคร ทรงพระราชทานพระนครใหมนวี้ า“กรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสนิ ทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศน มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สกั กะทัตตยิ วษิ ณกุ รรมประสทิ ธ”์ิ หรือที่เรยี กขานกนั โดยทว่ั ๆ ไปวา “กรงุ เทพมหานคร” 2.2 โปรดเกลาฯ ใหช ําระกฎหมายใหถูกตอ งยตุ ธิ รรม เรียกวา “กฎหมายตราสามดวง” ไดแก ตราราชสีหของสมุหนายก ตราคชสีหข องสมหุ พระกลาโหม และตราบวั แกวของกรมทา

60 เงินพดดว ง 2.3 ทรงเปน จอมทัพในการทําสงครามกับรัฐเพื่อนบาน และทําสงครามเกาทพั กบั พมา ถือวาเปน สงครามครงั้ สาํ คัญ โดยพระองคไดท รงนาํ ทัพออกไปทําศกึ สงครามกับพมาดวยพระองคเอง สงครามเกา ทพั 3. ดา นเศรษฐกจิ 3.1 มกี ารคา ขายกบั จีนเพิ่มมากขนึ้ ทาํ ใหเ ศรษฐกิจดขี น้ึ มีเงินใชจ ายในการทาํ นุบาํ รบุ า นเมอื ง สรางพระนคร สรางและบรู ณปฏิสงั ขรณว ดั 3.2 มีการคาขายกับตางประเทศ ไดรับภาษีอากร เชน อากรสุรา อากรบอนเบี้ย อากรขนอน ตลาด ภาษีคาน้ํา 4. ดา นสงั คมและวฒั นธรรม 4.1 โปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชวังและวัดใหมีรูปแบบเหมือนสมัยอยุธยา เพื่อสรางขวัญ กําลงั ใจแกราษฎรใหเสมอื นอยใู นสมยั อยุธยา เมอ่ื ครั้งบา นเมืองเจรญิ รุงเรอื ง เชน ลอกแบบพระทนี่ ัง่ สรรเพชญ- ปราสาทขนึ้ มาใหม และพระราชทานนามวา “พระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท” และสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวดั พระแกว ไวใ นเขตพระบรมมหาราชวงั 4.2 ทรงทาํ นบุ าํ รงุ พระพทุ ธศาสนา ดวยการออกแบบกฎหมายคณะสงฆ เพื่อใหพระสงฆอยูใน พระธรรมวินัย มีการสังคายนาพระไตรปฏกใหมีความถูกตองสมบูรณ มีการสรางวัดและบูรณปฏิสังขรณ วดั วาอารามตาง ๆ เชน วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) 4.3 ทรงสงเสริมงานวรรณกรรม โดยมีพระราชนิพนธวรรณคดีหลายเร่ือง เชน กลอนนิราศ ทาดนิ แดง กลอนบทละครเรื่องอิเหนา กลอนบทละครเรอ่ื ง รามเกียรติ์

61 ดว ยพระราชกรณียกิจอันทรงคุณคาอยางย่ิงตอชาติไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช จงึ ไดรับพระราชสมญั ญาวา “มหาราช” ทา วเทพกระษตั รีและทา วศรสี นุ ทร ทา วเทพกระษตั รีและทาวศรสี ุนทร เปนวีรสตรที ี่มชี ่ือเสียงปกปอ งประเทศชาติและตอ สูกบั ศตั รูอยาง กลาหาญ จนสามารถปกปองพนื้ แผนดิน ใหร อดพน จากเง้อื มมือของศัตรูไวได อนุสรณส ถานทาวเทพกระษัตรีและทาวศรีสนุ ทร อยทู ่จี งั หวัดภเู ก็ต ประวตั ิ ทา วเทพกระษตั รี มีชอ่ื เดิมวา จนั และทาวศรสี ุนทร มีชอ่ื เดิมวา มกุ ทานเปนพี่นองรวมบิดามารดา เดียวกัน บดิ าเปนเจาเมอื งถลางชือ่ จอมทองคาํ มารดาช่ือ นางหมาเส้ีย มีพีน่ อ งรวมทง้ั หมด 5 คน ถือกําเนิด ทีบ่ า นตะเคียน เมืองถลาง ปจ จุบันคอื อาํ เภอหนงึ่ ในจังหวดั ภูเกต็ คุณหญงิ จัน เปนภรยิ าของพระยาถลาง ผลงาน ทา วเทพกระษตั รแี ละทาวศรีสุนทร แมจะเกิดเปนสตรี แตมีความกลาหาญเชนเดียวกับบุรุษ และ สามารถใชสติปญญาอันหลกั แหลมรักษาอสิ รภาพของทองถ่ิน และชาติบา นเมืองของเราไวได เหตุการณท ่ีทาํ ให ทานท้ังสองไดรับการยกยองมาจากวีรกรรม ใน พ.ศ. 2328 เม่ือพระเจาปดุง กษัตริยพมายกทัพมาตีไทย ในเหตกุ ารณส งครามเกา ทพั ทพั หนึ่งไดย กมาตีเมืองถลาง ซึ่งขณะนั้นพระยาถลางเพิ่งถึงแกอนิจกรรมและยัง ไมไดแตง ตง้ั ผูใดเปนเจา เมอื งแทน คุณหญงิ จนั และคุณหญงิ มกุ จงึ ไดใ หผ หู ญงิ ชาวเมืองถลาง แตงกายเปนชาย ปะปนกบั ทหารชายของไทย เพ่อื ใหพ มา เขาใจวาฝายไทยมีกาํ ลงั มาก ทัพพมาพยายามตเี มืองถลางอยูเดอื นเศษ แตไ มสาํ เร็จ และพมาเริม่ ขาดเสบียง ประกอบกับขาววาทัพหลวงของไทยยกมาพมาจึงตัดสินใจถอยทัพกลับ ทําใหค ณุ หญิงจันและคุณหญงิ มกุ รกั ษาเมืองถลางไวไ ด

62 ตอมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงทราบวีรกรรมของคุณหญิงจันและ คณุ หญงิ มกุ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ ใหค ุณหญิงจันเปน ทาวเทพกระษัตรี และคุณหญิงมุกเปน ทาวศรีสนุ ทร นบั วา ประวัติการตอ สูของวรี สตรเี มืองถลาง คอื ทา วเทพกระษัตรแี ละทาวศรีสุนทรน้ัน เปน แบบอยาง ท่แี สดงใหเ ห็นวา บทบาทของหญงิ ไทยนนั้ ตอ งทําหนาทีท่ กุ อยา งได ทง้ั ในยามบานเมืองเปนปกติ หรือในยาม คับขนั เพือ่ เปนการยกยองวีรกรรมของทา วเทพกระษัตรี และทาวศรสี นุ ทรใหจ ารกึ ในจิตใจลูกหลานเมอื งถลาง และของชาวไทย ทางการไดตั้งนามสถานที่ต้ังเมืองถลาง เมื่อคร้ังศึกพมาวา ตําบลเทพกระษัตรี และใหรวม ตําบลทาเรือกับตําบลลิพอนตั้งเปนตําบลช่ือวา ศรีสุนทร นอกจากน้ีในปพุทธศักราช 2510 ยังไดสราง อนุสาวรยี ของวีรสตรแี หง เมอื งถลาง ไวที่จงั หวัดภเู ก็ต เพ่อื เปน เคร่ืองหมายและอนสุ รณแ หงความกลาหาญของ สตรใี นประวัตศิ าสตรช าติไทยอีกแหง หนึง่ ทาวสุรนารี (ยาโม) ทาวสรุ นารี เปน วีรสตรีทชี่ าวโคราช หรือชาวจงั หวัดนครราชสมี า ใหค วามเคารพนบั ถอื เปนอยางมาก เปนศูนยรวมจิตใจของชาวโคราช ถึงขนาดเคยมีนโยบายของรัฐบาลหลายสมัยตองการที่จะแบงจังหวัด นครราชสีมา เปนจังหวัดยอย ๆ แตไมสามารถทําได เพราะจิตใจของคนในจังหวัดสวนใหญไมอยากแยกตัว ออกไป เพราะทกุ คนในจังหวดั นเ้ี ปน “หลานยา โม” กนั ทกุ คน ประวตั ิ ทาวสุรนารี เดิมชื่อโม หรือ โม ทานเปนบุคคลสําคัญทางประวัติศาสตรของจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผูกอบกูเมืองนครราชสีมา จากกองทัพของเจาอนุวงศ แหงเวียงจันทร เม่ือ พ.ศ. 2369 คุณหญิงโม เกดิ เมือ่ พ.ศ. 2315 ปเถาะ ในแผนดนิ พระเจาตากสินกรุงธนบรุ ี บดิ า มารดา ช่อื นายก่ิม นางบุญมา เม่ืออายุ 25 ป ไดเขาพธิ ีสมรสกับเจา พระยามหศิ ราธิบดี (ทองคาํ ) ที่ปรึกษาราชการเมอื งนครราชสีมา

63 เมอ่ื วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2524 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ไดเสดจ็ พระราชดําเนินทรงวางพวงมาลา ณ อนุสาวรียท า วสรุ นารี จงั หวัดนครราชสมี า ผลงาน ความภาคภูมิใจของชาวนครราชสีมา และประชาชนชาวไทยท่ัวไปนั้นก็คือ เม่ือป พ.ศ. 2349 ในสมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 แหงจักรีวงศ เจาอนุวงศ ผูครองนครเวียงจันทน ไดยกทัพมาตีเมืองนครราชสีมา ซ่ึงขณะน้ันเจาเมืองและพระยาปลัดเมืองไมอยู กองทหารของเจาอนุวงศ จงึ ตเี มืองนครราชสีมาไดโดยงาย และไดกวาดตอนครอบครัวชาวเมืองนครราชสีมา ซ่งึ สวนมากเปนผูหญิง เด็กและคนชรา ไปเปนเชลย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2369 คุณหญิงโม ภริยา พระยาปลัดเมืองก็ถูกคุมตัวไปดวย หัวหนาของทหารเจาอนุวงศ ซ่ึงเปนผูควบคุมเชลยท่ีกวาดตอนไปนั้น ชื่อเฟยรามพิชัยไดสั่งรับอาวุธทุกชนิดจากชาวเมืองจนหมด คร้ันเดินทางมาถึงทุงสมฤทธ์ิ แขวงเมืองพิมาย (อําเภอพมิ ายปจจบุ ัน) ขณะทห่ี ยดุ และต้ังคายพักแรม ณ ทน่ี ้นั คุณหญิงโม ไดออกอุบายใหชาวเมืองนําอาหาร และสุราไปเล้ียงทหาร ผูควบคุม ถึงกับเมามายไรสติ หมดความระมัดระวัง คุณหญิงโมจึงไดประกาศใช ชาวเมืองรวมใจกันจับอาวธุ ตามแตจะหาไดเ ขา โจมตีกองทหารทค่ี วบคุมโดยไมท นั รูตวั แมจะมีกําลังนอยกวาก็ ประสบชัยชนะอีก เพราะความสามัคคี และความกลาหาญของชาวนครราชสีมา ซึ่งมีคุณหญิงโมเปน ผคู วบคมุ กองทหารเวยี งจนั ทนแ ตกพนิ าศ เจาอนวุ งศถอยทัพกลับในท่ีสุด กองทัพไทยยกตามไปปราบจับตัว เจาอนุวงศได ทานผูหญิงผูกลาหาญไดนามวา เปนวีรสตรี กอบกูอิสรภาพนครราชสีมาเอาไวได ดวย ความสามารถมีคณุ ตอประเทศชาตอิ ยางยงิ่ วรี กรรมอันหาวหาญของคุณหญิงโม เปน “ทาวสุรนารี” และทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาปลัดเมืองนครราชสีมา (ทองคํา) ผูเปนสามีทาวสุรนารีเปน “เจาพระยา- มหศิ ราธบิ ดี” ปรากฏในพงศาวดารมาจรทุกวันน้ี ทาวสุรนารี ถึงแกอสัญกรรม เมื่อ พ.ศ. 2395 รวมสิริอายุ 81 ป

64 อนุสรณสถานวีรกรรมทงุ สมั ฤทธิ์ อาํ เภอพิมาย จงั หวดั นครราชสีมา ทาวสรุ นารี เปน ผูทีเ่ สยี สละ เพอ่ื ใหประเทศชาติไดอยรู อดปลอดภัย ควรทีอ่ นุชนรนุ หลังจะไดระลึกถึง คุณงามความดีของทาน บานเมืองทุกวันนี้เปนสิ่งท่ีตองหวงแหน การหวงแหน คือ ตองสามัคคี รูจักหนาท่ี ทกุ ฝา ยตอ งชว ยกนั ชาวนครราชสีมา ไดแสดงพลังตองการความเรียบรอย ความสงบ เปนปจจัยสําคัญทําให ชาติกลบั ปลอดภัยอีกครั้งหนึ่ง และเพื่อเปนการระลกึ ถึงคุณความดขี องทาน ชาวเมืองนครราชสีมาไดพรอมใจ กนั จดั งานเฉลมิ ฉลองวนั แหงชยั ชนะของทาวสุรนารีข้ึน ระหวางวนั ที่ 23 มีนาคม ถึงวนั ท่ี 3 เมษายน ของทกุ ป พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว (รชั กาลท่ี 5) พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว (รชั กาลที่ 5) เปน พระมหากษตั รยิ ไทยท่นี าํ ความเจริญมา สูประเทศไทยในทุก ๆ ดาน ทรงพัฒนาประเทศใหเจริญรุงเรืองในทุกดาน เพ่ือใหทัดเทียมกับนานา อารยประเทศ ทาํ ใหป ระเทศไทยรอดพน จากภยั ของการลา อาณานิคมของประเทศมหาอํานาจตะวนั ตก พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยูหวั มพี ระนามเดิมวา สมเดจ็ เจาฟาจฬุ าลงกรณ ทรงประกาศปลดปลอยทาส

65 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู วั มพี ระอคั รมเหสที รงพระนามวา สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว ทรงไดร ับการศกึ ษาจากสํานักพระเจาวรวงศเธอพระองค เจา บุตรี และทรงศึกษาดานวชิ าการและโบราณราชประเพณีตาง ๆ จากผูมีความรูความเชี่ยวชาญท้ังชาวไทย ชาวตา งชาติ รวมท้ังการสั่งสอนวิชาการดา นตา ง ๆ จากสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ เชน วชิ ารัฐศาสตร โหราศาสตร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั เปน พระมหากษัตริยพ ระองคแรกในราชวงศจักรี ท่ีข้ึนครองราชย ในขณะที่ยังทรงพระเยาวและมีผสู ําเรจ็ ราชการแทนพระองค และพระองคไ ดเสด็จเยือนประเทศสิงคโปรและ ชวา (อินโดนีเซีย) ประเทศอินเดียและพมา เพื่อทรงศึกษาขอดี ขอเสีย ของแบบแผนการปกครองอยาง ตะวนั ตก นํามาปรับปรงุ พัฒนาประเทศใหเ จรญิ กาวหนา พระราชกรณยี กิจท่สี าํ คัญ 1. ดา นการเลิกทาส เปนพระราชกรณียกิจท่ีสําคัญท่ีสุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยพระองคได ทรงตราพระราชบญั ญตั ทิ าส ร.ศ. 124 โดยใชเวลานานกวา 30 ป ในการปลดปลอ ยทาสมิใหหลงเหลืออยูใน อาณาจักรไทย โดยไมมีการสูญเสียเลือดเน้ือ ดวยวิธีการแบบละมุนละมอมอันตางกับตางชาติท่ีมีเสียเลือด เสยี เนือ้ การเลิกทาส 2. ดานการไปรษณียโทรเลข พระองคทรงเห็นถึงความสําคัญของการส่ือสารในอนาคตโดยโปรดเกลาฯ ใหกระทรวงกลาโหม ดาํ เนินการกอ สรางวางสายโทรเลข สําหรับสายโทรเลขสายแรกของประเทศ โดยเริม่ กอสรา งในป พ.ศ. 2418 จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ และจัดต้ังการไปรษณียขึ้นเปนคร้ังแรกในป พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จ- พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว ไดโปรดเกลาฯ ใหกรมโทรเลขรวมเขา กับกรมไปรษณยี ชือ่ วา กรมไปรษณียโทรเลข การไปรษณีย

66 3. ดานการโทรศัพท กระทรวงกลาโหม ไดนาํ โทรศพั ทอันเปนวิทยาการในการส่ือสารทท่ี นั สมยั เขามาทดลองใชเปน คร้ังแรก ในป พ.ศ. 2424 จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ เพื่อแจงขาวเรือ เขา - ออก ท่ีปากนา้ํ 4. ดา นการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหวั ไดท รงวางระเบยี บการปกครองใหมโ ดยการแยกหนวยราชการ ออกเปนกรมกองตา ง ๆ ใหมหี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบเฉพาะไมก าวกายกัน 12 กรม ไดแ ก 1. กรมพระคลงั มีหนา ทีด่ ูแลเก่ยี วกับการเก็บภาษีรายไดจ ากประชาชน 2. กรมยตุ ธิ รรม มีหนาที่ดูแลเกีย่ วกบั คดีความท่ีตองตดั สนิ ตาง ๆ ท้งั คดอี าญาและคดีแพง 3. กรมยุทธนาธิการ มีหนาท่ีตรวจตรารักษาการณในกรมทหารบก ทหารเรือ และกิจกรรมท่ี เกีย่ วของกบั ทหาร 4. กรมธรรมการ มหี นา ทีด่ แู ลเกี่ยวกบั กิจการของพระสงฆ คือ หนาทส่ี ่งั สอนอบรมพระสงฆแ ละสอน หนังสือใหก ับประชาชนทว่ั ไป 5. กรมโยธาธกิ าร มีหนา ท่ดี ูแลตรวจตราการกอสราง การทําถนน ขุดลอกคูคลอง และงานเก่ียวของ กบั การกอสรา ง 6. กรมมรุ ธาธิการ มีหนา ทีด่ แู ลรกั ษาพระราชลญั จกร พระราชกาํ หนดกฎหมาย และหนงั สือ ท่เี กย่ี วกบั ราชการทง้ั หมด 7. กรมมหาดไทย มหี นาท่ีดแู ลบังคบั บญั ชาหัวเมืองฝายเหนือ และเมืองลาวประเทศราช 8. กรมพระกลาโหม มีหนา ทบ่ี ังคับบญั ชาหวั เมอื งปกษใ ต ฝา ยตะวนั ออก ตะวันตก และเมอื งมลายู 9. กรมทา มหี นา ท่ีดแู ลงานท่เี กีย่ วของกับการตา งประเทศ 10. กรมวงั มีหนา ทดี่ แู ลรกั ษาการณต า ง ๆ ในพระบรมมหาราชวงั 11. กรมเมือง มหี นาทด่ี แู ลรักษากฎหมายอาญาที่เก่ียวกบั ผกู ระทาํ ผดิ กรมน้มี ตี าํ รวจทําหนา ทใี่ นการ ดูแลรกั ษาความสงบ และจบั กุมผูกระทําผดิ มาลงโทษ 12. กรมนา มีหนา ท่ีคลายคลงึ กบั กระทรวงเกษตรและสหกรณในปจจบุ ันคือ มีหนาทหี่ ลกั ในการดูแล ควบคุมการเพาะปลกู คา ขาย และปา ไม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมีพระบรมราชโองการประกาศ ใหยกฐานะกรมขึ้นเปน กระทรวง ในวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2435 และไดยุบ 2 กระทรวงท่ีทําหนาที่ซ้ําซอนกัน คือ กระทรวงมุรธาธิการ ยุบรวมกับกระทรวงวัง และกระทรวงยทุ ธนาธกิ ารยุบรวมกบั กระทรวงกลาโหม โดยคงเหลอื ไว 10 กระทรวง 5. ดา นการพยาบาลและสาธารณสุข พระองคไดโปรดเกลา ฯ ใหสรา งโรงพยาบาลเพอื่ รักษาประชาชน ดว ยวธิ ีการแพทยแผนใหมแทนวิธีการ รักษาแบบเดมิ ทีล่ า สมยั โดยไดพระราชทานทรพั ยสินสวนพระองคจาํ นวน 16,000 บาท เพ่ือเปนทนุ เรม่ิ แรก ในการสรางโรงพยาบาลชื่อวา โรงพยาบาลวงั หลงั ตอมาไดพระราชทานนามโรงพยาบาลใหมวา โรงพยาบาล ศิริราช

67 โรงพยาบาลศิรริ าช 6. ดา นการกฎหมาย กฎหมายในขณะนั้นมีความลาสมัยอยางมาก ทําใหตางชาติใชเปนขออางในการเอาเปรียบไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงทรงโปรดเกลาฯ สรางประมวลกฎหมายอาญาข้ึนใหม เพ่ือให ทันสมัยทัดเทียมกับอารยประเทศโดยอาศยั ผเู ชี่ยวชาญกฎหมายจากตา งประเทศ และบุคคลที่มีความสําคัญใน ดา นน้ีคือ พระเจา บรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ (พระบดิ าแหงกฎหมายไทย) พระราชโอรส การลงโทษ แบบจารตี จงึ ถูกยกเลกิ ไป พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายแหงแรกของ ประเทศไทย โดยมกี รมหลวงราชบรุ ีดิเรกฤทธิ์ทรงเปนผอู าํ นวยการ 7. ดานการขนสง และสือ่ สาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหคณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการ สํารวจเสนทาง เพ่ือวางรากฐานการสรางทางรถไฟ เริ่มสรางทางรถไฟสายกรุงเทพ - นครราชสีมา ทําใหมีเกิด รถไฟหลวงแหงแรกของไทย 8. ดา นการเปล่ยี นแปลงระบบเงนิ ตรา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหผ ลติ ธนบตั รขน้ึ ตงั้ แต อัฐ และตั้งกรม ธนบัตรข้ึน ไดมีการผลิตธนบัตรรุนแรกออกมา 5 ชนิด คือ 1,000 บาท 100 บาท 20 บาท 10 บาท 5 บาท มีประกาศยกเลิกใชเงินพดดวง เหรียญเฟอง เบ้ียทองแดง มีการจัดตั้งธนาคารข้ึนคร้ังแรกช่ือ แบงค สยามกัมมาจล ปจจุบันคือ ธนาคารไทยพานชิ ยจํากดั 9. ดา นการศึกษา พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหต้ังโรงเรียนหลวงแหงแรกขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2444 โดยมีหลวงสารประเสรฐิ เปน อาจารยใ หญ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกรู) เปนผูเขียนตําราเรียนขึ้นมาเรียกวา แบบเรียนหลวง จํานวน 6 เลม เม่ือ พ.ศ. 2460

68 โปรดเกลา ฯ ใหจ ัดตั้ง “กรมศึกษาธิการ” ขึ้น เพื่อดูแลดานการศึกษาของชาติ โรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร แหง แรกท่ีสรา งข้นึ ในวัด คอื โรงเรยี นวัดมหรรณพาราม 10. ดา นศิลปวฒั นธรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนกวีเอกที่ย่ิงใหญพระองคหน่ึงในแผนดินสยาม โดยทรงพระราชนพิ นธว รรณกรรมไวมากมายทีไ่ ดรับความนิยม คือ 1. พระราชพิธสี บิ สองเดือน 2. บทละครเรอื่ ง เงาะปา 3. ไกลบา น ฯลฯ ดวยพระราชกรณยี กิจทกี่ อ ใหเกดิ ประโยชนอยางมหาศาลตอประเทศไทย จึงไดรับพระราชสมัญญา นามวา “สมเด็จพระปยะมหาราช” อันหมายถึง ทรงเปนท่ีเคารพรักของประชาชนทั้งปวง พระองคเสด็จ- สวรรคต เมอื่ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ประเทศไทยจึงกําหนดใหว นั ที่ 23 ตลุ าคมของทกุ ป เปนวนั ปยมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช (รัชกาลที่ 9) พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช เปนพระมหากษัตริยร ชั กาลที่ 9 แหง ราชวงศจักรี และเปน องคที่ 2 ในประวัตศิ าสตรไ ทยถัดจาก พระปย มหาราช ทไ่ี ดร บั การถวายพระนาม “มหาราช” ขณะที่ครองราชย พระองคท รงทาํ นุบํารุงประเทศตามพระบรม ราชโองการวา “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนส ขุ แหง มหาชน ชาวสยาม” พระราชประวัติ พระราชสมภพ พระบาทสมเดจ็ ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงเปนพระราช โอรสในสมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี พระองคท รงพระราชสมภพ เมอื่ วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 การศกึ ษา ทรงเขารบั การศกึ ษาทโี่ รงเรยี นมาแตรเดอี กรงุ เทพมหานคร และศกึ ษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนด พระองคทรงรอบรูหลายภาษา ไดแ ก องั กฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน และละตนิ ครองราชย พระองคไดท รงข้ึนครองราชยเ ปนพระมหากษตั รยิ  รชั กาลที่ 9 แหง พระบรมราชจกั รวี งศ

69 พระราชพธิ ีราชาภิเษกสมรส ทรงประกอบพธิ รี าชาภเิ ษกสมรส กับหมอ มราชวงศสิริกิติ์ กติ ิยากร ท่วี งั สระปทุม และไดท รงสถาปนา หมอมราชวงศส ิริกิติ์ ข้ึนเปน สมเด็จพระราชินสี ริ กิ ติ ิ์ ตอ มา พระบรมราชาภเิ ษก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 โดยทรงประกอบ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี และในการนีไ้ ดท รงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ สถาปนา เฉลิมพระเกียรตยิ ศสมเดจ็ พระราชนิ ีสิรกิ ติ ิ์ พระอัครมเหสี เปน สมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกติ พิ์ ระบรมราชินี มีพระราชธดิ าและพระราชโอรส 4 พระองค ทรงประกาศปฏิญาณหรือพระปฐมบรมราชโองการวา “เราจะครองแผน ดนิ โดยธรรม เพื่อประโยชนส ุขแหงมหาชนชาวสยาม” พระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม ทรงพระผนวช เพือประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปฏบิ ตั พิ ระศาสนกจิ เปนเวลา 15 วนั พระราชกรณยี กิจดานการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ดานการจดั การทรัพยากรนํา้ โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ เปน โครงการท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางแผนพัฒนา พระองคทานทรงวางแผนและหาวิธีการจัดการทรัพยากรนํ้า การพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อแกไ ขภยั แลงใหป ระชาชนชาวไทยมนี ้ําใชใ นการเกษตร และบริโภคอปุ โภคไดอ ยา งสมบรู ณตลอดป 2. ดานการจัดการทรัพยากรปาไม พระองคทานทรงมุงม่ันที่จะแกไข ปรับปรุง และพัฒนาปาใหอยูในสภาพสมบูรณดังเดิม โดยเนน การอนรุ ักษและพฒั นาปาตน นํา้ เปนพิเศษ จากแนวพระราชดํารขิ องพระองคไดก อใหเ กิดโครงการตาง ๆ ไดแก 1. ศูนยศ กึ ษาการพฒั นาหวยฮองไครอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ อาํ เภอดอยสะเกด็ จังหวัดเชียงใหม 2. ศูนยศ ึกษาการพัฒนาหว ยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ไดประสบผลสําเร็จ อยา งสูงในดานการลดปญ หาการบกุ รกุ ทาํ ลายปา การปอ งกันไฟปา 3. ศูนยวิจัยและศึกษาธรรมชาติปาพรุสิรินธร อําเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส มีวัตถุประสงค เพอ่ื ทําการศกึ ษาคนควาเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอมของปาพรุ เปนตน

70 3. ดา นการจัดการทรัพยากรทดี่ นิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางแนวทางแกไขปญหาทรัพยากรท่ีดิน ทเี่ ส่อื มโทรม ขาดคุณภาพ และการขาดแคลนที่ดนิ ทํากนิ สาํ หรับเกษตรกร แบงไดเปน 3 ดา นหลกั ไดแก 1. การจัดและพฒั นาทด่ี ิน ปญหาการขาดแคลนทด่ี นิ ทํากินของเกษตรกร เปนปญหาสําคัญอยางมาก และพระองคทานทรง ใหค วามสาํ คญั เพ่อื แกไขปญหาการไมมีที่ดินทํากินของเกษตรกร โดยพระราชดําริแนวทางหนึ่งในการแกไข ปญหานี้ ไดแ ก วธิ กี ารปฏริ ปู ท่ดี นิ มาใชใ นการจัดและพัฒนาที่ดินที่เปนปาเสื่อมโทรม ท้ิงรางวางเปลา นํามา จดั สรรใหเกษตรกรที่ไรท ีท่ ํากิน ไดประกอบอาชพี ในรปู ของหมูบา นสหกรณ นอกจากนี้ยังมีการจัดพ้ืนท่ีทํากิน ใหราษฎรชาวไทยภูเขา สามารถดํารงชีพอยูไดเปนหลักแหลง โดยไมตองทําลายปาอีกตอไป โดยดําเนิน โครงการเกี่ยวกับการพัฒนาท่ีดินเพ่ือการเกษตรควบคูไปกับการพัฒนาแหลงนํ้า เชน โครงการนิคมสหกรณ หุบกะพง (ในพระบรมราชูปถัมภ) อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี โครงการจัดพัฒนาที่ดินทุงลุยลาย อันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ อําเภอคอนสาร จังหวดั ชยั ภมู ิ เปนตน 2. การพฒั นาและอนรุ ักษดิน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงใหค วามสาํ คญั มากขึ้นในการอนรุ กั ษแ ละ ฟนฟูทด่ี นิ ที่มีสภาพธรรมชาติ และปญ หาที่แตกตางกันออกไปในแตล ะภมู ภิ าค เพอ่ื แกไ ขปญ หาที่ดนิ มากขน้ึ เชน การศกึ ษาวจิ ัย เพ่ือแกไขปญ หาดนิ เคม็ ดินเปร้ยี ว ดินทราย ในภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ปญ หาดนิ พรุในภาคใต การพัฒนาและอนรุ กั ษด นิ ท่สี าํ คัญ แบงได 3 สว น คอื ก) แบบจาํ ลองการพฒั นาพื้นท่ที ม่ี ีสภาพขาดความอุดมสมบรู ณ เพ่ือทําการศึกษา คน ควา เก่ยี วกับการสรา งระบบอนรุ กั ษดนิ และน้าํ ข) การแกไ ขปญหาดินเปรีย้ วดว ยวธิ ี \"การแกลง ดนิ \" จากนนั้ จึงทาํ การปรบั ปรุงดินดว ยวิธกี ารตา ง ๆ ค) มกี ารศึกษาทดลองปลกู หญาแฝก เพ่อื ปอ งกันการชะลา งพังทลายของดนิ และอนรุ ักษ ความชุมชนื้ ไวใ นดนิ 3. การดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั กรรมสิทธิ์ท่ีดนิ “ปาเตรยี มสงวน” จากปญ หาความรุนแรงในการบกุ รกุ เขาไปครอบครองที่ดินของรัฐ โดยราษฎรที่ไมมีท่ีดินทํากิน เปนหลักแหลง จึงไดทรงพระราชทานแนวทางการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไม สําหรับท่ีดินปาสงวน ที่เสื่อมโทรมและราษฎรไดเขาไปทํากินอยูแลวน้ันโดยรัฐใหกรรมสิทธ์ิแกราษฎรในการทํากินไดอยางถูกตอง ตามกฎหมาย แตม ไิ ดม กี ารออกโฉนดท่ีจะสามารถนาํ ไปซอ้ื ขายได เพียงแตควรออกใบหนังสือรับรองสิทธิทํากิน (สทก.) แบบสามารถเปนมรดกตกทอดแกทายาทใหสามารถทํากินไดตลอดไป ทําใหวิธีการนี้ชวยใหราษฎร มีกรรมสทิ ธ์ทิ ่ดี นิ เปนของตนเองและครอบครวั โดยไมอาจนําที่ดินน้ันไปขายและจะไมไปบุกรุกพื้นที่ปาสงวน อนื่ ๆ อกี ตอไป

71 4. ดานการจดั การทรพั ยากรประมง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีแนวพระราชดําริในการจัดการทรัพยากร ประมง เพ่อื แกไขปญหาแหลง นํ้าธรรมชาตทิ เี่ ส่ือมโทรมและการผลิตสัตวน้าํ จาํ พวกปลานาํ้ จดื เปนแหลง อาหาร ราคาถูกท่ใี หสารอาหารโปรตนี ใหประชาชน ดงั น้ี 1. โครงการสวนพระองคส วนจติ รลดา ท่มี บี อ เพาะเลี้ยงปลานิล 2. การจัดการทรพั ยากรประมง ที่เกี่ยวกับการพฒั นาการเพาะเล้ยี งสตั วนาํ้ ชายฝงไดพ ระราชทานดําริ เพื่อหาแนวทางการเพาะเลย้ี งกงุ กลุ าดาํ อยางยง่ั ยนื รวมท้งั การใชป ระโยชนท รพั ยากรชายฝง แบบเอนกประสงค และเก้อื กูลกนั ณ “ศูนยศ ึกษาการพัฒนาอา วคงุ กระเบน” จงั หวดั จนั ทบรุ ี 5. ดานการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดําริในการพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิตทางการเกษตรใหมากทสี่ ุด ภายใตขอจาํ กัดของสภาพภูมศิ าสตรและทรัพยากรธรรมชาตมิ งุ เนน การใช เทคโนโลยที ีง่ าย ไมยุง ยากซบั ซอ น ไดแ ก 5.1 ทฤษฎีการพัฒนาการเกษตรแบบ “พึ่งตนเอง” และเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเกษตรกร สามารถพงึ่ ตนเอง และชว ยเหลอื ตนเองในดา นอาหารกอนเปนสาํ คัญ ไมใหพ ึง่ พาอยกู บั พชื เกษตรเพยี งชนดิ เดียว ใหป ลูกพืชหลากหลายชนดิ 5.2 ทฤษฎีใหม : แนวทางการจัดการท่ดี นิ และน้ําเพื่อการเกษตรที่ย่ังยืน พระองคทรง พระราชทาน “ทฤษฎีใหม” เพอื่ แกไขปญ หาการขาดแคลนท่ีดนิ ทํากินของเกษตรกร 5.3 เกษตรยั่งยืนและระบบเกษตรธรรมชาติ มุงใชประโยชนจากธรรมชาติเปนปจจัยท่ีสําคัญ เพ่อื ชว ยลดคา ใชจ า ยในการทาํ มาหากนิ ของเกษตรกรลงใหเ หลอื นอยที่สดุ เชน การสนบั สนุนใหเ กษตรกรใชโค กระบือในการทํานา มากกวาการใชเคร่ืองจักร , การปลูกพืชหมุนเวียน หลีกเลี่ยงใชสารเคมีตาง ๆ ท่ีมี ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม 6. ดา นการอนุรกั ษสง่ิ แวดลอม พระองคทรงมุงเนนการอนุรักษและฟนฟูสภาพส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะหลักการ “นํ้าดีไลน้ําเสีย” หลักการบัดนํ้าเสียดว ยผักตบชวา ทฤษฎีการบําบัดน้ําเสียดวยการผสมผสานระหวางพืชนํ้ากับระบบการเติม อากาศ ทฤษฎกี ารบําบัดนํ้าเสียดวยระบบบอบาํ บดั และวชั พชื บําบัด และ “กงั หันนํ้าชยั พฒั นา” ฯลฯ พระราชกรณียกจิ ดานการแพทย พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหมีคณะแพทยท่ีเปน ผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาจากโรงพยาบาลตาง ๆ พรอมดวยเวชภัณฑและเครื่องมือแพทย เพื่อใหการ รักษาพยาบาลราษฎรท่ปี ว ยไขไดทันทีและมีโครงการทันตกรรมพระราชทาน ชวยเหลือในทองถิ่นทุรกันดาร ที่หา งไกล

72 พระราชกรณียกิจดานการศึกษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงตระหนกั ถงึ การพัฒนาการศกึ ษาใหกับเยาวชน โดยจัดต้ังมูลนิธิอานันทมหิดล เพ่ือใหทุนการศึกษาแกนักศึกษาไปศึกษาหาความรูตอในวิชาการขั้นสูง ในประเทศตาง ๆ เพื่อทจ่ี ะไดน ําความรูนั้น ๆ กลับมาใชพัฒนาประเทศชาติใหเจริญกาวหนาตอไป พระองค ทรงมพี ระราชดําริใหจัดทาํ สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน เพ่ือใชสําหรับศึกษาหาความรู พระราชกรณยี กจิ ดา นความสัมพันธตางประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ไดเสด็จพระราชดําเนินเยอื นประเทศตา ง ๆ หลาย ประเทศ ท้ังในทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อเปนการเจริญทางพระราชไมตรีระหวาง ประเทศไทย กบั บรรดามิตรประเทศเหลานนั้ ใหแนนแฟน ยงิ่ ข้นึ พระราชกรณยี กิจดา นภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระอัจฉริยภาพดานภาษาและวรรณกรรม ส่ิงทแ่ี สดงใหเ ห็นถึงพระอจั ฉริยะดา นวรรณศิลปของพระองคอยางสมบูรณ คือ พระราชนิพนธเรื่อง พระมหาชนก ซง่ึ พระองคท รงพระราชนพิ นธทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเลมเดยี วกัน พระราชกรณยี กจิ ดานวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1. โครงการฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงคนหาวิธีการชวยเหลือภัยแลงใหกับ พสกนิกรโดยการนาํ เทคโนโลยีสมยั ใหมมาประยุกต กับทรัพยากรที่มีอยูใหเ กดิ มีศกั ยภาพของการเปนฝนใหได “ฝนหลวง” หรอื ฝนเทียม 2. โครงการแกมลงิ กักตนุ แลวระบายนํ้าตามแรงโนม ถว ง มกี ารขุดคลองตาง ๆ เพือ่ ชกั นํา้ มารวมกันไวเ ปนบอพักท่เี ปรยี บไดก ับแกมลิง แลวคอย ๆ ระบายนาํ้ ลง ทะเลเมือ่ นํ้าทะเลลดลง จากการดาํ เนนิ โครงการไดชว ยแกป ญหานํา้ ทวมในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

73 3. กงั หันนํา้ ชัยพฒั นา ปน น้าํ เสียเติมออกซิเจน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดเกลาฯ ใหมูลนิธิชัยพัฒนาผลิต เครือ่ งกังหันนาํ้ ชยั พัฒนา ซ่งึ เปนเครอ่ื งกลเติมอากาศ เปน กงั หันนาํ้ แบบทุนลอยซ่ึงใชใ นการบําบัดนํา้ เสยี กงั หันนําชัยพัฒนา กังหันน้ําชัยพัฒนาไดรับสิทธิบัตรจากกรมทรัพยสินทางปญญา เม่ือวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2536 นับวา เปนสทิ ธิบัตรในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตรยิ พ ระองคแรกของไทย และครั้งแรกของโลก และถือวา วนั ท่ี 2 กมุ ภาพันธ ของทกุ ป เปน “วันนักประดิษฐ” 4. เขื่อนดนิ อางเก็บน้าํ ที่ไมใชคอนกรีต เปน แนวทางการพัฒนาแหลงนํ้าผวิ ดินตามแนวพระราชดําริ เข่ือนดนิ ไมเ พียงบรรเทาปญ หาขาดแคลนน้ํา หากแตยังปองกันนํ้าทวมไดอีกดวย อีกท้ังยังเปนแหลงเพาะพันธุสัตวน้ําขนาดเล็กอยางปลาและกุงนํ้าจืด ไดอีกดวย 5. ไบโอดเี ซลจากปาลม ประกอบอาหารสเู ช้ือเพลงิ เครื่องยนต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงเปน ผนู าํ ทางดานการพฒั นาพลงั งานทดแทน มีพระราชดํารดิ านการพัฒนานํ้ามันปาลมเพ่ือใชกับเครื่องยนตดีเซล การพัฒนาไบโอดีเซลจากน้ํามันปาลม ในช่ือ “การใชน้ํามันปาลมกลั่นบริสุทธิ์เปนเช้ือเพลิงสําหรับเครื่องยนตดีเซล” ไดจดสิทธิบัตรท่ีกระทรวง พาณิชย เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2544 อีกท้ังในป 2546 ทรงไดรับการทูลเกลาฯ ถวายรางวัลจาก “โครงการนาํ้ มนั ไบโอดีเซลสตู รสกัดจากนาํ้ มนั ปาลม ” ในงาน “บรัสเซลส ยูเรกา” ซง่ึ เปนงานแสดสงิ่ ประดิษฐ ใหมข องโลกวิทยาศาสตร ณ กรงุ บรสั เซลส ประเทศเบลเยียม จากพระอจั ฉริยภาพ และพระราชกรณยี กิจอนั ใหญห ลวงของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา- ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ท่ไี ดพระราชทานความรกั ความเมตตาแกอ าณาประชาราษฎร เพอ่ื ใหอาณาประชาราษฎร มีความสุข ทาํ ใหป ระชาชนคนไทยทกุ คน ทกุ หมูเหลา ตา งกส็ าํ นึกในพระมหากรุณาธคิ ุณอนั ลนพน ของพระองค และเทิดทนู พระเกยี รตคิ ณุ ท้ังในหมชู าวไทยและชาวโลกดวยการสดุดีและการทลู เกลา ฯ ถวายปรญิ ญากิตติมศกั ด์ิ เปนจาํ นวนมากทุกสาขาวชิ าการ

74 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร สาระสาํ คญั การศกึ ษาและทาํ ความเขาใจเกย่ี วกบั ทรพั ยากร ลกั ษณะอาชพี ปญหาและสาเหตุการวา งงานในทองถิน่ และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในสังคม ตลอดจนระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางความสัมพันธของระบบ เศรษฐกิจและความจําเปน ของการรว มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลกจะทาํ ใหผเู รียนสามารถบริหารจัดการ ทรพั ยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใชทรพั ยากรท่มี ีอยอู ยางจํากัดไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพและคมุ คา ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญ เศรษฐศาสตรในครอบครัวและชุมชนได 2. อธิบายความสัมพันธระหวางความตองการทรัพยากรทองถ่ินกับปริมาณและขอจํากัดของ ทรัพยากรในดา นตาง ๆ ได 3. ใชทรัพยากรบนพืน้ ฐานของความพอเพียงดานเศรษฐกจิ อยา งมคี ณุ ธรรม 4. นําระบบและวธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ ชกับชีวิตประจาํ วนั ไดอ ยางเหมาะสม 5. ใชท รัพยากรบนพน้ื ฐานของความพอเพียงดา นเศรษฐกจิ อยา งมคี ณุ ธรรม 6. อธบิ ายระบบการพ่งึ พาการแขง ขันและประสานประโยชนใ นทางเศรษฐกจิ ไดถกู ตอ ง ขอบขา ยเนอื้ หา เรอื่ งท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชมุ ชน เรอ่ื งท่ี 2 กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เรอื่ งท่ี 3 คณุ ธรรมของผผู ลติ ผบู รโิ ภค เรื่องที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มในทอ งถิน่ และชมุ ชน

75 เร่ืองท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครัวและชุมชน คนทว่ั ไปมกั จะเขา ใจกันวา เศรษฐศาสตร หมายถึง การใชป ระโยชนจากสนิ คา และบริการในการบําบดั ความตองการ หรือตอบสนองความพอใจของมนุษยเทาน้ัน เปนเร่ืองของความตองการที่จะบริโภค แตโ ดยทแี่ ทจริงแลว การบาํ บดั ความตองการ เพอื่ ใหไ ดรบั ความพงึ พอใจตอ งใหม ผี ลตามมาโดยเกิดคณุ ภาพชวี ติ ดังนั้น การบริโภคตองมีความหมายเพ่อื ใหไ ดค ุณภาพชีวิตดว ย การเรียนรูเศรษฐศาสตรเก่ียวของกับการศึกษาพฤติกรรมมนุษยในสังคมทางดานกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ การดํารงชีวิต และการศึกษาวิธีการนําเอาทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด เพ่ือบําบัดหรือตอบสนอง ความตอ งการใหเ กิดประโยชนแ ละใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ท้งั ในปจ จุบนั และอนาคต ความหมายและความสําคญั ของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการที่มนุษยเลือกใชวิธีการตาง ๆ ในการนําเอา ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูมาใชในการผลิตสินคา และบริการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อสนองความ ตอ งการและหาวธิ กี ารกระจายสินคา และการบรกิ ารไปสูประชาชนไดอ ยา งรวดเรว็ ความสําคญั ของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรมคี วามสําคญั ตอ มนษุ ยท กุ สถานภาพ เชน ผผู ลติ ผบู รโิ ภค เจา ของการผลิตหรือรฐั บาล ผบู รโิ ภคที่มีความรูทางเศรษฐศาสตร จะชวยใหรูขอมูลและเขาใจสภาวะเศรษฐกิจของประเทศและ ของโลก สามารถปรับตัวและวางแผนทางเศรษฐกิจของครอบครัวไดอยางเหมาะสมและเกิดประโยชน เชน การหารายไดท ี่สัมพันธก ับรายจาย การออมทรพั ย และการบริโภค เปน ตน ผูผลติ การมขี อ มูลสําหรับการวเิ คราะห การวางแผน การผลิต การบริการสินคา รวมท้ังการจัดสรร สนิ คาไปสูกลมุ เปา หมายอยางเปนระบบ มีคุณภาพและไดมาตรฐาน ซ่ึงเปนผลดีทั้งผูผลิตและผูบริโภค และ สามารถพัฒนาสินคา ใหเ ปน ทตี่ องการของผบู ริโภคมากข้นึ กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนบอกถึงความหมายของเศรษฐศาสตร และความสําคัญของเศรษฐศาสตร ตอการดาํ เนนิ ชีวิตของมนุษยม าพอเขา ใจ

76 เรอ่ื งที่ 2 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ การผลิต การผลิต หมายถงึ การทาํ ใหเกิดมีข้นึ ตามความตอ งการ โดยแรงคนหรือเครือ่ งจกั ร รวมถงึ วธิ กี าร อนื่ ๆ ทท่ี ําใหเ กดิ ขึ้น ปจจยั ในการผลติ สนิ คา และบรกิ าร สง่ิ ทมี่ ีความสาํ คัญในการผลิตสนิ คาและบริการ 4 ประการ ไดแก 1. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ สงิ่ ทีม่ ีคา ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เชน น้ํามัน แรธาตุ ทองคํา น้ํา ปา ไม และสมุนไพร เปน ตน 2. ทุน หมายถึง เงินหรอื ทรัพยส นิ เชน โรงงาน เครอ่ื งจกั รและอปุ กรณในการผลติ ท่ใี ชใ นการดาํ เนนิ กจิ กรรมเพื่อหาผลประโยชน 3. แรงงาน หมายถงึ ความสามารถและกิจกรรมทีค่ นในวัยทาํ งานกระทําในการทํางาน เพ่ือใหเกิด ประโยชนในทางเศรษฐกจิ 4. การประกอบการ หมายถึง ความสามารถของผูประกอบการในการนําทรัพยากรธรรมชาติ ทุน และแรงงานมารวมกันเพ่ือผลิตสินคา และบรกิ าร โดยไดรับคาตอบแทนเปนกําไร ปจ จยั ในการเพม่ิ การผลติ สินคาและบรกิ าร ส่ิงทท่ี ําใหผ ปู ระกอบการเพิม่ การผลติ สนิ คา และบรกิ ารใหม ีปริมาณมากยิ่งขึ้นอยกู บั ปจจยั ไดแ ก 1. ความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย หมายถงึ ปจจยั 4 คอื อาหาร เครอ่ื งนงุ หม ยารกั ษาโรคและ ท่อี ยูอาศัย สง่ิ เหลา น้เี ปนสง่ิ ท่มี นุษยต อ งการในการดาํ รงชีวติ 2. การโฆษณาชวนเชื่อ ผูประกอบการมักใชส่ือ เชน โทรทัศน วิทยุ และหนังสือพิมพ เปนตน เพ่ือทจ่ี ะแนะนําใหป ระชาชนไดรูจักสินคาและบริการในวงกวางมากข้ึน เพื่อกระตุนใหเกิดการ บริโภคสินคาและบริการเพ่ิมข้ึน 3. ประเพณี เปนสวนท่ีมีความสําคัญในการเพ่ิมผลผลิต เพื่อตอบสนองความตองการของบุคคล เชน ประเพณีเขาพรรษา ผูประกอบการจะเพิม่ ผลผลติ เทยี นจํานําพรรษาและประเพณสี งกรานต ผูประกอบการจะเพิม่ การผลติ นํา้ อบและแปง เปน ตน 4. สภาพสังคม เนือ่ งจากสภาพสังคมท่ีผูคนตองการความสะดวกสบายมากยิ่งข้ึน ผูประกอบการ จึงมีการเพ่ิมการผลิตสินคาเพ่ือตอบสนองความตองการ เชน รถยนต เครื่องปรับอากาศ เคร่อื งซักผา เตารดี และตเู ยน็ เปนตน แรงจงู ใจในการผลิตสนิ คา 1. การเพม่ิ ข้นึ ของประชากร เมื่อประชากรเพิ่มข้นึ ความตองการบริโภคสินคาและบริการยอม เพมิ่ ขึน้ ดังนั้น ผูประกอบการยอมตอ งผลติ สินคา มากขึ้น เพอ่ื ตอบสนองความตองการ

77 2. การจัดสรรทรัพยากร เปนการนําทรพั ยากรที่มีอยอู ยา งจาํ กัดมาทําใหเกิดประโยชนสูงสุดใน การผลิตสินคา และบริการ 3. การกระจายทรัพยากร เปนการนําทรัพยากรจากแหลงที่มีอยูมากไปสูแหลงที่มีอยูนอย โดยผูประกอบการตอ งคํานึงถงึ ประโยชนสูงสดุ และเหมาะสมมากท่สี ดุ การใชทรพั ยากรในจังหวดั และภูมิภาคของตน การที่ผูป ระกอบการนําทรัพยากรในพื้นที่มาใชในการผลิตสินคา เน่ืองมาจากสาเหตุหลายประการ ดงั น้ี 1. การใชท รัพยากรในพืน้ ท่ีมาผลติ สนิ คา ทําใหล ดตน ทนุ ในการขนสง อีกทัง้ ประหยัด เวลาอกี ดวย 2. ทําใหสนิ คามรี าคาถูกลง เนอื่ งจากตนทุนมรี าคาตํ่า 3. เกิดอาชพี ขึ้นภายในทอ งถ่นิ การบริโภคและการบริการ การบริโภค หมายถึง การใชสินคาและบริการของประชาชน การบริโภค สามารถแบงออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. การบรโิ ภคสินคาท่ีไมคงทน คือ สินคาที่ใชแลวหมดไป เชน อาหาร ยารักษาโรค เคร่ืองดื่ม ปากกา ยางลบ สมดุ และดินสอ เปนตน 2. การบริโภคสินคาท่ีคงทน คือ สินคาท่ีใชแลวยังคงอยู เชน โตะ เกาอ้ี รถยนต เสื้อ กางเกง กระเปา และรองเทา เปนตน หลักเกณฑใ นการเลอื กซ้ือสนิ คา 1. ความจําเปน พจิ ารณาวา สินคาชนิดนน้ั มีความจําเปนตอการดาํ รงชวี ติ หรอื ไม 2. คุณภาพ เปนส่ิงท่ีมีความสําคัญอยางย่ิงในการเลือกซื้อสินคา โดยเลือกสินคาท่ีมีคุณภาพดี เหมาะสมกับราคาและปรมิ าณ 3. ราคา เปน สว นหน่งึ ในการเลือกซ้ือ โดยเฉพาะสินคาชนดิ เดยี วกนั คณุ ภาพเทากันและปริมาณ เทากัน ดังน้นั ราคาจึงเปนหลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาสนิ คา อยา งหนง่ึ การบริการ หมายถึง การปฏิบัติเพื่อใหความสะดวกสบายในดานตาง ๆ เชน การขึ้นรถโดยสาร การตัดผมและการเลนเครอื่ งเลนในสวนสนกุ เปน ตน ตลาด ตลาด หมายถึง สถานท่ีท่ีเปนแหลง ชุมนุมของผูคา เพือ่ จาํ หนายสินคาประเภทตาง ๆ ลักษณะของ ตลาดแบง เปน 2 ประเภท ไดแ ก

78 1. ตลาดแขงขันสมบูรณ หรือตลาดเสรี หมายถึง ตลาดท่ีมีการแขงขันสูง มีผูซ้ือและผูขาย จํานวนมาก ราคาของสินคาเปนไปตามกลไกตลาด และผูผลิตมีอิสระในการเขา – ออกใน ตลาดอยา งเสรี 2. ตลาดแขงขันไมสมบูรณ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 ตลาดผูกขาด คือ ตลาดที่มีหนวยธุรกิจเดียวในการจัดหาสินคาและบริการในตลาด ไมมคี ูแ ขง ทางการตลาดเลย 2.2 ตลาดผูขายนอยราย คือ ตลาดท่ีมีหนวยธุรกิจเพียง 3 – 4 รายในการจําหนายสินคา ชนิดเดยี วกันในตลาด ทําใหสามารถจาํ หนา ยสนิ คา ไดในจํานวนมาก เชน ผูผลิตรถยนต น้ําอัดลม ปูนซีเมนตและเหล็ก เปนตน 2.3 ตลาดกึง่ แขง ขันกงึ่ ผูกขาด คอื ตลาดที่มผี ูขายจาํ นวนมากแตมีสัดสวนในตลาดนอย เชน รา นตัดผม รา นอาหารและรานบริการซอ ม เปน ตน ปจ จยั ทก่ี าํ หนดโครงสรา งทางการตลาด 1. จาํ นวนผผู ลิตในตลาด 2. สภาพภูมิศาสตร 3. ความสามารถของสนิ คา ในตลาดทส่ี ามารถใชท ดแทนกนั มีมากนอ ยเพียงใด การแขง ขัน การแขงขัน หมายถึง การตอสูระหวางผูผลิตที่ผลิตสินคาในลักษณะเดียวกัน เพื่อจําหนายใหแก ผบู รโิ ภคในปรมิ าณทมี่ ากขน้ึ โดยอาศยั ปจจัยตาง ๆ ไดแ ก 1. เทคโนโลยี หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตรทีน่ ํามาใชในการผลติ สินคาเพ่ือใหไดสินคา ทม่ี ีคณุ ภาพดขี ้ึน แตร าคาถูกลง โดยเทคโนโลยแี บงออกเปน 2 ลักษณะ คือ - เทคโนโลยที างการเกษตร เปน การนําวทิ ยาศาสตรมาพัฒนางานดา น การเกษตรต้ังแตวิธกี ารผลิต เชน การไถนา การเก่ยี วขาวและวิธีการรดนาํ้ เปนตน การขยายพันธุ คณุ ภาพและปริมาณของผลิต รวมถึงการใชยาปราบ- ศัตรูพชื - เทคโนโลยีดานอุตสาหกรรม เปน การนําเคร่อื งจกั รมาใชแ ทนแรงงานคน เพอ่ื ใหไ ดสินคาทรี่ วดเรว็ มปี รมิ าณมากและมมี าตรฐานเทา เทยี มกนั ซงึ่ ทาํ ใหสนิ คา มรี าคา ถกู ลงและคณุ ภาพดีข้ึน 2. การเลือกใชท รัพยากรทอ งถิ่น เปนการลดตนทุนการผลิต อีกท้ังยังเปนการเพิ่มรายไดใหกับ ทองถ่ินของตนเอง เชน ภาคใตมีแรบุกจํานวนมาก ทําใหเกิดโรงงานถลุงแร และการทํา โรงงานนาํ้ ปลาใกลก ับชายฝง ทะเลท่มี ีการจบั ปลากนั มาก เปนตน

79 ประโยชนของการแขง ขนั 1. ทาํ ใหเ กิดสินคาชนดิ ใหมในตลาด เพ่อื ตอบสนองความตอ งการของผบู รโิ ภค 2. ทาํ ใหส ินคามรี าคาถูกลง แตค ุณภาพดขี น้ึ 3. มสี นิ คาใหเ ลือกมากขนึ้ สถาบนั การเงนิ สถาบันการเงิน หมายถงึ องคกรท่ีดําเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ การเงินและการใหสินเชื่อเปนตัวกลาง ในการเช่ือมโยงผูออมเงนิ กบั ผูตองการกเู งนิ หนาท่ีของสถาบนั การเงนิ ในท่ีนข้ี อกลา วถึงหนา ทีข่ องสถาบันการเงนิ ประเภทธนาคารพาณิชยเ ทา น้นั สวนสถาบนั การเงินเฉพาะ อยา งกจ็ ะมีหนา ทเ่ี ฉพาะขององคก รแตกตางกนั ไป หนา ทหี่ ลักของธนาคารพาณิชย มดี ังนี้ 1. บริการรบั ฝากเงินสาํ หรบั ผูมเี งินออม โดยผอู อมเงินจะไดรบั ดอกเบีย้ ตอบแทน บริการรบั ฝาก เงนิ มหี ลายลกั ษณะ ไดแก เงินฝากกระแสรายวนั เงินฝากออมทรพั ย เงนิ ฝากประจํา 2. บริการสนิ เชอื่ โดยแบง ประเภทสนิ เชือ่ ไดด งั นี้ - เงนิ กทู ่วั ไป โดยนาํ หลกั ทรัพยห รอื เงนิ ฝากมาคา้ํ ประกัน - เงนิ กเู บกิ เงินเกินบญั ชี โดยนําหลักทรพั ยหรอื เงินฝากมาทาํ วงเงินคํ้าประกนั การเบิกเงินเกนิ บัญชี - รบั ซือ้ ต๋ัวเงินทมี่ กี าํ หนดระยะเวลา 3. บรกิ ารอืน่ ๆ เชน - ใหบริการในดา นเปน ตวั แทนของลกู คา เชน ชวยเก็บเงินตามเช็ค ต๋ัวเงินและ ตราสารอ่ืน ๆ ชวยเกบ็ และจา ยเงินประเภทอน่ื ๆ เชน คา เชา คาดอกเบีย้ คาไฟฟา คานา้ํ ประปา คา ภาษหี รอื คา ธรรมเนียมใหแกหนว ยงานราชการตาง ๆ และชวยเปน ตัวแทนรฐั บาลในการขายพันธบตั ร ต๋ัวเงินคลงั เปนตน - ใหบรกิ ารชว ยเหลอื ดา นการคาและการชาํ ระเงนิ ระหวา งประเทศ กิจกรรมที่ 2 ผเู รยี นมีหลักในการเลือกซอื้ ของใชอ ยางไรบาง จดั ลําดบั ใหเ หน็ ความสาํ คญั มาประกอบดว ย

80 สหกรณ สหกรณ หมายถึง การรวมกลุมกันของคณะบุคคลเพ่ือดําเนินกิจการตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงค ชวยเหลอื ซ่ึงกันและกนั ระหวางสมาชกิ และไดจ ดทะเบียนเปนสหกรณต ามกฎหมาย หลักการของสหกรณ 1. เปดรบั สมาชกิ ตามความสมคั รใจ เขามาเปน สมาชกิ ดวยความเต็มใจ 2. เปด รบั สมาชิกโดยไมจ าํ กดั เชือ้ ชาติ ศาสนา หรอื ฐานะทางสงั คม 3. ดาํ เนินการตามหลกั ประชาธปิ ไตย คอื สมาชิกมีสทิ ธิแสดงความคิดเห็นและมีสทิ ธิออกเสยี ง 4. สหกรณตอ งจดั สรรผลประโยชนใหแกสมาชิกในรปู ของเงินปนผลจากหุน สวนทส่ี มาชกิ มอี ยู 5. เจาหนาที่และสมาชิกของสหกรณมีสิทธิ์ในการรับทราบขอมูลที่เปนประโยชนตอการพัฒนา กิจการสหกรณ 6. เจาหนา ทีแ่ ละสมาชิกสหกรณค วรหาความรูใหม ๆ และแลกเปลีย่ นความรูระหวางกัน เพ่ือนํามา พฒั นากจิ การของสหกรณ ระเบียบการจดั ตงั้ สหกรณ 1. กาํ หนดชอื่ และประเภทของสหกรณ 2. กําหนดวัตถปุ ระสงคของการจดั ตัง้ สหกรณ 3. ตอ งมคี ณะบคุ คลตงั้ แต 10 คนขนึ้ ไป 4. ตอ งจดทะเบยี นจดั ต้ังสหกรณตามพระราชบัญญัตสิ หกรณ พ.ศ. 2511 5. ตองดําเนนิ การตามหลกั การของสหกรณ วิธีการจดั ตั้งสหกรณโรงเรยี น 1. จดั ประชุมเพ่อื เชิญชวนใหผสู นใจเขา รวมเปน สมาชิก โดยช้ีแจงขอดี ขอเสีย รวมถึงผลประโยชน ในการเขา เปนสมาชิกของสหกรณ 2. แตง ตั้งคณะบุคคลเพ่ือดําเนนิ การจัดตง้ั สหกรณ 3. กําหนดระเบียบเก่ยี วกับสมาชกิ ราคาหุน เงนิ ปน ผล และระเบยี บขอ บังคบั ตาง ๆ 4. เปดรบั สมัครสมาชกิ ทสี่ นใจ 5. จัดประชุมสมาชกิ ท้งั หมดเก่ยี วกบั วิธกี ารดาํ เนินงานของสหกรณ วิธกี ารจดั ต้งั สหกรณขน้ึ ในชมุ ชน 1. ขน้ั เตรียมการ - สํารวจความพรอมของบุคลากรภายในชมุ ชน - จัดหาสถานทีใ่ นการจดั ตั้งสหกรณ - แตงตงั้ คณะผูดาํ เนนิ งานจดั ตั้งสหกรณ

81 - คนควาหาความรเู ก่ียวกบั การดําเนินกจิ การสหกรณและหลกั การในการจัดตัง้ - กาํ หนดระเบยี บ ขอบังคับ และกฎเกณฑก ารรบั สมาชิก ราคาหุน วัตถปุ ระสงค และวิธกี ารดําเนินงานของสหกรณ 2. ข้ันดําเนนิ การจัดตงั้ - เปดรบั สมาชิกสหกรณ - ประชมุ สมาชิกเพอ่ื แตง ต้งั คณะกรรมการดําเนนิ งาน 3. ขัน้ ตอนดาํ เนินกิจการ - คณะกรรมการตองดําเนินกจิ การของสหกรณใ หเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงค หลักการและระเบยี บขอบงั คบั ของสหกรณ ประโยชนข องการจดั ต้ังสหกรณ 1. สมาชิกของสหกรณส ามารถซอื้ สินคา ไดในราคาที่ถูกลง 2. การรวมตัวกันทาํ ใหเ กดิ การชวยเหลอื ซ่ึงกนั และกันในหมสู มาชกิ 3. สมาชิกไดรบั ประโยชนจ ากเงินปนผล 4. สง เสริมใหเ กดิ ความสามัคคขี ้ึนในชุมชน 5. เปนแหลง เงนิ กขู องสมาชิก 6. ทําใหเกิดการเรียนรกู ารดาํ เนินธุรกจิ ในรปู แบบหนึง่ ซงึ่ สามารถนําไปปรบั ใชใ นการทาํ ธรุ กจิ รปู แบบอืน่ ได ภาษี ภาษี หมายถงึ เงินที่รัฐหรอื ทอ งถ่นิ เรียกเกบ็ จากบคุ คล เพ่ือใชจ ายในการบรหิ ารประเทศหรือทองถ่ิน ภาษถี อื วา เปน รายไดสาํ คญั ของรฐั ทน่ี าํ มาใชจา ยดานตา ง ๆ การเสียภาษจี ะคดิ ตามปภ าษี เรม่ิ ต้ังแต 1 เมษายนปน้ี – 31 มีนาคมปถัดไปของทุกป การหลีกเล่ียง ไมเสียภาษีตองเสียคาปรับหรืออาจถูกจําคุกได การเสียภาษีเปนส่ิงควรทําเพราะเงินภาษีถูกนําไปใชในการ พัฒนาประเทศ ประโยชนข องภาษี 1. ใชในการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เชน สรางถนน สรางโรงพยาบาล สรางโรงเรียนและ กอสรา งสงิ่ ตา ง ๆ อนั เปนประโยชนแกป ระชาชนสวนรวม เปน ตน 2. ใชเ ปนเงนิ เดือนขา ราชการประจาํ และขา ราชการการเมอื ง ซึ่งใหบ รกิ ารประชาชนในดา นตาง ๆ

82 ลักษณะของการจดั เกบ็ ภาษี แบงออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก 1. ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่รัฐเรียกเก็บโดยตรงจากบุคคลผูมีรายได เชน ภาษีเงินได เปนตน 2. ภาษที างออ ม คอื ภาษีท่ผี ูเสียภาษีผลกั ภาระใหผอู ่นื จายแทน เชน ภาษีมลู คา เพ่มิ ซ่งึ ผูซื้อสินคา หรือบริการ เปน ผูจา ยแทนผูประกอบการ เปนตน ประเภทของภาษี 1. ภาษีเงินได เปนภาษีท่เี รียกเก็บจากบคุ คลท่ีไดรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอยางอ่ืน ซึง่ อาจคาํ นวณเปนเงนิ ได แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแก - ภาษเี งนิ ไดบ ุคคลธรรมดา เปนภาษที ีร่ ัฐเรียกเก็บจากบุคคลท่ีมีรายได เชน ขาราชการ พนกั งานบรษิ ทั และพนักงานรฐั วิสาหกจิ เปนตน - ภาษเี งินไดนิติบุคคล เปนภาษีที่รัฐเรียกเก็บจากผูประกอบการท่ีเปนกลุมบุคคลหรือ องคกร เชน บรษิ ทั หา งหนุ สว น เปนตน โดยคิดภาษีจากกาํ ไรทไี่ ดร บั 2. ภาษบี าํ รุงทองท่ี เปนภาษีทีเ่ จาของทดี่ นิ ตองเสียเปนรายปจากราคาปานกลางของที่ดิน ตามที่ทางราชการไดกาํ หนดไว เพ่อื ใหเปน รายไดข ององคการบรหิ ารสวนทอ งถ่ินซ่ึงที่ดิน อยูใ นเขตนนั้ 3. ภาษโี รงเรอื นและท่ีดิน เปนภาษีที่รัฐเรียกเก็บจากผูท่ีมีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินและโรงเรือน รวมถึงสิ่งปลูกสรางอ่ืนบนท่ีดินที่ใหเชา ประกอบธุรกิจการคาหรือผลประโยชนอื่นใด ที่เจา ของไดร ับตอบแทนตองเสียภาษีเปน รายปต ามทีร่ ฐั กําหนด 4. ภาษมี ูลคาเพ่ิม เปนการเรียกเก็บภาษีทางออมท่ีรัฐเรียกเก็บจากบุคคลที่ซ้ือสินคาหรือ บรกิ ารโดยจดั เกบ็ เฉพาะมูลคา สว นทเี่ พม่ิ ขนึ้ ในแตละข้ันตอนของการผลิต การจําหนาย หรือการใหบ ริการ 5. ภาษสี รรพสามติ เปนภาษีที่กรมสรรพสามิตเรียกเก็บจากสินคาท่ีผลิตหรือนําเขา และ การใหบ ริการในทางธุรกิจตามที่กฎหมายกําหนด เชน ภาษีสุรา ภาษีบุหร่ี ภาษีกิจการ สถานบนั เทงิ และภาษีรถยนต เปนตน กจิ กรรมที่ 3 ผเู รียนสาํ รวจชมุ ชนของตนเองวา มสี ถาบนั การเงินทมี่ บี ทบาทหนาทใี่ หก ารออม และการใหส นิ เช่อื หรอื ไม อยา งไร อธบิ ายมาพอเขาใจ กจิ กรรมที่ 4 ผูเ รยี นเปน สมาชิกกลมุ สหกรณใ ดหรอื ไม หากเปน สหกรณดงั กลาวมวี ัตถปุ ระสงค และการดาํ เนนิ งานอยางไร อธบิ ายมาพอเขา ใจ กิจกรรมท่ี 5 การเกบ็ ภาษีอากรในประเทศไทย มหี นวยงานใดรบั ผิดชอบจดั เกบ็ บา งและจัดเกบ็ ภาษีอากร ประเภทใด อธิบายมาพอเขา ใจ

83 เร่อื งท่ี 3 คุณธรรมของผูผลิตและผูบ รโิ ภค ความหมายของผผู ลติ ผูผ ลติ หมายถึง ผผู ลิตสนิ คาและบรกิ าร โดยการนําปจจัยการผลิตมาแปรรูปเปนสินคา เชน นําองุน มาทําเปนไวน นาํ ขาวสาลีมาทําเปน ขนมปง นําถัว่ เหลอื งมาสกดั เปนนํ้ามัน หรอื สรางบรกิ ารในรปู แบบตา ง ๆ เชน บรกิ ารขนสง บริการความบันเทิงตาง ๆ เปน ตน ความหมายของผบู รโิ ภค ผูบริโภค หมายถึง ผูใชประโยชนจากสินคาและบริการ ซ่ึงอาจจะเปนการบริโภคโดยตรง เชน การดม่ื การรบั ประทาน การใชสินคาหรอื การบรโิ ภคทางออ ม เชน การใชน ํา้ มนั ในการขบั รถยนต การใชไฟฟา ในเคร่อื งใชไฟฟา ตาง ๆ เปนตน ความสัมพนั ธของผผู ลิตและผบู รโิ ภคสนิ คาและบรกิ าร ในระบบเศรษฐกิจ บุคคลคนหนึ่งอาจทําหนาท่ีเปนเพียงผูบริโภค เปนเพียงผูผลิตเปนเพียงเจาของ ปจ จัยการผลติ หรอื เปนทงั้ ผูบริโภคและผูผ ลติ เปนท้งั ผบู ริโภคและเปน เจาของปจจัยการผลติ หรือเปนทั้งสาม ประการก็ได ผบู ริโภคทาํ หนาที่วินิจฉัยและตดั สนิ ใจวา จะบรโิ ภคสินคา และบริการอะไรที่ตองการ เพื่อแสวงหา ความพงึ พอใจใหม ากท่ีสุด เมื่อตัดสินใจเลือกประเภทของสินคาและบริการท่ีจะบริโภคหรือใชแลว ผูบริโภค ก็ตองมาคิดวา จะมปี จจัยทางดานการเงนิ ทจี่ ะนํามาซอ้ื สนิ คาและบรกิ ารเหลานั้นหรือไม หนทางหน่งึ ทผี่ บู ริโภค จะไดเงนิ มาใชจา ยกค็ ือ จากกําไรที่ไดใ นฐานที่ทําหนา ที่ผผู ลติ สินคาหรือจากผลตอบแทนของการเปนเจาของ ปจจัยการผลิตแลวขาย หรือใหเชาปจจัยการผลิตท่ีตนมีหรือครอบครองอยู ดังนั้น ผูบริโภคทุกคนจึงตอง ทาํ หนา ทเี่ ปนผูผ ลติ หรอื เปนเจาของปจจัยการผลติ หรอื เปน ทัง้ สองอยา งไปในตัว ในฐานะที่เปนผูผลิต บุคคลตองมีหนาที่ในการนําเอาปจจัยการผลิตตาง ๆ ท่ีอาจไดจากการ ครอบครองของตนหรือไดจ ากการหาซ้ือหรือเชาซื้อจากบุคคลอื่นมาผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปหรือบริการแลว ขายหรือมอบใหแกผ ูบ รโิ ภค ดงั นน้ั หนาที่สาํ คญั ของผูผลิตก็คือ การผลิตสินคาและบริการตามความตองการ ของผูบริโภคดวยตนทุนการผลิตท่ีตํ่าท่ีสุด เพ่ือใหสามารถขายสินคาและบริการเหลานั้นในราคาที่ต่ํากวา คแู ขงขันรายอน่ื ๆ การผลิตสินคาและบริการนบ้ี างคร้ังผผู ลิตตองเส่ียงตอการขาดทนุ ถา ตน ทนุ การผลติ สงู กวา รายรับที่ไดจากการขายสินคาและบริการนั้น ดังน้ัน ผูผลิตจึงตองมีการวางรูปแบบของการดําเนินการที่ดี เพอ่ื หลีกเลีย่ งการขาดทุนและเพอ่ื ใหไดกาํ ไรคุมกบั ความเหนอ่ื ยยากและความลําบากตลอดจนการลงทนุ ของตน ในฐานะทีเ่ ปน เจาของปจ จัยการผลิต บคุ คลจาํ ตอ งนําเอาปจจัยการผลิต ซ่ึงไดแก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และการประกอบการไปเสนอขายหรือใหบริการแกผูผลิต เพื่อนําไปผลิตสินคาและบริการตาง ๆ เม่ือผูผลิต ตกลงรบั ซือ้ นําเอาปจจัยเหลา นั้นไปผลิตกจ็ ะใหผลตอบแทนแกเ จา ของปจจัยการผลิตในรูปของคาเชา คาจาง ดอกเบ้ยี และกําไร ซง่ึ เจาของปจ จยั การผลติ กจ็ ะนาํ เอาผลตอบแทนซงึ่ อยใู นลักษณะตา ง ๆ กันไปใชจายหาซ้ือ สินคาตาง ๆ เพ่อื การอุปโภคและบริโภค บางครั้งเจาของปจจัยการผลิตอาจทําหนาที่เปนผูผลิตเองโดยการ นาํ เอาปจจยั การผลิตทตี่ นมอี ยูไปใชผลติ สินคา และบรกิ ารตาง ๆ

84 คณุ ธรรมของผผู ลติ ผูผลิตสินคา และบรกิ าร ควรมคี ณุ ธรรมพืน้ ฐานในการดําเนนิ การ เพื่อสรางความเช่ือมน่ั ใหกับผบู ริโภค และเพือ่ ผลประโยชนของผผู ลิตในระยะยาว ดงั นี้ 1. ผูผ ลิตตอ งไมทําในส่งิ ที่ไมถกู ตอง การทําใหผบู ริโภคไดร บั อนั ตรายจากการใชสินคา หรือบริการของตนเองเปน สงิ่ ท่นี าละอายและขาดความรบั ผิดชอบ ผูผลิตควรละเวนและตอ งไมก ระทํา 2. ผผู ลติ ตองพัฒนาคณุ ภาพสินคา อยูเสมอ ผผู ลติ ตองถอื วาเปนความจาํ เปน ที่จะตองพัฒนา สินคา ใหไดม าตรฐาน โดยการนําสินคาของตนไปตรวจสอบคุณภาพกอนที่จะนําไปจําหนายแกผูบริโภค เชน นําสนิ คา ไปตรวจสอบท่สี ํานกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอตุ สาหกรรม (มอก.) เพือ่ เปน หลักประกนั แกผบู รโิ ภค 3. ผผู ลติ ตอ งรกั ษาความซอ่ื สตั ยตอผบู ริโภค การผลิตสินคา ทไ่ี ดม าตรฐานเดียวกันหมด เปน สิง่ ท่ีสาํ คัญ เปน การสรางความเชอื่ มัน่ และศรทั ธาในสินคาและถอื วาแสดงความซอ่ื สตั ยต อ ผูบรโิ ภค 4. การรักษาสภาพแวดลอม ผผู ลติ ตอ งถอื เปน หนา ทแี่ ละความรับผดิ ชอบตอ การรกั ษา สภาพแวดลอ มมิใหถ ูกทาํ ลาย รวมทง้ั ตอ งอนรุ กั ษส ิง่ แวดลอ มใหค งอยตู อไป เชน จัดสภาพแวดลอมโรงงานให นาอยู สะอาด และถูกสขุ อนามัย จัดระบบการบําบัดนํ้าเสยี อยางดี เชน มีการปลกู ตน ไมและจัดกิจกรรมสงเสริม การอนรุ ักษส ภาพแวดลอ มใหดีขน้ึ คณุ ธรรมของผบู ริโภค คุณธรรมของผูบริโภคเปนหลักการในการเลือกบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ ผูบริโภคควรปฏิบัติ โดยคาํ นงึ ถงึ หลักการ ดงั น้ี 1. ความจาํ เปน หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคในสิ่งจาํ เปน เชน ดา นปจจัยส่ี ซง่ึ ประกอบดว ย เส้อื ผา ยารักษาโรค อาหาร ทอ่ี ยูอาศัยในปริมาณที่พอเพียงตอการดํารงชีวิตประจําวัน ไมควรบริโภคอุปโภค สนิ คา และบรกิ ารในปริมาณท่มี ากเกินไป เพราะกอใหเ กดิ ความสนิ้ เปลอื งของสังคมและเปน ผลเสียตอ สขุ ภาพ 2. ความมปี ระโยชนและความปลอดภัย หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคในสิง่ จําเปน ทีก่ อใหเ กดิ ประโยชน เชน มนุษยควรรับประทานอาหารเพื่อประทังชวี ติ โดยตองคาํ นงึ ถงึ คุณคา ของสารอาหารดวย ไมควร ซ้ือสินคา และบริการดว ยเหตุผลท่ีวา ราคาถกู 3. ความประหยดั หมายถึง การบริโภคอุปโภคโดยการใชจ า ยใหเ หมาะสมกบั ฐานะทาง เศรษฐกจิ ของตน ไมฟมุ เฟอย ไมท้งิ ขวาง ไมเลียนแบบการบริโภคของบุคลอื่น ซึ่งมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวา ท่ีอาจนิยมบรโิ ภคอุปโภคสนิ คา และบริการท่ีมีราคาแพงและไมบริโภคตามการโฆษณา หลักการความจําเปน หรือความพอเพียง ความมปี ระโยชน ความปลอดภัยและความประหยัดเปนส่ิงท่ีเกิดข้ึนพรอม ๆ กัน ซ่ึงเปน หลักการทีส่ ามารถเกดิ ข้ึนไดเ สมอ ถา บุคคลใชส ตแิ ละปญญาไตรตรองกอนที่จะตัดสินใจบริโภคอุปโภคสินคา และบรกิ าร

85 กิจกรรมท่ี 1 การทผี่ ูผลิตและผบู รโิ ภคสินคา และบริการมีคณุ ธรรม มีประโยชนต อเศรษฐกจิ อยางไร บอกมา 3 ขอ กจิ กรรมที่ 2 หากผเู รียนมคี วามจําเปนจะตองใชส ินคาชนดิ หนงึ่ แตราคาสนิ คาชนดิ น้นั แพงมาก ผเู รยี นคดิ วา จะซอ้ื สินคานั้นหรือไม เพราะเหตใุ ด บอกมาใหเขาใจ เรือ่ งท่ี 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มในทอ งถนิ่ และชมุ ชน ทรัพยากร ความหมายของทรพั ยากร ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง ส่ิงมีคาท้ังปวง ซ่ึงอาจจะเกิดข้ึนเองหรือมีอยูตามธรรมชาติ และเกิดจากการท่มี นษุ ยสรา งหรอื ประดษิ ฐข้ึน ประเภทของทรพั ยากร ทรัพยากรแบง ออกเปน ประเภทตาง ๆ ดงั น้ี 1. ทรพั ยากรมนษุ ย หมายถึง บคุ คลหรือมนุษยใ นฐานะทเ่ี ปน แรงงานหรอื ผปู ระกอบการ ซง่ึ เปน สวนหนง่ึ ของกระบวนการผลติ และการพฒั นาประเทศในดานตาง ๆ 2. ทรัพยากรทไี่ มใชม นษุ ย ประกอบดว ย ก. ทรัพยากรท่ีมนุษยสรางขึ้น หมายถึง ทรัพยากรที่มนุษยสรางข้ึน เชน เครื่องจักร คอมพิวเตอร รถยนต รถจักรยาน บาน และเคร่อื งใชไมส อยตาง ๆ ข. ทรัพยากรธรรมชาติ ซงึ่ หมายถึง ทรพั ยากรท่เี กิดขึ้นเองหรอื มอี ยตู ามธรรมชาติ ซึ่งอาจแบง ยอ ยได 3 ประเภท ดังน้ี - ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใี่ ชแลว ไมหมดเปลอื งหรอื สญู หายไป ไดแ ก อากาศ นาํ้ ในวฏั จักรหมนุ เวียน - ทรพั ยากรท่ที ดแทนหรือรกั ษาไวไ ด เชน น้ํา (ทอ่ี ยูเฉพาะท่ีเฉพาะแหง ดิน ทด่ี นิ ปาไม ทุง หญา สตั วป า - ทรพั ยากรทไ่ี มเ พมิ่ ขนึ้ ใชแลวหมดไป เชน แรธ าตุ น้ํามัน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีทดแทนหรือรักษาไวไดและทรัพยากรธรรมชาติที่ไมเพ่ิมขึ้นใชแลวหมดไป ถือเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพราะถึงแมบางอยางจะสรางทดแทนหรือบํารุงรักษาได แตก็ตองใช ระยะเวลายาวนาน เชน ทรัพยากรปา ไม เปนตน

86 ภาวะวกิ ฤติทรพั ยากรธรรมชาติ ปจจุบันประเทศไทยประสบภาวะวกิ ฤตกิ ารณทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ เม่ือนํามาใชมากเกินไปโดยไมมีการสรางทดแทนก็จะทําใหเกิดการ สูญเสียหรือถกู ทําลายได เชน การตดั ถนน เพ่อื ใชในการคมนาคม การสรางเขื่อนเก็บน้ํา จะตองใชเนื้อท่ีและ บริเวณพ้ืนดินจํานวนมหาศาล ทําใหพ้ืนดินท่ีเปนปาไมถูกโคนทําลายลง ทําใหปาไมลดลง สัตวปาลดลง เกิดความแหง แลง ฤดกู าลผนั แปร ฝนตกไมตรงตามฤดกู าลหรอื ตกนอ ย มกี ารทําลายปาเพื่อการเพาะปลกู และ ใชสารเคมีในการเพาะปลูกเกินความจําเปน ทําใหดินท่ีอุดมสมบูรณ เสื่อมสภาพ เมื่อทรัพยากรเส่ือม สภาพแวดลอมกเ็ สอ่ื มสภาพไปดวย ลกั ษณะอาชพี ของครอบครวั ชมุ ชน ประเทศ ความหมายของอาชีพ อาชีพ หมายถงึ งานหรอื กจิ กรรมใด ๆ ทีก่ อ ใหเกดิ ผลผลติ ท่สี ามารถประเมินคาเปนเงินหรือ รายไดแ ละกิจกรรมนน้ั ตอ งสจุ รติ เปนท่ียอมรบั ของสงั คม ความสําคญั ของอาชีพ 1. ความสําคัญตอบุคคลและครอบครัว การท่ีมนุษยจะดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี ความสุขตามอัตภาพนั้น จําเปนตองประกอบอาชีพเพ่ือใหมีรายได เพื่อที่จะนําไปซื้อ เคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภค สงิ่ ของทีจ่ ําเปน ในการดาํ รงชวี ิตของตนเองและคนในครอบครวั 2. ความสําคญั ตอ ชุมชน ประเทศ ในระดับชุมชน อาชีพมีความสําคัญตอเศรษฐกิจภายใน ชุมชน ทําใหมีการใชทรัพยากรในทองถิ่น แกปญหาความยากจนของคนในชุมชน เมื่อประชาชนมรี ายไดยอมกนิ ดอี ยดู ี รางกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี สงผลตอการพัฒนา ชุมชน และในระดบั ประเทศ เมือ่ ชุมชนพัฒนาสังคมสวนรวมกจ็ ะเจรญิ กา วหนา ไปดว ย ประเภทของอาชพี อาชีพแบงไดหลายประเภท ดังนี้ 1. แบง ตามลักษณะอาชพี - อาชพี อิสระ หมายถงึ อาชีพทผ่ี ปู ระกอบการดําเนนิ การดว ยตนเอง อาจเปน ผผู ลติ สินคา หรอื เปนผบู ริการก็ได - อาชีพรับจา ง หมายถึง อาชีพทผ่ี ปู ระกอบการไมไดเ ปน เจา ของ แตไ ดร บั จา งจาก นายจางเปน ชว งระยะเวลา เชน รายชั่วโมง รายวัน รายเดอื น 2. แบงตามลักษณะรายไดและความมนั่ คง - อาชีพหลัก หมายถงึ อาชีพทีผ่ ูป ระกอบการใชเวลาสว นใหญใ นการประกอบการ - อาชพี รองหรอื อาชีพเสริม หมายถึง อาชีพที่ผูประกอบการใชเวลานอกเวลางานหลัก ดาํ เนินการ

87 3. แบงตามสาขาประกอบการ - อาชีพดา นอุตสาหกรรม เชน ชา งยนต ชา งไฟฟา ชางวทิ ยุ เปนตน - อาชีพดา นเกษตรกรรม เชน ทํานา ทาํ ไร เลี้ยงสัตว ทําการประมง เปน ตน - อาชีพดา นคหกรรม เชน ศลิ ปหัตถกรรม เชน ตดั เย็บเส้อื ผา ทําอาหาร ขนม เปน ตน - อาชพี ดา นพาณิชยกรรม เชน คา ขาย บัญชี เลขานุการ เปน ตน - อาชพี ดานอ่ืน ๆ เชน ดา นกีฬา ดานบันเทงิ ดนตรี นาฏกรรม เปนตน ปจจัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ การเปล่ยี นแปลงทางอาชพี ทาํ ใหเ กิดอาชีพใหม ทําใหเกิดการพัฒนาอาชีพหรือแมกระทั่งเกิดความเสื่อมทางอาชีพ มีหลายปจจัย ดงั น้ี 1. ความเจรญิ กาวหนา ทางเทคโนโลยี ความเปลย่ี นแปลงทางดานเทคโนโลยี ปจ จบุ นั วทิ ยาการไดเจรญิ กาวหนาไปอยางรวดเร็ว และเปน สาเหตทุ ําใหเ กดิ เทคโนโลยีใหม ๆ ตลอดเวลา ซ่ึงมีผลตอการเกิดการพัฒนาและการเส่ือมของอาชีพ เปนอยางยง่ิ เชน การนําเคร่อื งจักรมาใชแทนแรงงานคน การนาํ เทคโนโลยีทางการเกษตรมาใชในการเกษตร การนาํ คอมพวิ เตอรมาใชในสาํ นักงาน เปนตน 2. ความเปลี่ยนแปลงทางทรัพยากร ทรพั ยากรนับวา เปน ปจ จยั ในการผลติ เบื้องตนท่สี ําคัญ ซ่ึงกอ ใหเ กิดอาชีพ ทรัพยากรนั้น มมี ากมายและแตกตางกนั ไปในทองถิน่ เชน ปา ไม นํ้า แรธ าตุ นาํ้ มนั พืช ผัก และผลไม สัตวบก สัตวนํ้า ฯลฯ ทรพั ยากรมีการเปลย่ี นแปลงอยูต ลอดเวลา มที ั้งท่ีจํานวนลดลงอันเน่ืองมาจากมนุษยนําไปใชประโยชน มีท้ัง ทรัพยากรทเ่ี กิดขน้ึ มาใหม เชน นาํ้ มัน และกา ซธรรมชาติ เปน ตน 3. ความเปลยี่ นแปลงทางดา นการเมือง การเมอื งเปนปจ จยั สําคญั ในการลงทุน การทจ่ี ะมนี กั ลงทุนมาลงทุนมากหรือนอยขึ้นอยู กับสภาพทางการเมือง ถารัฐบาลมีเสถียรภาพมั่นคง ไมเปล่ียนแปลงรัฐบาลบอย ๆ ผูท่ีจะมาลงทุนใน อตุ สาหกรรมตาง ๆ ก็จะเกดิ ความมน่ั ใจท่จี ะมาลงทุน นอกจากน้ันนโยบายของรฐั บาลจะเปนตัวกําหนดอาชีพ ตา ง ๆ ไดเปน อยา งดี 4. ความเปลยี่ นแปลงทางสงั คม โดยเฉพาะการทมี่ ปี ระชากรเพม่ิ มากข้ึน ตองการส่งิ ของอปุ โภค บริโภคและส่ิงดาํ รงชวี ติ มี มากขนึ้ ทําใหเ กิดการลงทุนเพอื่ ผลิตสินคาและบริการมากขนึ้ ดวย

88 การสาํ รวจความพรอ มในการเลอื กประกอบอาชพี การทจี่ ะเลือกประกอบอาชีพใด ควรไดสาํ รวจความพรอ มทกุ ๆ ดา น ดังนี้ 1. ความพรอมของตนเอง แบง ไดด ังน้ี - สง่ิ ตาง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ งกับการประกอบอาชีพทต่ี นเองมอี ยูในขณะน้นั เชน เงินทุน ที่ดิน แรงงาน วัสดุเคร่ืองมือ เคร่อื งใช และอน่ื ๆ ทจี่ าํ เปนตอ การประกอบอาชีพท่กี ําลังตดั สินใจเลือก - ความรู ทักษะและความถนัดของตนเอง การท่ีจะประกอบอาชีพใหไดผลดีจะตอง พจิ ารณาถงึ ความรู ทกั ษะและความถนัดของตนเองดว ยเสมอ เพราะสิ่งเหลา นจี้ ะชวยใหการกระทําในสิ่งที่ตน ถนดั นั้น เปน ไปอยา งสะดวก รวดเรว็ คลอ งแคลว และมองเหน็ ชองทางทจ่ี ะพัฒนาอาชีพใหร ุดหนา ไดดีกวา คนที่ ไมม คี วามรู ทกั ษะและถนัดในอาชพี นัน้ ๆ แตตดั สนิ ใจเลือกประกอบอาชพี น้นั ๆ - ความรกั และความจริงใจ เปนองคประกอบที่เกิดจากความรูสึกภายในของแตละคน ซงึ่ ความรูส กึ นจี้ ะเปนแรงผลกั ดนั ใหเกิดการทํางานดวยความมานะ อดทน ขยัน กลาสู กลาเส่ียง ซึ่งถือวาเปน องคประกอบในการตัดสินใจที่สําคัญอยางหน่ึง หากการพิจารณาตัดสินใจมิไดคํานึงถึงส่ิงน้ีแลว การท่ีจะ ประกอบอาชีพไปไดอยา งเดด็ เดยี่ ว มนั่ คง และลดนอ ยลงไป 2. ความพรอมของสงั คม ส่ิงแวดลอม คอื ความพรอมของสิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตัวเราหรือ จะตองเขามาเกยี่ วขอ งที่จะสงผลดี ผลเสยี ตอการประกอบอาชีพของตน เชน ทําเล ตลาด สวนแบงของตลาด ทรัพยากรที่เอ้ือในทองถนิ่ แหลง ความรู ตลอดจนผลทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอชุมชน หากเลอื กอาชีพนัน้ ๆ 3. ความพรอมทางวิชาการของอาชีพ คือ ความพรอมของขอมูลความรูและเทคนิคตาง ๆ สาํ หรับการประกอบอาชพี นน้ั ๆ เชน การบํารงุ รกั ษาตน ออนพืช การฉีดยาฆาแมลงกอนเก็บเก่ียว การเคลือบ สารเคมี เปน ตน ปจ จัยสําคัญในการประกอบอาชพี 1. ทุน เปน ปจจยั ทส่ี ําคัญในการใหก ารสนบั สนนุ ในการจัดหาทรพั ยากรและเอื้ออํานวยในกิจการให ดาํ เนนิ ไปดวยความเรยี บรอย 2. คน เปน ทรัพยากรบคุ คลท่ถี ือไดวาเปน ปจ จยั ทม่ี คี วามสําคัญอยางยิง่ ที่จะกอผลสําเรจ็ กบั กจิ การได เปนอยางมาก 3. ท่ีดิน คือ แหลงหรือท่ีทํามาหากินของผูประกอบอาชีพอิสระจะเปนท่ีต้ังสํานักงานและบริเวณ ประกอบอาชพี 4. เครอ่ื งจกั ร เปนอุปกรณทจี่ ัดหามาเพ่ือใชปฏบิ ตั ิงานใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ และคุม คา 5. วัสดุ เปน ปจจยั สําคญั เพราะเปนวตั ถุดิบทจ่ี ะนาํ มาใชผ ลิตหรือใหบ รกิ าร วัสดุที่ใชตองมีคุณภาพดี และมปี รมิ าณพอ 6. การคมนาคม คือ เสนทางติดตอ ระหวางผดู ําเนนิ กจิ การกบั ผูม าใชบรกิ าร สามารถติดตอ ไดส ะดวก และปลอดภัย

89 7. การตลาด เปนแหลง ชวยกําหนดทิศทางความตองการของสินคา แลกเปลี่ยนสินคา การแขงขัน สนิ คา ดานคุณภาพและราคา 8. การจดั การ คือ การวางแผนการดําเนนิ การประกอบอาชีพอาชีพ เพ่ือใหเกิดผลดีอยางเหมาะสม คุมคา คุมเวลา คมุ ทนุ และหวงั ไดก าํ ไรสงู สุด เริ่มตน ต้งั แตก ารเลือกสิ่งท่ีจะผลิต จะบริการวิธีการ และการใชวัสดอุ ปุ กรณ 9. การประชาสัมพันธ เปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางย่ิงที่ผูประกอบอาชีพอิสระจะตองกระทํา เพือ่ เปนการบอกกลา วช้แี จงใหผูอ่นื ทราบวา เราดําเนินกจิ การอะไร อยางไร เมอื่ ไร ท่ีไหน หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง พอสรปุ สาระสาํ คัญ ๆ ไดด งั ตอไปนี้ 1. การพ่งึ ตนเอง หลกั เศรษฐกจิ พอเพียงมุง เนน การผลิตพชื ผลใหเพยี งพอกับความตองการ บรโิ ภคในครวั เรอื นกอ นทีเ่ หลือจากบริโภค จึงดําริเพื่อการคาเปนอันดับรองและสามารถพ่ึงตนเองได มีชีวิต อยางไมฟุงเฟอ ลดคาใชจาย โดยการสรางส่ิงอุปโภคบริโภคในท่ีดินของตนเอง เชน ขาว นํ้า ปลา พืชผัก เปน ตน 2. การรวมกลุมของชาวบาน หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงจะใหความสําคัญกับการ รวมกลุมของชาวบาน มุงเนนใหชาวบานรวมกลุมกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตาง ๆ อาทิเชน การทํา เกษตรแบบผสมผสาน รวมกลุมกันทําหัตถกรรม การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การใชภูมิปญญาจาก ทองถ่ิน การพัฒนาเทคโนโลยีพ้ืนบาน และเทคโนโลยีสมัยใหมที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการ และสภาพแวดลอ มของทองถนิ่ ตนเอง การรวมกลุมของชาวบานจะเปนการพัฒนาสมาชิกในชุมชน ใหมีการสรางเครือขาย ชุมชนท่ีเขมแข็ง สมาชิกในกลุมจะคอยใหคําแนะนําในการแกปญหาตาง ๆ และหาวิธีการใหสมาชิกภายใน กลุมมีรายไดจากการประกอบอาชีพเพ่มิ ขึน้ เมือ่ กลมุ ชาวบา นไดรบั การพัฒนาที่ดแี ลว ก็จะชวยใหสังคมเขมแข็งข้ึน เศรษฐกจิ ของประเทศก็จะเจริญเติบโตไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความม่ันคง ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว และมกี ารกระจายรายไดท ี่ดีขึน้ อีกดวย 3. ความเออ้ื อาทรและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการที่สมาชิก ของชมุ ชนมีความเอือ้ เฟอ เอ้อื อาทร ชวยเหลือและสามัคคี รวมแรงรวมใจ เพ่ือประกอบกิจกรรมหรืออาชีพ ตา ง ๆ ใหบ รรลุผลสาํ เรจ็ ยอ มเปนผลประโยชนต อ สวนรวมเปน สาํ คัญ สมาชิกของชุมชนสามารถอยูรวมกันได อยางมีความสขุ การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง เพือ่ ทีจ่ ะสามารถดาํ รงชีวิตไดอยางพออยูพอกิน เราควรที่จะปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี งดังนี้ 1. จะตอ งยดึ หลกั พออยู พอกนิ พอใช 2. มคี วามประหยดั โดยพยายามตัดทอนรายจายและลดความฟุมเฟอยในการดํารงชวี ิต

90 3. ประกอบอาชพี ดว ยความถกู ตองและสจุ รติ ไมป ระกอบอาชีพท่ผี ดิ ศีลธรรมและผดิ กฎหมาย 4. ไมค วรแกงแยงประโยชนและแขงขันในการประกอบอาชีพอยา งรุนแรง 5. รูจักแสวงหาความรูเ พม่ิ เตมิ และพยามยามพัฒนาตนเองใหม ีความรูความสามารถมากขึน้ แลวนาํ ความรู ความเขาใจทไ่ี ดร บั มาน้ันมาปรบั ใชใ นการดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั 6. ใชความรู ความสามารถมาพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อเปนการเพ่ิมพูนรายไดใหกับ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน 7. ชวยเหลือเกือ้ กลู ซ่งึ กันและกัน มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ และมีความสามัคคีในครอบครัว และชุมชน แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง เปนทางเลือกใหมของประชาชนชาวไทยเพื่อท่ีจะสามารถ ดาํ รงชีวติ แบบพออยพู อกนิ และสามารถพึ่งพาตนเองได เศรษฐกิจพอเพียง มีความสําคญั ตอ การพฒั นาประเทศ อนั จะนําไปสสู งั คมท่มี คี ณุ ภาพทง้ั ทางดา นเศรษฐกิจและสงั คม ดงั นั้น ประชาชนชาวไทยทุกคนควรนําไปปฏิบตั ิ อยางจริงจงั กองทนุ หมูบาน กองทนุ หมูบานไมใชบาน กองทุนหมูบานเปนอะไรท่ีใหญโตและมีคุณคายิ่งกวาเงินมากนัก กองทุน หมูบ านมีความหมายและมีความสําคัญยิ่ง กองทุนน้ีไมใชมีความหมายเปนเพียงแตเงินทุนของคนในหมูบาน เทาน้ัน แตกองทุนนี้เปนกองทุนของการดําเนินชีวิตของชุมชน ซึ่งประกอบดวยทุนท่ีเปนตัวของแตละคน ทนุ ทางสังคมทถี่ กั ทอคนแตล ะคนมาเปนกลมุ คนหรือสงั คมทุนทางวฒั นธรรม คอื วถิ ีชีวิตรวมกันของกลุมคนท่ี ประสานสอดคลองกับสิ่งแวดลอ ม ทนุ ทางศลี ธรรม หมายถึง ความถูกตองแหงการอยูรวมกัน เชน ความเอ้ือ อาทรตอ กัน ความเชื่อถอื และไววางใจกันในความสุจริต เสียสละ ทุนทางทรัพยากร เชน ดิน นํ้า ปา อากาศ ท่มี ีการอนรุ กั ษ มีการใชอ ยา งเปนธรรมและย่ังยืน ทุนทางปญญา ไดแก การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติและ นําเอาความรูท ่มี ีอยูในชุมชนและความรูจากภายนอกชุมชนมาสังเคราะหเปนปญญา ทุนท่ีเปนเงินที่ชวยกัน ออมไวเพื่อใหกระบวนการออมและการจัดการเปนเครื่องกระตุนและสิ่งเสริมทุนที่ไมใชเงิน (ประเวศ วะสี อางใน เสรี พงศพ ิศ, 2544) กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ ูเรียนสํารวจทุนในชุมชนของผเู รียนวามอี ะไรบา งและบอกดว ยวา จะนาํ ทนุ เหลานน้ั ไปใชใ หเ กิดประโยชน อยา งไร กจิ กรรมท่ี 2 ใหผูเรียนรวมกลมุ อภิปรายถงึ ความหมายและวิธีการดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงตามทผ่ี ูเรยี น เขา ใจ แลวสรุปสง มา 1 – 2 หนา กระดาษ กจิ กรรมท่ี 3 ใหผเู รยี นบนั ทกึ รายรบั – รายจายของผเู รยี นเอง โดยใชร ะยะเวลา 30 วนั และใหค ิดแบบบนั ทกึ (บัญช)ี ข้ึนเอง

91 บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง สาระสําคญั การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยเปนประมุขและรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จะทําใหผูเรียนสามารถปฏิบัติตนตาม หนา ทข่ี องพลเมอื งดี ตามกฎหมาย ประเพณี วัฒนธรรมไทยไดอ ยา งถกู ตอง สง ผลใหผ เู รยี นดาํ รงชีวิตอยูร ว มกนั ในชุมชน สงั คมไทย และสงั คมโลกไดอ ยา งเปน สุข ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง อธิบายขอมูลเก่ียวกับการเมือง การปกครองที่เกี่ยวของกับตนเอง ชุมชน ทองถิ่นและประเทศได ปฏิบัติตนตามบทบาทหนาที่และรักษากฎระเบียบภายใตรัฐธรรมนูญไดเห็นคุณคาของตนเอง เคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผอู ่นื ไดอยางถูกตอ ง เหมาะสม ขอบขายเนอื้ หา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของการเมืองการปกครอง เรือ่ งท่ี 2 โครงสรา งการบรหิ ารราชการแผน ดนิ เรอ่ื งท่ี 3 ความสมั พนั ธร ะหวา งอํานาจนติ ิบญั ญตั ิ อาํ นาจบริหาร อาํ นาจตุลาการ เรอื่ งที่ 4 การมสี วนรวมทางการเมอื ง การปกครองในระดบั ทองถน่ิ และระดบั ประเทศ

92 เรอื่ งที่ 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเมอื งการปกครอง ความเปนมาของรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดหรือเปนกฎหมายหลักของประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาอันประกอบดวยตัวแทนของประชาชน ดังนั้น รัฐธรรมนูญ จึงเปนกฎหมายท่ีประชาชนสวนใหญให ความเหน็ ชอบ ความสําคญั รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายหลักท่ีสําคัญที่สุด เปนเสมือนกฎหมายหรือกติกาท่ีประชาชนในสังคม ยอมรับใหเปนหลักในการปกครองและการบริหารประเทศ ซึ่งการออกกฎหมายใด ๆ ยอมตองดําเนินการ ภายในกรอบของบทบญั ญัติในรัฐธรรมนูญ กฎหมายใดท่ีขดั แยง ตอรัฐธรรมนญู จะไมส ามารถใชบงั คับได สาเหตุท่ีมีรัฐธรรมนญู ในประเทศไทย สาเหตทุ ส่ี าํ คญั มาจากการท่ีประเทศไทยเกิดการเปล่ียนแปลงทางการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเริ่มมีแนวคิดมาต้ังแตรัชกาลท่ี 6 โดยกลุมบุคคล ที่เรียกตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย ขาราชการ ทหาร พลเรือน ไดเขายึดอํานาจการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั จึงไดทรงลงพระปรมาภไิ ธยในรา งรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินฉบับ ชวั่ คราวที่คณะราษฎรไ ดเตรยี มไว นับวาเปนรัฐธรรมนญู ฉบบั แรกของไทย เมื่อวนั ท่ี 10 ธนั วาคม 2475 ถือไดว า ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยนับแตน น้ั มา จนถงึ ปจ จบุ ันไดม กี ารเปลย่ี นแปลง แกไ ข และประกาศใชร ฐั ธรรมนูญการปกครองหลายฉบบั เพื่อใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาวการณบานเมืองท่ีผันแปรเปล่ียนในแตละยุคสมัย โดยมีสาระสําคัญ เหมือนกัน คือ ยึดม่ันในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะมี เนือ้ หาแตกตา งกนั ก็เพอื่ ใหเ หมาะสมกบั สภาวการณข องบานเมอื งในขณะนัน้ ประเทศไทยมรี ัฐธรรมนญู มาแลว จํานวน 18 ฉบับ และปจ จุบันใชร ัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 หลกั การสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 รัฐธรรมนญู ฉบบั ปจจุบันมหี ลกั การและเจตนารมณทจ่ี ะธํารงรกั ษาไวซ ่งึ เอกราชและความม่ันคง ของชาติ เทดิ ทนู พระมหากษัตริย ซึ่งหลักการสําคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ไดร ะบไุ วในหมวด 1 บททว่ั ไป สรุปไดดังน้ี ประเทศไทย เปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได มีการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ อาํ นาจอธปิ ไตยเปน ของปวงชนชาวไทย ศักด์ิศรีความเปน มนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาพของบุคคลตองไดรับความคมุ ครองประชาชนชาวไทยทุกคน ไมแยก เพศ ศาสนา และยอมไดรบั ความคมุ ครองเทา เทียมกนั

93 โครงสรางของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 แบง โครงสรางออกเปน 105 หมวด และมี บทเฉพาะกาล สรุปสาระสําคญั แตละหมวดดงั นี้ หมวด 1 บทท่ัวไป ประเทศไทย เปนราชอาณาจกั รอนั หนึ่งอนั เดียวจะแบง แยกมิได มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ พระมหากษัตริยทรงใชอ าํ นาจทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรแี ละศาล หมวด 2 พระมหากษตั ริย ทรงอยูในฐานะอันเปนท่ีเคารพ ผูใดจะละเมิดมิได ทรงเลือกและแตงตั้งประธานองคมนตรีและ องคมนตรีไมเ กนิ 18 คน หมวด 3 สทิ ธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย การใชอ ํานาจโดยองคก รของรัฐ ตองคํานึงถงึ ศักดิ์ศรีความเปน มนุษย สิทธิและเสรีภาพของบคุ คล ท้ังดานการประกอบอาชพี การสอื่ สาร การแสดงความคดิ เหน็ ความเปน ธรรมดานการศึกษา การสาธารณสุข และสวสั ดิการของรฐั เสรภี าพในการชมุ ชนที่ไมละเมิดสทิ ธิผอู นื่ และกฎหมาย หมวด 4 หนาทขี่ องชนชาวไทย บคุ คลมีหนาที่พิทักษร ักษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีหนาท่ีปองกันรักษาผลประโยชนของชาติ ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยเฉพาะหนาทไ่ี ปใชสทิ ธเิ ลอื กตัง้ หมวด 5 แนวนโยบายพนื้ ฐานแหงรฐั เนน ใหป ระชาชนมสี วนรวม การกระจายอํานาจ การดําเนนิ งาน มุงเนนการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม มปี ระสิทธภิ าพ โปรง ใสใหค วามคุมครองและพัฒนาเดก็ เยาวชน สง เสริมความรูรกั สามคั คี หมวด 6 รัฐสภา รัฐสภามหี นา ทบี่ ญั ญัตกิ ฎหมายและควบคมุ การปฏบิ ตั ิงานของฝายบรหิ าร ประกอบดว ย 2 สภา คือ สภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) และวฒุ สิ ภา (ส.ว.) หมวด 7 การมีสวนรวมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน ประชาชนมีผูมีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเขาชื่อรองขอตอวุฒิสภาใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงได เพราะมีสิทธิออกเสียงประชามติ หมวด 8 การเงนิ การคลงั และงบประมาณ เพ่ือกาํ หนดหลกั เกณฑเกี่ยวกับการจดั หารายได การกําหนดรายจาย การกอหนี้หรือการดําเนินการ ท่ีผูกพันทรพั ยสินของรัฐ หลักเกณฑการกําหนดวงเงินสํารองจาย เพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ซ่ึงเปนกรอบ ในการกํากับการใชจายเงินตามแนวทางการรักษาวินัยการเงิน การคลังและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อยางย่ังยืนและเปนแนวทางในการจดั ทํางบประมาณรายจายของแผนดนิ

94 หมวด 9 คณะรฐั มนตรี รัฐธรรมนูญกาํ หนดใหม ีนายกรฐั มนตรี 1 คน และมรี ฐั มนตรอี นื่ อีกไมเกนิ 35 คน โดยไดรับการแตงตง้ั จากพระมหากษตั ริย หมวด 10 ศาล กําหนดใหศ าลหรืออาํ นาจตลุ าการ แบง เปน ทั่วไป ศาลรัฐธรรมนญู ศาลยตุ ธิ รรม ศาลปกครอง ศาลทหาร หมวด 11 องคก รตามรฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหมอี งคก รท่ีจะดําเนนิ การตรวจสอบ ตดิ ตามการทาํ งานของบคุ คล คณะบคุ คล และหนวยงาน ท้งั ภาครัฐและเอกชน ดังนี้ 1. องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการ- แผนดิน คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ และคณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน 2. องคก รอนั ตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน- แหง ชาติ และสภาท่ีปรกึ ษาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ หมวด 12 การตรวจสอบการใชอ ํานาจรัฐ กําหนดใหม กี ารตรวจสอบขา ราชการประจาํ และขา ราชการการเมือง หมวด 13 จรยิ ธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมอื งและเจา หนาท่ีของรฐั การพิจารณา สรรหา แตงตัง้ บคุ คลเขาสตู าํ แหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคาํ นงึ ถงึ พฤติกรรมทางจรยิ ธรรมดวย หมวด 14 การปกครองสวนทอ งถิ่น ใหค วามเปน อสิ ระแกองคก รปกครองสวนทอ งถิน่ มีสภาทอ งถน่ิ ในการบรหิ ารงานเนนการกระจาย อํานาจ ใหก ารสนับสนนุ กําหนดนโยบายการบรหิ าร หมวด 15 การแกไ ขเพมิ่ เตมิ รฐั ธรรมนญู มีการแกไขเพมิ่ เตมิ ได แตหา มแกไขทีม่ ีผลตอ การเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุขหรอื เปลี่ยนแปลงรปู ของรฐั บทเฉพาะกาล ใหอ งคมนตรดี าํ รงตําแหนง อยูในวนั ประกาศใชรัฐธรรมนญู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook