93 ลักษณะเปนการแสดงท่ีทันยุคทันสมัย รวมทั้งการพัฒนาความสามารถในการแสดงออกของศิลปนที่ สามารถโนมนาวจิตใจผูฟ ง ไดอ ยา งดี การทําหนาที่เปนสื่อมวลชนของเพลงพ้ืนบานน้ันจะมี 2 ลักษณะ ไดแก การกระจายขาวสาร และการวิพากษว ิจารณสงั คม ในสวนของการกระจายขา วสารนน้ั เพลงพื้นบานจะทาํ หนา ท่ีในการกระจายขา วสารตาง ๆ เชน เพลงรอยพรรษา ของกาญจนบุรี ทําหนา ทบ่ี อกใหร ูวาถงึ เทศกาลออกพรรษา เพลงบอกของภาคใตและ เพลงตรุษของสุรินทร ทําหนาที่บอกใหรูวาถึงเทศกาลปใหมแลว นอกจากน้ีเพลงพื้นบานยังเปน เครื่องมือในการกระจายขา วสารของผูปกครอง หรือผูบริหารประเทศ เชน หมอลํา กลอนลําปลูกผัก สวนครัว ในสมยั จอมพล ป. พิบลู สงคราม หมอลาํ กลอนลาํ ตอ ตานคอมมวิ นิสต สรรเสริญสหรัฐอเมริกา ในสมยั จอมพลสฤษฏิ์ ธนะรัชต ตัวอยางเพลงอีแซวเผยแพรนโยบายและสรางคานิยมในสมยั จอมพล ป. พบิ ลู -สงคราม จะพดู ถึงเรื่องวฒั นธรรมที่ผูนาํ ขอรอง แกบรรดาพ่นี อ งทีอ่ ยูในแนวภายใน เราเกดิ เปนไทยรว มธงมาอยใู นวงศลี ธรรม จะตอ งมีหลกั ประจําเปนบทเรียนใสใ จ ประเทศจะอับจนก็เพราะพลเมือง ประเทศจะรุง เรอื งก็เพราะพวกเราทง้ั หลาย เราตองชวยกันบํารงุ ใหช าติของเราเจรญิ ฉนั จึงขอชวนเชิญแกบรรดาหญงิ ชาย มาชว ยกนั สง เสริมใหพูนเพ่ิมเผา พนั ธุ วฒั นธรรมเท่ียงธรรมใ หเ หมาะสมชาติไทย ------------------------------------------ ------------------------------------------ จะพูดถึงการแตงกายหญิงชายพ่นี อ ง ที่ทา นผูนําขอรองแกพ วกเราท้งั หลาย ทา นใหเ อาไวผ มยาวตามประเพณีนยิ ม สับหยงทรงผมเสียใหงามผึง่ ผาย จะเที่ยวเอาไวผ มทัดจะไดตดั ผมตงั้ จงเปล่ยี นแบบกนั เสยี บางใหถกู นโยบาย -------------------------------------- ------------------------------------ นอกจากตัวอยางดงั กลาวแลว ยังมเี พลงอกี จาํ นวนมากทีม่ ีเนื้อหาในการเผยแพรข า วสารเกย่ี วกับ นโยบายของรัฐบาลและผูปกครอง เชน เพลงอีแซวและเพลงฉอ ยตอไปน้ี เนอื่ งดวยผวู าราชการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ทานไดมอบหนา ท่ีตามทม่ี ีจดหมาย ทานผูวา สพุ รรณใหร จู กั ทานท่ัวถิ่น ทานชอื่ วา จรินทร กาญจโนมยั ใหขวญั จิต ศรปี ระจันตมารอ งเพลงชแี้ จง เพือ่ จะใหแ จม แจงประชาชนเขา ใจ ใหฉันมาขอบพระคณุ กนั ไปตามหวั ขอ คอื ก.ส.ช. ทผ่ี ลงานเหลอื ใช พดู ถึงก.ส.ช.กร็ ชู ัดกันทกุ ชัน้ เปนบทบาทของรฐั บาลทต่ี ั้งนโยบาย
94 จ.จานใชด ชี าวศรปี ระจนั ต นีก่ ใ็ กลถ งึ วันแลว เวลา น่เี ลอื กต้ัง ส.ข. อกี แลวหนอพ่นี อง ดิฉนั จงึ ไดร องบอกมา วันท่ีสามสบิ กนั ยายนเชญิ ชวนปวงชน- ใหไ ปเลือกกรรมการหนอวาสขุ าฯ ทกุ บา น ---------------------------------------- -------------------------------------- นอกจากเพลงพืน้ บา นจะทําหนาทีก่ ระจายขาวสารแลว ยังเปนสอ่ื ในการวิพากษว ิจารณสงั คมใน ดานตา ง ๆ ไดแ ก เหตกุ ารณและเร่ืองราวของชาติ เชน สถาบนั การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ ปญหา สังคม เปนตน เพลงพืน้ บานบางชนดิ เชน เพลงอีแซว เพลงฉอ ย เปน ตน ในปจจุบันมกี ารวพิ ากษวิจารณสังคม อยางเห็นไดชัด ซึ่งอาจเกิดจากความเจริญกาวหนาของสังคม และระบบการเมืองการปกครองท่ีให เสรภี าพแกประชาชนและสือ่ มวลชนในการแสดงความคิดเห็นของตนไดอ ยางเปดเผย ทง้ั ในกลมุ ของตน ในทส่ี าธารณะ หรอื โดยผานสือ่ มวลชน ศิลปน พ้ืนบานจึงสามารถแสดงออกทางความคิดไดโดยอิสระ ในฐานะท่ีเปนประชาชนของประเทศ นอกจากนี้เพลงพื้นบานยังเปนสมบัติของสวนรวม ที่สังคม รับผิดชอบรวมกัน ผูแตงหรือผูรองจึงทําหนาที่แสดงความคิดเห็นในฐานะที่เปนตัวแทนของกลุมชน ดว ย ขอยกตัวอยางเพลงพน้ื บา นท่ีมีเนอ้ื หาวพิ ากษว จิ ารณสงั คม ดังนี้ ลําตดั เรื่องประชาธปิ ไตย ของขวญั จิต ศรีประจันต การแสดงพื้นบานหวั ขอ ขานเงอื่ นไข กบั ประชาธปิ ไตยของเมอื งไทยวนั นี้ ความรสู ึกนกึ ไวว า ไมไดของจริง ยงั รอแรร งุ ร่ิงยงั ไมนิง้ เตม็ ท่ี ฉันเกดิ มาชานานอายุฉนั ส่ีรอบ เรือ่ งระบบระบอบและผดิ ชอบชั่วดี รูสึกยังหนอมแนมมอมแมมหมกเม็ด แบบวา หาประชาธปิ ไตยจนไหลเ คล็ดยงั ไม - สําเร็จสักที ----------------------------------- ------------------------------------ สามัคคีสังฆสั สะคําพระทา นวา ตัดโลภโมโทสาแลว ทานวาเยน็ ดี ไมแ กงแยงแขง ขันไมดื้อดานมักได ประชาธปิ ไตยกเ็ กดิ ไดทันที แตคนเราไมง ้นั ความตอ งการมากเกนิ ยงิ่ บานเรือนเจรญิ ใจตน้ื เขนิ ขึน้ ทกุ ที มีสติปญ ญาเรยี นจนตาํ ราทวมหวั แตค วามเห็นแกตวั ความเมามัวมากมี เจริญทางวตั ถุแตม าผทุ ่ใี จ ประชาธปิ ไตยคงรอไปอีกรอ ยป ------------------------------ ----------------------------------- นักการเมืองปจ จบุ ันก็ผวนผนั แปรพรรค พอเราจะรูจ ักก็ยายพรรคเสียน่ี บางคนทาํ งานดีและไมม ปี ญ หา ไมเ ลียแขงเลยี ขาไมกาวหนาสกั ที
95 คนดมี อี ุดมการณม ักทํางานไมได แตพวกกะลอ นหลงั ลายไดยงิ่ ใหญทุกท.ี .. จากทกี่ ลา วมาทัง้ หมดนจี้ ะเห็นไดวา เพลงพื้นบานมคี ณุ คาตอสงั คมสว นรวมและประเทศชาติที่ ปรากฏใหเ ห็นอยา งชัดเจน นอกจากมคี ณุ คาใหความบนั เทงิ ทมี่ ีอยูเปน หลักแลว ยังมีคุณคาใหการศึกษา แกคนในสังคมทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออม รวมทง้ั มคี ณุ คา ในการเปน ทางระบายความเก็บกดและ การจรรโลงวฒั นธรรมของชาติ ตลอดจนมีคุณคาในฐานะเปนสอื่ มวลชนทท่ี าํ หนาที่กระจายขา วสารและ วิพากษวิจารณสังคม เพลงพื้นบานจึงมิใชจะมีคุณคาเฉพาะการสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินใจ เทานนั้ แตยังสรา งภูมิปญญาใหแ กค นไทยดว ย ในปจจุบันเพลงพื้นบานมีบทบาทตอสังคมนอยลงทุกทีเพราะมีส่ิงอ่ืนขึ้นมาทดแทนและทํา หนาท่ีไดดีกวา เชน มีสิ่งบันเทิงแบบใหมมากมายใหความบันเทิงมากกวาเพลงกลอมเด็กหรือเพลง ประกอบการเลน มีการศึกษาในระบบโรงเรียนเขา มาทาํ หนา ทใ่ี หการศึกษาและควบคุมสังคมแทน และ มีระบบเทคโนโลยีทางการสื่อสารและคมนาคมทําหนาที่เปนส่ือมวลชนไดมีประสิทธิภาพ ย่ิง กวา เพลงพื้นบานจงึ นบั วันจะยตุ ิบทบาทลงทกุ ที เวน เสยี แตเพลงพ้ืนบานบางชนิดท่ีพัฒนารูปแบบและ เน้อื หาใหเ หมาะสมกับสงั คมปจ จบุ นั เชน เพลงอีแซว ในรูปแบบของเพลงลูกทุง ซึ่งนักรองหลาย คนนํามารอง เชน เอกชยั ศรวี ิชยั และเสรี รุงสวาง เปนตน ทําใหเพลงพื้นบานกลับมาเปนที่นิยมและมี คุณคา ตอ สงั คมไดอีกตอไป 2. การอนรุ กั ษเพลงพืน้ บา น การอนุรักษเพลงพื้นบานใหคงอยูอยางมีชีวิตและมีบทบาทเหมือนเดิมคงเปนสิ่งที่เปนไป ไมได แตส่ิงท่ีอาจทําไดในขณะน้ีก็คือการอนุรักษ เพื่อชวยใหวัฒนธรรมของชาวบานซึ่งถูกละเลยมา นานปรากฏอยูในประวัติศาสตรของสังคมไทยเชนเดียววัฒนธรรมที่เราถือเปนแบบฉบับ การ อนรุ ักษม ี 2 วิธีการ ไดแ ก การอนรุ กั ษตามสภาพด้งั เดมิ ทเ่ี คยปรากฏ และการอนุรักษโดยการประยุกต 2.1 การอนุรักษตามสภาพด้ังเดมิ ท่เี คยปรากฏ หมายถึงการสืบทอดรูปแบบเนื้อหา วิธีการรอง เลน เหมอื นเดิมทุกประการ เพอื่ ประโยชนใ นการศกึ ษา 2.2. การอนรุ กั ษโดยการประยุกต หมายถงึ การเปล่ียนแปลงรูปแบบและเนือ้ หาใหสอดคลองกับ สงั คมปจจบุ ันเพ่อื ใหคงอยแู ละมบี ทบาทในสังคมตอ ไป 2.3. การถา ยทอดและการเผยแพรเปน สงิ่ สาํ คัญที่ควรกระทําอยา งจรงิ จัง และตอเน่ืองเพ่ือไมให ขาดชว งการสืบทอด ปกตศิ ิลปน พ้ืนบานสวนใหญม กั จะเต็มใจทจ่ี ะถา ยทอดเพลงพื้นบานใหแกลูกศิษย และผสู นใจทั่วไป แตปญหาท่ีพบคือไมมีผูสืบทอดหรือมีก็นอยมาก ดังน้ันการแกปญหาจึงนาจะอยูที่ การเผยแพรเพ่ือชักจูงใจใหคนรุนใหมเห็นความสําคัญ รูสึกเปนเจาของ เกิดความหวงแหนและอยาก ฝก หัดตอ ไป
96 การจงู ใจใหค นรุนใหมห นั มาฝกหดั เพลงพื้นบานไมใชเร่ืองงาย แตวิธีการท่ีนาจะทําได ไดแก เชญิ ศลิ ปน อาชีพมาสาธติ หรอื แสดง เชญิ ศิลปน ผูเชี่ยวชาญมาฝกอบรมหรอื ฝกหัดกลุมนักเรียนนักศึกษา ใหแสดงในโอกาสตาง ๆ ซงึ่ วิธนี ้จี ะไดทัง้ การถายทอดและการเผยแพรไ ปพรอ ม ๆ กัน อยางไรกต็ ามการถายทอดเพลงพื้นบา นจะอาศยั เฉพาะศิลปน พ้นื บา นคงไมไ ด เพราะมขี อ จาํ กดั เกย่ี วกับปจจยั ตาง ๆ เชน เวลา สถานท่ี และงบประมาณ แนวทางการแกไขกค็ วรสรา งผูถ า ยทอด โดยเฉพาะครอู าจารย ซง่ึ มีบทบาทหนา ท่ีในการปลกู ฝงวฒั นธรรมของชาติ และมกี าํ ลงั ความสามารถใน การถายทอดใหแกเยาวชนไดจ าํ นวนมาก แตก ารถายทอดทฤษฎีอยางเดียวคงไมเพยี งพอ ครอู าจารยค วร สรา งศรัทธาโดย “ทําใหดู ใหรดู วยตา เหน็ คา ดว ยใจ” เพราะเม่ือเด็กเห็นคุณคาจะสนใจศกึ ษาและใฝห า ฝกหดั ตอ ไป 2.4. การสงเสรมิ และการสนบั สนนุ เพลงพื้นบา น เปนงานหนักที่ตองอาศัยบุคคลที่เสียสละและ ทุมเท รวมทง้ั การประสานความรวมมือของทุกฝาย ที่ผานมาปรากฏวามีการสงเสริมสนับสนุนเพลง พื้นบานคอนขางมากท้ังจากหนวยงานของรัฐและเอกชน ไดแก สํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ ศูนย วัฒนธรรมประจําจังหวัด สถาบันการศึกษาตาง ๆ ศูนยสังคีตศิลป ธนาคารกรุงเทพฯ สํานักงานการ ไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย เปน ตน 2.5. การสง เสรมิ เพลงพ้ืนบานใหเปนสวนหน่ึงของกิจกรรมในชีวิตประจําวัน โดยแทรกเพลง พ้นื บานในกิจกรรมรน่ื เรงิ ตา ง ๆ ไดแ ก กิจกรรมของชีวิตสว นตัว เชน งานฉลองคลายวันเกิด งานมงคล สมรส งานทําบุญขึ้นบานใหม ฯลฯ กิจกรรมในงานเทศกาลตาง ๆ เชน ปใหม ลอยกระทงหรือ สงกรานต กิจกรรมในสถาบันการศึกษา เชน พิธีบายศรีสูขวัญ งานกีฬานองใหม งานฉลองบัณฑิต และกจิ กรรมในสถานที่ทํางาน เชน งานเล้ยี งสงั สรรค งานประชุมสัมมนา เปน ตน 2.6. การสงเสริมใหนําเพลงพื้นบานไปเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังในระบบ ราชการและในวงการธุรกิจ เทาท่ีผานมาปรากฏวามีหนวยงานของรัฐและเอกชนหลายแหงนําเพลง พื้นบานไปเปน สือ่ ในการโฆษณาประชาสัมพันธ เชน จังหวัดสุพรรณบุรีเชิญ ขวัญจิต ศรีประจันต ไป รองเพลงพ้ืนบานประชาสมั พันธผลงานของจงั หวัด บริษัทท่ีรับทําโฆษณานํ้าปลายี่หอทิพรส ใชเพลง แหลสรางบรรยากาศความเปนไทย อุดม แตพานิช รองเพลงแหลในโฆษณาโครงการ หารสอง รณรงคใหประชาชนประหยดั พลังงาน บญุ โทน คนหนุม รองเพลงแหลโ ฆษณานาํ้ มันเคร่ือง ท็อปกัน 2 T การใชเพลงกลอ มเด็กภาคอีสานในโฆษณาโครงการสํานึกรักบานเกดิ ของ TAC เปน ตน การใชเพลง พื้นบานเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธดังกลาวนับวานาสนใจและควรสงเสริมใหกวางขวาง ย่ิงขน้ึ เพราะทาํ ใหเ พลงพนื้ บานเปน ท่คี ุนหขู องผูฟง และยังคงมีคณุ คา ตอ สังคมไทยไดตลอดไป
97 กจิ กรรมที่ 1. 1.1ใหผ ูเรยี นอธิบายลกั ษณะของดนตรีพื้นบานเปนขอ ๆ ตามทเ่ี รยี นมา 1.2 ใหผูเรียนศึกษาดนตรีพื้นบานในทองถิ่นของผูเรียน แลวจดบันทึกไว จากนั้นนํามาอภิปราย ในชั้นเรียน 1.3 ใหผเู รียนลองหัดเลน ดนตรพี นื้ บา นจากผรู ใู นทองถิน่ แลว นํามาเลนใหช มในชน้ั เรียน 1.4 ผเู รยี นมีแนวความคดิ ในการอนุรักษเ พลงพ้ืนบานในทอ งถิน่ ของผเู รยี นอยา งไรบา ง ใหผเู รยี น บนั ทกึ เปนรายงานและนาํ แสดงแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกันในชัน้ เรยี น
98 บทท่ี 3 นาฏศิลปพืน้ บา น สาระสําคัญ 1. นาฏศิลปพ ้ืนบา นและภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ 2. คุณคา และการอนุรักษน าฏศิลปพ นื้ บาน วฒั นธรรมประเพณแี ละภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั 1. บอกประวตั คิ วามเปนมาของนาฏศิลปพ้นื บา นแตล ะภาคได 2. บอกความสมั พนั ธร ะหวา งนาฏศิลปพน้ื บานกับวัฒนธรรมประเพณี 3. บอกความสัมพนั ธระหวางนาฏศลิ ปพื้นบานกับภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ได 4. นํานาฏศลิ ปพ ืน้ บาน ภมู ปิ ญ ญาทองถิ่นมาประยุกตใ ชไ ดอยา งเหมาะสม ขอบขา ยเน้ือหา 1. นาฏศิลปพื้นบานและภูมปิ ญญาทอ งถิ่น 2. นาฏศลิ ปพ ื้นบา นภาคเหนอื 3. นาฏศิลปพ ้ืนบา นภาคกลาง 4. นาฏศิลปพ นื้ บา นภาคอีสาน 5. นาฏศิลปพ น้ื บา นภาคใต
99 เรือ่ งท่ี 1 นาฏศิลปพ ื้นบา นและภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ นาฏศิลปพืน้ บาน เปน การแสดงทเี่ กดิ ข้ึนตามทองถิ่นตา ง ๆ มกั เลนเพือ่ ความสนุกสนาน บันเทิง ผอนคลายความเหน็ดเหน่ือย หรือเปนการแสดงท่ีเก่ียวกับการประกอบอาชีพของประชาชนตามภาค นัน้ ๆ นาฏศลิ ปพ ื้นบานเปนการแสดงท่ีสะทอนความเปนเอกลักษณของภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ ไทย ตามลักษณะพื้นที่ วัฒนธรรมทองถ่ิน ประเพณีท่ีมีอยูคูกับสังคมชนบท ซ่ึงสอดแทรกความ สนกุ สนาน ความบันเทงิ ควบคไู ปกับการใชชีวติ ประจําวัน นาฏศิลปพ้นื บานภาคเหนือ การฟอนคือการแสดงนาฏศิลปภาคเหนือที่แสดงการรายรํา เอกลักษณที่ดนตรีประกอบมีแต ทาํ นองจะไมม ีคาํ รอ ง การฟอ นราํ ของภาคเหนือ มี 2 แบบ คือ แบบอยางดังเดิม กับแบบอยางที่ปรับปรุง ขึน้ ใหม การฟอ นรําแบบดั้งเดิม ไดแ ก ฟอ งเมือง ฟอ นมา น และฟอนเงยี้ ว 1. ฟอนเมอื ง หมายถงึ การฟอ นราํ แบบพืน้ เมอื ง เปนการฟอ นรําที่มแี บบแผน ถายทอดสบื ตอกนั มาประกอบดวยการฟอนราํ การฟอ นมแี ตดนตรกี บั ฟอน ไมม กี ารขับรอง เชน ฟอ นเล็บ ฟอ น ดาบ ฟอนเจงิ ฟอนผมี ด ฟอ นแงน เปน ตน การแสดงฟอ นดาบ 2. ฟอ นมาน หมายถงึ การฟอนราํ แบบมอญ หรอื แบบพมา เปน การสบื ทอดรูปแบบทา รํา และ ดนตรี เมือ่ ครั้งท่พี มา เขา มามีอํานาจเหนอื ชนพน้ื เมือง เชน ฟอนพมา ฟอนผีเม็ง ฟอนจา ดหรอื แสดงจา ดหรือลเิ กไทยใหญ การแสดงฟอ นมา นมงคล
100 3. ฟอนเงี้ยว เปนการแสดงของชาวไต หรือไทยใหญ รูปแบบของการแสดงจะเปนการฟอนรํา ประกอบกบั กลองยาว ฉาบ และฆอง เชน ฟอ นไต ฟอนเง้ยี ว ฟอนกงิ กะหลา ฟอ นโต ฟอนกงิ กะหลา การฟอนราํ แบบปรบั ปรุงใหม เปนการปรับปรุงการแสดงที่มีอยูเดิมใหมีระเบียบแบบแผนให ถกู ตอ งตามนาฏยศาสตร ใชทวงทาลลี าท่งี ดงามย่ิงข้นึ อาทิเชน ฟอ นเล็บ ฟอนเทียน ฟองลองนาน ฟอน เงีย้ วแบบปรับปรุงใหม ฟอนมา นมุยเชียงตา ระบาํ ซอ ระบาํ เก็บใบชา ฟอนสาวไหม เปน ตน ฟอ นเลบ็ ประวตั คิ วามเปน มา ฟอนเล็บ เปนการฟอนรําที่สวยงามอีกอยางหน่ึงของชาวไทยภาคเหนือ เรียกช่ือตามลักษณะ ของการฟอ น ผูแสดงจะสวมเลบ็ ทที่ ําดว ยโลหะทกุ นวิ้ ยกเวนน้ิวหัวแมมือ แบบฉบับของการฟอน เปน แบบแผนในคุม เจา หลวงในอดีตจงึ เปนศลิ ปะท่ีไมไดชมกันบอยนัก การฟอนรําชนิดน้ีไดแพรหลายใน กรุงเทพมหานคร เม่อื ครั้งสมโภชนพระเศวตคชเดชดลิ ก ชา งเผือก ในสมัยรชั กาลท่ี 7 เม่อื พ.ศ. 2470 ครูนาฏศิลปข องกรมศลิ ปากร ไดฝก หัดถา ยทอดเอาไว และไดน าํ มาสืบทอดตอ กันมา
101 ภาพการฟอนเล็บ นาฏศลิ ปของภาคเหนือ เครอ่ื งดนตรี เคร่ืองดนตรีทใ่ี ชประกอบการฟอ นเลบ็ ไดแก ปแน กลองแอว ฉาบ โหมง เครือ่ งแตงกาย เคร่อื งแตง กาย สวมเสื้อคอกลมหรือคอปดแขนยาว ผาหนาติดกระดุม หมสไบทับตัวนุงผาซิ่น พ้นื เมอื งลายขวางตอตนี จกหรอื เชงิ ซิ่นเกลามวยสงู ประดับดว ยดอกไมแ ละอบุ ะสวมสรอยคอและตา งหู ทาราํ ทารํา มีช่ือเรียกดังน้ี ทากังหันรอน ทาเรียงหมอน ทาเลียบถํ้า ทาสอดสรอยมาลา ทาพรหมส่ี หนา ทา ยงู ฟอนหาง โอกาสของการแสดง ใชแสดงในโอกาสมงคล งานรื่นเรงิ การตอนรับแขกบานแขกเมอื ง นาฏศิลปพ้นื บานภาคกลาง เปน ศลิ ปะการรา ยรําและการละเลนของชนชาวพ้นื บา นภาคกลาง ซ่ึงสวนใหญมีอาชีพเกี่ยวกับ เกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมคี วามสอดคลอ งกับวิถชี ีวติ และเพื่อความบันเทิงสนกุ สนานเปนการผัก ผอ นหยอ นใจจากการทาํ งาน หรอื เม่ือเสร็จจากเทศกาลฤดเู ก็บเกย่ี ว เชน การเลนเพลงเกี่ยวขาว เตนกํารํา เคียว ราํ เถิดเทงิ รําเหยอย เปน ตน มีการแตงกายตามวัฒนธรรมของทองถ่ินและใชเคร่ืองดนตรีพื้นบาน เชน กลองยาว กลองโทน ฉ่งิ ฉาบ กรบั และโหมง
102 รําเหยอย ประวัตคิ วามเปนมา รําเหยอย คอื การรําพน้ื เมืองที่เกา แกชนิดหนึ่ง มีตน กาํ เนดิ ท่จี ังหวัดกาญจนบุรี แถบอําเภอเมอื ง อําเภอพนมทวน ซึ่งยงั มกี ารอนรุ กั ษรปู แบบการละเลนนเี้ อาไว การแสดงราํ เหยอ ย การราํ การรองเพลงเหยอ ย จะเริม่ ดวยการตีกลองยาวโหมโรงเรียกคนกอน วงกลองยาวก็เปน กลองยาวแบบพนื้ เมอื ง ประกอบดวย กลองยาว ฉง่ิ ฉาบ กรับ โหมง มปี ท่เี ปนเครอื่ งดาํ เนินทํานอง ผูเลน รําเหยอยก็จะแบงออกเปนฝายชาย กับฝายหญิง โดยจะมีพอเพลง แมเพลง และลูกคู เม่ือมีผูเลน พอสมควรกลองยาวจะเปลย่ี นเปน จังหวะชาใหพอเพลงกับแมเพลงไดรองเพลง โตตอบกัน คนรอง หรอื คนรําก็จะมผี าคลอ งคอของตนเอง ขณะท่มี ีการรองเพลง กจ็ ะมีการเคล่ือนที่ไปยังฝา ยตรงขาม นําผา ไปคลอ งคอ เพอ่ื ใหอ อกมาราํ ดวยกันสลับกันระหวางฝายชายและฝายหญิง คํารองก็จะเปนบทเกี้ยวพา ราสี จนกระทัง่ ไดเวลาสมควรจึงรองบทลาจาก ทารํา ไมมีแบบแผนท่ีตายตัว ข้ึนอยูกับผูรําแตละคู การเคล่ือนไหวเทาจะใชวิธีสืบเทาไป ขางหนา กรมศิลปากรไดสืบทอดการแสดงรําเหยอยดวยการปรับปรุงคํารอง และทารําใหเหมาะสม สาํ หรบั เปนการแสดงบนเวที หรือกลางแจงในเวลาจาํ กัด จงึ เปนการแสดงพ้ืนเมอื งทส่ี วยงามชุดหน่ึง การแตง กาย ฝายชาย สวมเสอื้ คอกลม นุงโจงกระเบน มีผา คาดเอว ฝา ยหญิง สวมเส้อื แขนกระบอก นุงโจงกระเบน มีผา คลอ งคอ คํารองของเพลงเหยอ ยจะใชฉ นั ทลกั ษณแบบงาย เหมือนกบั เพลงพื้นบา นทั่วไป ท่ีมักจะลงดวย สระเดยี วกัน หรอื เรยี กวา กลอนหวั เตยี ง คํารอ งเพลงเหยอ ยจะจบลงดวยคําวาเหยอย จึงเรียกกันวาเพลง เหยอยราํ พาดผาก็เรียก เพราะผูรํามีการนําผาไปคลองใหกับอีกฝายหนึ่ง ฉันทลักษณของเพลงเหยอยมี เพียงสองวรรค คือ วรรคหนา กับวรรคหลัง มสี ัมผัสเพียงแหงเดียว เม่ือรองจบ 2 วรรค ลูกคูหญิงชายก็ จะรองซาํ้ ดังตัวอยาง คาํ รอ งเพลงเหยอย ฉบับกรมศลิ ปากร ดงั น้ี
103 ชาย มาเถดิ หนาแมมา มาเลน พาดผา กนั เอย พ่ีตัง้ วงไวท า อยา น่งิ รอชาเลยเอย พีต่ ัง้ วงไวค อย อยา ใหวงกรอ ยเลยเอย เขา มาพาดผา เถดิ เอย หญงิ ใหพยี่ ื่นแขนขวา พาดที่องคน อ งเอย ชาย พาดเอยพาดลง ไปรํากบั เขาหนอ ยเอย หญิง มาเถิดพวกเรา รบี รําออกมาเถดิ เอย ชาย สวยเอยแมค ณุ อยา ชา สวยดังหงสทองเอย หญิง ราํ รายกรายวง สวยดงั กนิ นรนางเอย ชาย ราํ เอยราํ รอน นาเอ็นดูจริงเอย หญงิ ราํ เอยรําคู พ่ีรักเจา สาวจริงเอย ชาย เจาเคยี วใบขา ว อยา มาเปน หว งเลยเอย หญิง เจาเคียวใบพวง รักแลวไมท้งิ ไปเลย ชาย รักนอ งจรงิ รักแลวกท็ ิง้ ไปเอย หญงิ รกั นองไมจ รงิ รกั จะตกเสยี แลว เอย ชาย พแ่ี บกรักมาเตม็ อก เชื่อไมไ ดเลยเอย หญิง ผชู ายหลายใจ ชา งไมเมตตาเสยี เลยเอย ชาย พ่แี บกรกั มาเตม็ รา จะใหน อ งรกั อยางไรเอย หญิง เมยี มีอยูเตม็ ตกั เมียพ่มี ีเมอ่ื ไรเอย ชาย สวยเอยคนดี จะทิง้ ทอดทานใหใครเอย หญงิ เมียมีอยูทบี่ า น จะฉกี ใหด ใู จเอย ชาย ถาฉกี ไดเ หมอื นปู รีบไปสูข อนอ งเอย หญงิ รักจริงแลว หนอ สนิ สอดเทา ไรนอ งเอย ชาย ขอกไ็ ด ใหพร่ี บี ไปขอเอย หญงิ หมากลกู พลจู บี เห็นสดุ แรงนองเอย ชาย ขา วยากหมากแพง รีบไปใหถ ึงเถดิ เอย หญิง หมากลูกพลูครง่ึ เห็นจะดีกวา เอย ชาย รกั กนั หนาพากันหนี ไมเ ช่อื คําชายเลยเอย หญงิ แมส อนเอาไว หนตี ามกันไปเถดิ เอย ชาย แมสอนเอาไว ใหก ลับพาราแลว เอย หญงิ พอ สอนไวว า
104 ชาย พอ สอนไววา ใหก ลบั พาราพ่ีเอย หญงิ กาํ เกวยี นกาํ กง จะตองจบวงแลวเอย ชาย กรรมเอยวิบาก วันนีต้ อ งจากแลว เอย หญิง เวลาก็จวน นอ งจะรีบดว นไปกอนเอย ชาย เรารวมอวยพร กอ นจะลาจรไปกอนเอย พรอมกนั ใหห มดทกุ ขโ ศกโรคภยั สวัสดมี ีชัยทุกคนเอย นาฏศิลปพ ้นื บานภาคอสี าน เปน การแสดงศลิ ปะการรําและการเลน พนื้ บา นภาคอีสานหรือภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของไทย แบงเปน 2 กลุมวฒั นธรรมใหญ ๆ คอื 1. กลุมอีสานเหนือ มีวัฒนธรรมไทยลาวเรียกการละเลนวา “หมอลํา, เซิ้ง และฟอน” เชน ลํา เตย ลําลอ ง ลํากลอนเกี้ยว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งตังตวาย ฟอนภูไท เปนตน ดนตรีพ้ืนบานที่ใชประกอบไดแก พิณ แคน โปงลาง กลองยาว ซอ โหวด ฉ่งิ ฉาบ ฆอ ง และกรับ ฟอนภูไท ของชาว จงั หวดั สกลนคร 2. กลุมอีสานใต ไดรับอิทธิพลไทยเขมร มีการละเลนท่ีเรียกวา เรือมหรือเร็อม เชน เรอื มอนั เร หรือ รําสาก หรอื กระโดสาก สว นละเลนเพลงโตต อบกนั เชน กันตรึม เจรียง อาไย เปนตน วง ดนตรี ดนตรีที่ใชป ระกอบไดแก วงมโหรีพื้นบา น ประกอบดวย ซอดวง กลองกันตรึม ปออ ปสไล ฉ่ิง และกรับ
105 เรอื มอันเรหรอื รําสาก การแตงกายประกอบการแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานอีสานเปนไปตามวัฒนธรรมของพื้นบาน ลักษณะทารําและทวงทาํ นองดนตรีสวนใหญคอ นขา งกระซับ รวดเรว็ และสนุกสนาน เซ้งิ กระตบิ ขา ว ประวัติความเปน มา เซิ้งกระตบิ ขาว เปนการละเลนพื้นเมอื งของชาวภูไท ท่ีตั้งถิ่นฐานอยูแถวจังหวัดสกลนคร และ จงั หวัดใกลเ คียง นิยมเลน ในโอกาสรื่นเรงิ ในวนั นักขัตฤกษ การแสดงจะเรมิ่ ดว ยฝายชายนาํ เคร่อื งดนตรี ไดแ ก แคน กลองยาว ฉิ่ง ฉาบ กรบั โหมง มาบรรเลงเปนวงใชท ํานองและจังหวะที่สนุกสนานแบบเซ้ิง อีสาน สวนฝายหญิงกจ็ ะสะพายกระติบขา ว (ภาชนะสาํ หรับบรรจุขาว เหนียวนึ่ง) ออกมารายรําดวย ทวงทาตา งๆ ซึ่งมีความหมายวา การนาํ อาหารไปใหส ามีและญาติพี่นองท่ีออกไปทํานา การฟอนรําเซิ้ง กระตบิ ไมมคี ํารองประกอบ
106 เคร่ืองแตงกาย ผูหญิงสวมเส้ือแขนกระบอกนุงผาซิ่นตีนจกหมสไบทับเสื้อเกลามวยประดับ ดอกไมต า งหูสรอยคอกาํ ไลขอมือขอ เทาสะพายกระติบขาว ผูชายที่เปนนักดนตรีสวมเสื้อแขนสั้นสีดํา หรือกรมทา นงุ ผาโจงกระเบนสแี ดง หรอื โสรง มผี าคาดเอว โอกาสของการแสดง อาทิ งานบุญประเพณี งานตอนรบั แขกบา นแขกเมือง งานวัฒนธรรม หรอื งานเผยแพรวัฒนธรรมไทยในตางประเทศ เปน ตน นาฏศลิ ปพ ื้นบานภาคใต เปนศิลปะการแสดงและการละเลนของชาวพื้นบานภาคใตอาจแบงตามกลุมวัฒนธรรมได 2 กลุมคือวัฒนธรรมไทยพุทธ ไดแก การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ไดแ ก ชาํ เปง ลเิ กซลู ู ซลิ ะ รองเง็ง การแสดงรองเง็ง การแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานภาคใตแบงออกเปนหลายแบบคือ แบบด้ังเดิมและแบบที่ไดรับ อิทธิพลจากตา งประเทศ 1. แบบดง้ั เดิมไดรบั แบบแผนมาจากสมัยอยุธยา หรือครั้งท่ีกรุงศรีอยุธยาเสียแกขาศึก บรรดา ศิลปนนักแสดงทั้งหลายก็หนีภัยสงครามลงมาอยูภาคใต ไดนํารูปแบบของการแสดงละครที่เรียกวา ชาตรี เผยแพรส ภู าคใตและการแสดงด้งั เดมิ ของทองถ่ิน เชน การสวดมาลยั เพลงนา เพลงเรอื เปน ตน 2. แบบท่ีไดรับอิทธิพลจากตางประเทศ ภาคใตเปนพ้ืนท่ีติดตอกับประกาศมาเลเซีย ดังนั้น ประชาชนทีอ่ าศยั อยูแ ถบชายแดน กจ็ ะรบั เอาวฒั นธรรมการแสดงของมาเลเซียมาเปนการแสดงทองถิ่น เชน ลเิ กฮูลู สลาเปะ อาแวลูตง คาระ กรอื โตะ ซัมเปง เปน ตน
107 การแสดงซัมเปง มโนราห ประวัติความเปนมา โนรา หรือ มโนราห เปนการแสดงท่ียิ่งใหญ และเปนวิถีชีวิตของชาวใตเกือบทุกจังหวัด และ นบั วาเปน การแสดงที่คูกับหนังตะลงุ มาชา นาน ความเปน มาของโนราน้ัน มีตาํ นานกลา วไวห ลายกระแส มีตาํ นานหนงึ่ กลาววา ตวั ครโู นราคนหนึ่งซงึ่ ถือวา เปนคนแรกนนั้ มาจากอยธุ ยา ชอื่ ขุนศรัทธา ซงึ่ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ทรงสนั นิษฐานวา คงเปนครูละครที่มีช่ือเสียงของกรุง ศรีอยธุ ยา ชวงปลาย ๆ มีคดีจนตองถูกลอยแพไปติดอยเู กาะสีชงั ชาวเรือชวยพามายังนครศรธี รรมราชได ใชความสามารถสง่ั สอนการแสดงละครตามแบบแผนของ กรงุ ศรีอยุธยา การแสดงโนราหรอื มโนราหใ นภาคใต
108 และตามคําบอกเลา ของขนุ อุปถัมภน รากร (พุม เทวา) ก็กลาวในนางนวลทองสําลี พระธดิ าของ ทา นพระยาสายฟา ฟาด ตอ งโทษดว ยการเสวยเกสรดอกบัวแลวเกดิ ตั้งครรภ จงึ ถกู ลอยแพกบั นางสนมไป ติดอยูท่เี กาะสชี ัง และประสตู ิโอรส ซ่ึงเจาชายนอย ไดรับการส่ังสอนการรายรํา 12 ทา จากพระมารดา ซ่ึงเคยฝนวา มนี างฟามาสอนใหจดจาํ ไว 12 ทา นางก็พยายามจําอยา งขึน้ ใจ แลวยงั ไดส ่ังสอนใหน างสนม กํานัลอีกดวย เจาชายนอยไดเขาไปรําถวายใหพระยาสายฟาฟาดทอดพระเนตร มีการซักถามถึงบิดา มารดาก็รวู าเปน หลานขวัญ จงึ สงคนไปรับกลบั เขาเมอื ง นางศรี คงคา ไมยอมกลับตองมัดเอาตัวข้ึนเรือ เม่ือเรอื เขามาสูปากนํา้ ก็มีจระเขขวางเรือพวกลูกเรือชวยกันแทงจระเข จึงบังเกิดทารําของโนราขึ้นอีก กระบวนทาหนง่ึ แสดงถึงการราํ แทงจระเข การเก่ียวเน่ืองระหวางโนรากับละครชาตรีของภาคกลางก็ อาจจะซบั ซอนเปนอนั มาก คําวา ชาตรี ตรงกับคําวา ฉัตริยะของอินเดียใต แปลวา กษัตริย หรือนักรบผูกลาหาญ และ เนอื่ งจากการแสดงตา ง ๆ มักมีตัวเอกเปน กษตั ริย จึงเรียกวา ฉัตรยิ ะ ซง่ึ ตอ มากไ็ ดเพ้ยี นมาเปน ชาตรี หรือ ละครชาตรี เพราะเห็นวา เปนการแสดงอยางละคร มีผูรูกลาววาท้ังโนราและชาตรีนาจะเขามาพรอม ๆ กนั ท้งั ภาคใต และภาคกลาง เหตทุ ่โี นราและชาตรีมคี วามแตกตางกันออกไปบางก็คงเปนไปตามสภาพ ของวถิ ชี ีวติ วฒั นธรรมประเพณีของแตล ะภาค ความนยิ มทแ่ี ตกตา งกัน แตอยา งไรก็ตาม ส่ิงทย่ี งั คงเปน เอกลกั ษณของการแสดงโนรา และชาตรี คือเครื่องดนตรีท่ีใชโทน (ทน) ฆอง และป เปนเครื่องยืนพ้ืน ในภาคกลางมกี ารใชระนาดเขามาบรรเลงเมือ่ ครั้งสมยั รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวน้ี เอง ในสมยั เดมิ นัน้ คาํ วา โนรา ยงั ไมไ ดมีการเรียกจะใชคําวา ชาตรี แมใ นสมยั รตั นโกสนิ ทรก ็ยังใชคําวา ชาตรีอยู ดังคําประพันธของกรมหมนื่ ศรีสเุ รนทรว า “ชาตรตี ลบุ ตลุบทง้ิ กลองโทน ราํ สะบัดวัดสะเอวโอน ออนแปล คนกรบั รบั ขยับโยน เสยี งเยิน่ รอ งเรอ่ื งรถเสนแห หอขยุม ยาโรย” ตอเมอ่ื ไดนําเอาเร่ืองพระสุธนมาแสดงกับชาตรี จึงเรียกติดปากวา มโนราหชาตรี ตามชื่อของนางเอก เรือ่ งสธุ น ตัวบทละครกเ็ กิดขน้ึ ในภาคใต หาไดนําเอามาจากอยุธยาไม ในที่สุดการแสดงโนราจึงกลาย จากเรือ่ งพระสุธน ในสมัยตอมาก็มกี ารนําเอาวรรณคดีพน้ื บา นเรอ่ื งอนื่ มาแสดง แตก ย็ ังเรียกการแสดงนี้ วา มโนราห เม่ือนานเขา เกดิ การกรอนของภาษา ซึ่งเปนลกั ษณะทางภาษาของภาคใตท่จี ะพูดถอยคําหวน ๆ จงึ เรียกการแสดงน้ีวา “โนรา”
109 การแสดงโนรานัน้ มีทาราํ สําคญั 12 ทา แตละคณะก็แตกตางกนั ออกไปบาง โดยมีการสอนทา รํา โนรา คอื โดยใชบทประพนั ธที่แสดงวธิ กี ารรายราํ ดว ยลีลาตาง ๆ การเชื่อมทา การขยับหรอื เขยิบเทา การ กลอมตัวต้ังวง และการเคลื่อนไหวที่คอ นขางรวดเร็ว ในบทราํ ทา ครูสอนมีคํากลอนกลาวถึงการแตงตัว และลีลาตาง ๆ ดงั นี้ “ครูเอยครสู อน เสดอื้ งกรตอ งา ครูสอนใหผผู า สอนขา ใหทรงกาํ ไล สอนครอบเทรดิ นอ ย แลว จบั สรอยพวงมาลยั สอนทรงกําไล สอนใสซายขวา เสด้ืองเยอ้ื งขา งซาย ตีคาไดหาพารา เสดอื้ งเย้อื งขางขวา ตคี า ไดหา ตาํ ลึงทอง ตีนถีบพนัก สวนมือชักเอาแสงทอง หาไหนมิไดเ สมอื นนอ ง ทาํ นองพระเทวดา” นอกจากบทรําทาครูสอนแลว ยังมีการประดิษฐทารําเพิ่มเติมขึ้นอีกมากมาย จนถึง การประดิษฐทารําสวนตัว และทารําเฉพาะ ไดแก การรําไหวครู รําโรงครู รําแกบท รําบทครูสอน รํา ปฐมบท รําแทงจระเข รําเพลงโค รําเพลงทับเพลงโทน รําคลอ งหงส เปน ตน การแตง กายของโนรา แตเดิมสวมเทรดิ (เครอ่ื งสวมหัวคลา ยชฏา) นงุ สนับเพลา คาดเจียรบาด มีหอ ยหนา ประดบั หางอยางมโนราห มีสายคลอ งวาลประดับทบั ทรง กรองคอ และสวมเลบ็ ยาว เครอ่ื งดนตรี คอื กลอง ทบั คู ฆองคู โหมง ฉ่งิ และป โดยการเร่มิ บรรเลงโหมโรง จากนัน้ เชิญครู รองหนา มาน หรอื กลาวหนา มา น เรื่องทแี่ สดงเรยี กเปน ภาษาถนิ่ วา “กําพรัดหนามาน” จากนั้นจึงเร่ิมทํา การแสดง โนราแตละคณะจะประกอบดว ยผูแสดงประมาณ 15 – 20 คน แตเดิมผูแสดงสวนใหญจะเปน ผชู ายแตก ็มผี ูหญงิ ผสมอยูดว ย
110 โอกาสของการแสดงโนรา กแ็ สดงในงานทัว่ ไป กิจกรรมการเรียนรู 1 ความ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั 1. บอกประวัติความเปน มาของนาฏศิลปพื้นบา นแตละภาคได 2. แสดงนาฏศิลปพ ้นื บา นไดอยางถูกตอ งและเหมาะสม 3. รคู ณุ คาและอนุรักษนาฏศิลปพ ื้นฐานและภูมปิ ญญาทองถิน่ คําชีแ้ จง 1. จงอธบิ ายความรูเกี่ยวกบั นาฏศิลปพ นื้ บา นของไทยมาพอสังเขป 2. ใหผ เู รียนศึกษาการแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานของทองถิ่นตนเอง โดยศึกษาประวัติ เปน มา รปู แบบการแสดง วิธีการแสดงและฝก หัดการแสดงอยา งนอ ย 1 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู 2 ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวัง - บอกความสัมพนั ธร ะหวา งนาฏศลิ ปพ น้ื บา นกับวฒั นธรรมประเพณีและภมู ิปญญาทองถ่นิ ได คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนศึกษานาฏศิลปพ ้ืนบานในทอ งถน่ิ หรอื ท่ีตนเองสนใจอยางลกึ ซึง้ - อทิ ธิพลใดมผี ลตอ การเกดิ นาฏศลิ ปพื้นบาน - แนวทางอนุรกั ษนาฏศลิ ปพ ้นื บา น
111 บทท่ี 4 การผลิตเครอื่ งดนตรี ปจ จัยหลกั ของการประกอบอาชีพ ส่ิงสําคัญของการเริ่มตนประกอบอาชีพอิสระ ตองพิจารณาวาจะประกอบอาชีพอิสระอะไร โอกาสและความสําเร็จมมี ากนอ ยเพยี งไร และตอ งเตรียมตัวอยางไรจึงจะทําใหประสบผลสําเร็จ ดังน้ัน จึงตอ งคํานึงถึงปจจยั หลักของการประกอบอาชพี ไดแ ก 1. ทนุ คือ ส่งิ ที่จําเปนปจ จยั พน้ื ฐานของการประกอบอาชีพ โดยตองวางแผนและแนวทางการ ดําเนินธุรกิจไวลวงหนา เพื่อท่ีจะทราบวาตองใชเงินทุนประมาณเทาไร บางอาชีพใชเงิน ทุนนอย ปญหายอมมีนอย แตถาเปนอาชีพท่ีตองใชเงินทุนมากจะตองพิจารณาวามีทุนเพียงพอหรือไมซ่ึงอาจ เปนปญ หาใหญ ถาไมพอจะหาแหลงเงินทุนจากที่ใด อาจจะไดจากเงินเก็บออม หรือจากการกูยืมจาก ธนาคาร หรือสถาบันการเงินอ่ืน ๆ อยางไรก็ตามในระยะแรกไมควรลงทุนจนหมดเงินเก็บออมหรือ ลงทนุ มากเกนิ ไป 2. ความรู หากไมม คี วามรูเพียงพอ ตองศึกษาหาความรูเพิ่มเติม อาจจะฝกอบรมจากสถาบันที่ ใหความรดู านอาชพี หรอื ทาํ งานเปน ลูกจา งคนอ่นื ๆ หรือทดลองปฏบิ ัตดิ วยตนเองเพ่ือใหม คี วามรู ความ ชํานาญ และมีประสบการณในการประกอบอาชพี น้ัน ๆ 3. การจดั การ เปนเร่ืองของเทคนคิ และวิธกี าร จงึ ตอ งรจู ักการวางแผนการทาํ งานในเร่อื งของ ตัวบุคคลทีจ่ ะรว มคิด รว มทําและรวมทนุ ตลอดจนเครือ่ งมือ เครอ่ื งใชและกระบวนการทํางาน 4. การตลาด เปน ปจจัยที่สําคัญมากที่สุดปจจัยหน่ึง เพราะหากสินคาและบริการท่ีผลิตข้ึนไม เปนท่นี ิยมและไมสามารถสรา งความพอใจใหแกผ บู ริโภคได ก็ถือวากระบวนการท้ังระบบไมประสบ ผลสาํ เร็จ ดังนัน้ การวางแผนการตลาดซ่งึ ปจ จบุ นั มีการแขงขนั สูง จึงควรไดร บั ความสนใจในการพัฒนา รวมท้ังตองรแู ละเขา ใจในเทคนิคการผลติ การบรรจแุ ละการหีบหอ ตลอดจนการประชาสัมพนั ธ เพ่ือให สินคาและบรกิ ารของเราเปน ทนี่ ิยมของลูกคา กลมุ เปา หมายตอไป ขอแนะนาํ ในการเลือกอาชพี กอ นตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพใด ๆ กต็ าม ควรพจิ ารณาอยา งรอบคอบ ซ่งึ มขี อแนะนํา ดงั นี้ 1. ควรเลอื กอาชีพทีช่ อบหรอื คดิ วา ถนัด ควรสํารวจตัวเองวาสนใจอาชีพอะไร ชอบหรือถนัด ดานไหน มีความสามารถอะไรบาง ที่สําคัญคือตองการหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะ
112 เหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว กลาวคือพิจารณาลักษณะงานอาชีพ และพิจารณาตัวเอง พรอมท้ัง บคุ คลในครอบครัวประกอบกนั ไปดว ย 2. พัฒนาความสามารถของตัวเอง คอื ควรศึกษารายละเอียดของอาชีพที่จะเลือกไปประกอบ ถาความรูความเขาใจยังมีนอย มีไมเพียงพอก็ตองทําการศึกษา ฝกอบรม ฝกปฏิบัติเพิ่มเติมจากบุคคล หรือหนวยงานตา ง ๆ ใหม พี ้ืนฐานความรคู วามเขา ใจในการเริม่ ประกอบอาชพี ทถ่ี กู ตอง เพื่อจะไดเ รียนรู จากประสบการณจริงของผูมีประสบการณมากอน จะไดเพิ่มโอกาสความสําเร็จสมหวังในการไป ประกอบอาชีพนน้ั ๆ 3. พิจารณาองคประกอบอ่นื ที่เกี่ยวของ เชน ทําเลที่ต้ังของอาชีพที่จะทําไมวาจะเปน การ ผลิต การจาํ หนาย หรอื การใหบ รกิ ารก็ตาม สภาพ แวดลอมผรู ว มงาน พ้ืนฐานในการเร่มิ ทําธุรกจิ เงนิ ทุน โดยเฉพาะเงนิ ทุนตอ งพิจารณาวามีเพยี งพอหรอื ไมถ าไมพ อจะหาแหลง เงนิ ทนุ จาก ทใ่ี ด อาชพี การผลติ ขลยุ ขลยุ จาํ แนกเปนประเภทตาง ๆ ไดดงั น้ี ขลุยหลบิ หรือขลยุ หลีกหรอื ขลุย กรวด เปน ขลุย ขนาดเลก็ เสยี งสงู กวา ขลุย เพยี งออเปนคูส่ี ใชใ น วงมโหรเี ครอ่ื งคู เครือ่ งใหญ และวงเครื่องสายเครื่องคโู ดยเปน เคร่ืองนําในวงเชน เดียวกบั ระนาดหรือซอ ดว งนอกจากน้ยี งั ใชในวงเครื่องสายปชวาเพราะขลุยหลิบมีเสียงตรงกับเสียงชวาโดยบรรเลงเปนพวก หลังเชน เดยี วกบั ซออู ขลยุ เพียงออ เปนขลุยที่มีระดับเสียงอยูในชวงปานกลาง คนท่ัวไปนิยมเปาเลน ใชใน วง มโหรหี รอื เครื่องสายทว่ั ๆ ไป โดยเปนเครื่องตามหรืออาจใชในวงเคร่ืองสายปชวาก็ไดแตเปายากกวา ขลุย หลบิ เนือ่ งจากเสยี งไมต รงกบั เสียงชวาเชนเดยี วกับนาํ ขลุยหลิบมาเปา ในทางเพียงออตองทดเสียงขึ้น ไปใหเ ปน คู 4 นอกจากน้ยี ังใชใ นวงปพ าทยไ มนวมแทนปอ กี ดว ย โดยบรรเลงเปนพวกหนา ขลยุ อู เปนขลุยขนาดใหญ เสียงต่ํากวาขลุยเพียงออสามเสียง ใชในวงปพาทยดึกดําบรรพ ซ่ึง ตอ งการเครื่องดนตรีทีม่ เี สียงตาํ่ เปนพืน้ นอกจากน้ใี นอดีตยงั ใชในวงมโหรีเครื่องใหญ ปจจุบันไมไดใช เนอื่ งจากหาคนเปา ท่มี คี วามชาํ นาญไดย าก
113 ลักษณะขลยุ ท่ีดี ขลุยโดยทัว่ ไป ทาํ จากไมไผ ซึ่งเปน ไมไผเฉพาะพันธุเทานน้ั ปจ จบุ นั นไ้ี มไผท ีท่ ําขลุยสวนใหญ มาจากสระบุรี และนครราชสมี า นอกจากไมไผแ ลวขลยุ อาจทําจากงาชาง ไมชิงชัน หรือไมเน้ือแข็งอ่ืน ๆ และปจ จุบนั มีผูนาํ พลาสตกิ มาทาํ ขลยุ กนั บางเหมอื นกัน ในเรื่องคุณภาพนั้น ขลุยที่ทําจากไมไผจะดีกวาขลุยท่ีทําจากวัตถุอื่น เนื่องจากไมไผเปน รูกระบอกโดยธรรมชาติมีผิวทั้งดานนอกดานในทําใหลมเดินสะดวก เม่ือถูกนํ้าสามารถขยายตัวได สัมพันธก บั ดากทาํ ใหไ มแตกงา ย นอกจากนีผ้ ิวนอกของไมไ ผส ามารถตกแตง ลายใหสวยงามได เชน ทํา เปนลายผาปูม ลายดอก ลายหิน ลายเกร็ดเตา เปนตน อีกประการหน่ึงที่สําคัญคือ ไมไผมีขอโดย ธรรมชาติ ซงึ่ โดยทวั่ ๆ ไป จะเหน็ วา สวนปลายของขลุยดานทไี่ มใชเปาน้ันมีขอติดอยูดวยแตเจาะเปนรู สําหรับปรบั เสยี งของน้วิ สดุ ทายใหไ ดร ะดบั สวนของขอทเี่ หลอื จะทําหนา ทีอ่ มุ ลมและเสียง ใหเ สยี งขลุย มคี วามกังวานไพเราะมากข้นึ ซึ่งถาเปน ขลุย ทที่ าํ จากวัสดุอ่ืนโดยการกลึง ผูทําอาจไมคํานึงถึงขอนี้อาจ ทาํ ใหข ลุยดอยคณุ ภาพไปได ดงั ที่กลาวมาแลววาขลยุ ทดี่ ีควรทํามาจากไมไ ผ นอกจากนี้ก็ควรพิจารณาส่ิงอื่น ๆ ประกอบไป ดวย 1. เสยี ง ขลยุ ทใี่ ชไดดเี สียงตองไมเ พย้ี นต้ังแตเสียงต่ําสุดไปจนถึงเสียงสูงสุด คือทุกเสียงตอง หางกันหน่ึงเสียงตามระบบของเสียงไทย เสียงคูแปดจะตองเทากันหรือเสียงเลียนเสียงจะตองเทากัน หรอื นิว้ ควงจะตองตรงกนั เสยี งแทเสียงตอ งโปรงใสมีแกวเสยี งไมแหบพราหรือแตก ถานําไปเลน กับเครื่องดนตรีท่ีมีเสียงตายตัว เชน ระนาดหรือฆองวงจะตองเลือกขลุยท่ีมีระดับเสียงเขากับเครื่อง ดนตรเี หลา นน้ั 2. ลม ขลยุ ทด่ี ตี อ งกนิ ลมนอยไมห นกั แรง เวลาเปา ซง่ึ สามารถระบายลมไดงาย 3. ลกั ษณะของไมท ่นี ํามาทํา จะตอ งเปนไมท่ีแกจัดหรือแหงสนิท โดยสังเกตจากเสี้ยนของไม ควรเปน เสยี้ นละเอยี ดทมี่ สี นี ํา้ ตาลแกคอ นขา งดํา ตาไมเลก็ ๆ เน้อื ไมหนาหรือบางจนเกินไป คือตอง เหมาะสมกบั ประเภทของขลยุ วาเปน ขลยุ อะไร ในกรณที เ่ี ปน ไมไผถาไมไมแกจัดหรือไมแหงสนิท เม่ือ นาํ มาทาํ เปน ขลุยแลวตอ ไปอาจแตกราวไดงาย เสยี งจะเปลยี่ นไป และมอดจะกนิ ไดง า ย 4. ดาก ควรทําจากไมสักทอง เพราะไมมีขุยหรือขนแมวขวางทางลม การใสดากตอง ไมชิดหรือหางขอบไมไผจนเกินไปเพราะถาชิดจะทําใหเสียงทึบ ต้ือ ถาใสหางจะทําใหเสียงโวง กินลมมาก 5. รตู า งๆบนเลาขลุย จะตองเจาะอยางประณีตตอ งเหมาะกับขนาดของไมไผไ มกวางเกินไป ขลยุ ในสมัยกอ นรูตาง ๆ ท่ีนิ้วปดจะตองกวานดา นในใหเวา คือผิวดานในรูจะกวางกวาผิวดานนอก แต ปจจุบนั ไมไ ดก วา นภายในรูเหมอื นแตก อนแลว ซึ่งอาจจะเน่ืองมาจากคนทําขลุย ตองผลิตขลุยคราวละ มาก ๆ ทาํ ใหละเลยในสว นน้ีไป
114 6. ควรเลือกขลุยทมี่ ีขนาดพอเหมาะกบั นิ้วของผเู ปา กลาวคือ ถา ผเู ปามีนิ้วมือเล็กหรอื บอบบาง ก็ควรเลอื กใชขลยุ เลาเลก็ ถา ผเู ปา มมี ืออวบอวน กค็ วรเลอื กใชขลยุ ขนาดใหญพ อเหมาะ 7. ลกั ษณะประกอบอืน่ ๆ เชน สผี วิ ของไมส วยงาม ไมมีตําหนิ ขดี ขว น เทลายไดสวยละเอียด แต ส่งิ เหลานกี้ ไ็ มไ ดมีผลกระทบกบั เสยี งขลุย แตอ ยา งใด เพยี งพิจารณาเพอ่ื เลือกใหไ ดขลุยที่ถูกใจเทา นั้น ข้ันตอนการทําขลยุ 1. เลือกไมไ ผร วกทม่ี ีลาํ ตรง ไมคดงอ มาตัดเปนปลอ ง ๆ โดยเหลือนิดหน่ึง คัดเลือกขนาดตาม ชนดิ ของขลุย 2. นาํ ไมไผรวกทต่ี ดั แลวไปตากแดด จนไมเปล่ียนจากสีเขยี วมาเปนสีเหลือง ซึ่งแสดงวาไมไผ รวกแหง สนทิ พรอมทจี่ ะนํามาทาํ ขลุย ตากแดดประมาณ 7-10 วนั 3. นาํ กาบมะพรา วชุบน้ําแตะอิฐมอญที่ปนละเอียด ขัดไมรวกใหข้ึนมันเปนเงาวาว อาจจะใช ทรายขดั ผิวไมไผรวก กอนจะขัดดว ยอิฐมอญก็ได 4. ใชน ้ํามันหมู หรอื นาํ้ มันพืช ทาผวิ ไมไผรวกใหทัว่ เพื่อใหต ะกวั่ ท่ีรอ นตดั ผิวไมรวก เวลาเท ตอจากนนั้ เอาไมสอดจับขลุยพาดปากกะทะ ซึ่งในกะทะมีตะก่ัวหลอมละลายบนเตาไฟ ใชตะหลิวตัก ตะกว่ั ทห่ี ลอมเหลวราดบนไมไ ผร วก จะเกิดลวดลายงาม เรยี กวา เทลาย 5. เมื่อไดลวดลายตามตองการแลว นําขลยุ ไปวัดสัดสวน 6. เจาะรูตามสัดสวน โดยเอาสวา นเจาะนาํ รู แลว เอาเหล็กแหลมเผาไฟจนแดง ตามรูท่ีใชสวาน เจาะนาํ ไวแลว และเจาะทะลุปลอ งขอ ไมไ ผร วกดว ย 7. เอามีดตอกแกะดากปากขลุย ไมดาก คือ ไมสัก เพราะวาเปนไมที่เนื้อไมแข็ง งายตอ การ แกะ 8. ทําดากปากขลุย อุดปากขลุย โดยใหม รี ูสําหรบั ลมผานเวลาเปา 9. เลือ่ ยใหด ากเสมอกบั ปลายขลยุ 10. ใชม ดี หรือเหล็กปลายแหลม เจาะปากนกแกว ทาํ ไมไผร วกเปน รูปส่ีเหล่ียมใตดากปากขลุย ประมาณ หนึง่ น้วิ เศษ เราเรียกรนู วี้ า รูปากนกแกว 11. ใชข้ีผึ้งที่หั่นเปนชิ้นเล็ก ๆ กรอกเขาไปทางดานปลอง ท่ีตรงขามกับดากปากขลุย พอประมาณ กะพอวาเมอ่ื ข้ีผงึ้ ละลาย จะสามารถอุดรรู ัว่ ของลมเปาทดี่ ากปากขลุยได 12. ใชเ หล็กเจาะเผาไฟ แทงเขาทางปลอ งไปจนถงึ ดากปากขลุย ความรอนของเหล็ก จะทําให ข้ีผึง้ ทก่ี รอกเขา ไปกอนหนาน้ัน หลอมละลายเขาตามรอยรั่วตาง ๆ 13. เม่อื ข้ีผงึ้ เยน็ ลงและแข็งตัว ใชเ หลก็ แหยข ีผ้ ง้ึ ทอี่ ดุ รูสาํ หรบั ใหล มผาน ตรงดาก
115 ประสบการณท าํ ขลยุ ของชมุ ชนวัดบางไสไ ก ขลยุ บานลาว ( ชุมชนวัดบางไสไก ) ตั้งบานเรือนอยูระหวางริมคลองบางไสไกและ วัด หิรัญรูจี แขวงหริ ญั รูจี กรงุ เทพมหานคร กลาวกันวาชาวลาวท่ีชมุ ชนบางไสไ กน ้นั บรรพบรุ ษุ เดมิ เปน คน เวียงจนั ทร เมือ่ ถกู กวาดตอ นมาเปน เชลยศกึ ของไทย พวกเขาไดน ําความรใู นการทําขลุยและแคน ซ่ึงเปน เครอื่ งดนตรีพืน้ บานมาดว ย เนอ่ื งจากบรเิ วณที่ตั้งรกรากนน้ั อยแู ถววดั บางไสไ ก จงึ เรียกกันจนติดปากวา \"หมบู า นลาว\" คณุ จรินทร กล่ินบุปผา ประธานชุมชน ผูซึ่งเปนชาวลาวรุนท่ี 3 ไดสืบทอดวิชาการทําขลุยตอ จากคุณปูกลาววา \"ไมรวกท่ีใชทําขลุยตองส่ังตัดจากหมูบานทายพิกุล อําเภอพระพุทธบาท จังหวัด สระบุรี เมื่อไดไมมาแลวจะนาํ มาตดั เปน ทอ นตามความยาวของปลองไม และนําไปตากแดด 15 - 20 วัน เพ่ือใหเ น้อื ไมแหงสนิท แลวจึงคัดขนาด เลือกประเภท ขัดเงา แลวจึงเจาะรูขลุยโดยใชแคนเทียบเสียง สว นขนั้ ตอนทําลวดลายน้นั ใชตะกั่วหลอมใหเ หลว แลวใชชอนตักราดลงบนขลุยเปนลวดลายตาง ๆ เชน ลายพิกุล ลายตอก เปนตน จากน้ันจึงแกะปากนกแกวเพื่อตั้งเสียง ทําการดากขลุยโดยการเหลาไมสัก หรอื ไมเ นอ้ื แขง็ อดุ เขาไปในรู เวนชอ งสําหรบั ใหล มเปาผาน ตองทําใหระหวางปากขลุยกับปากนกแกว โคงเปน ทอ งชาง เพอ่ื ใหไ ดเสียงท่ไี พเราะ กงั วาน แลว จึงทดสอบดวู า ไดเ สยี งทม่ี าตรฐานหรือไม\"
116 ปจจุบันมีครอบครัวที่ประกอบอาชีพทําขลุยประมาณ 20 หลังคาเรือน ดวยคุณภาพและ ความมชี อื่ เสยี งมาตงั้ แตใ นอดีตของ \"ขลุยบานลาว\" ลูกคาสวนใหญจึงนิยมมาส่ังทําขลุยถึงในหมูบาน นอกเหนือจากการสง ขายตามรา นจาํ หนายเครือ่ งดนตรไี ทยทม่ี ชี ือ่ เสียง อาชีพการผลติ แคน แคน เปนเคร่ืองดนตรีที่มีความเกาแกมากท่ีสุด เปนเคร่ืองดนตรีท่ีมีความนิยมเปากันมาก โดยเฉพาะชาวจงั หวดั ขอนแกน ถอื เอาแคนเปนเอกลกั ษณชาวขอนแกน รวมทั้งเปนเครื่องดนตรีประจํา ภาคอสี านตลอดไป และในปจ จุบันนช้ี าวบานไดม ีการประดิษฐทาํ แคนเปน อาชีพอยา งมากมาย เชน อําเภอ นาหวา จังหวัดนครพนม จะทาํ แคนเปน อาชพี ทัง้ หมบู า น รวมทง้ั จงั หวัดอื่น ๆ อีกมากมาย และ แคนยังเปน เครือ่ งดนตรีท่ีนํามาเปาประกอบการแสดงตาง ๆ เชน แคนวง วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง รวมท้ังมกี ารเปา ประกอบพิธีกรรมของชาวอสี าน เชา ราํ ผีฟา ราํ ภูไท เปนตน รวมท้งั เปา ประกอบหมอลํา กลอน ลําเพลนิ ลําพน้ื รวมทัง้ หมอลําซิง่ ยังขาดแคนไมไ ด
117 ประเภทของแคน แคนเปน เครื่องดนตรปี ระเภทใชป ากเปา ดูดลมเขา -ออก ทาํ มาจากไมกูแคนหรือไมซาง ตระกูล ไมไ ผ มีมากในเทือกเขาภพู วน แถบจังหวดั รอยเอด็ จงั หวัดนครพนม ฝง ประเทศลาวและภาคเหนือของ ไทย ลักษณะนามการเรยี กช่อื แคนวา “เตา” แคนแบง ตามรปู รางและลักษณะการบรรเลงสามารถแบงออกไดท้งั หมด 4 ชนดิ คอื 1. แคนหก 2. แคนเจด็ 3. แคนแปด 4. แคนเกา สว นประกอบของแคน 1. ไมกแู คน 2. ไมเตาแคน 3. หลาบโลหะ (ลิน้ แคน) 4. ข้ีสทู 5. เครอื ยา นาง ประสบการณข องชา งฝมือพนื้ บาน \"การทาํ แคน\" นายลา ไพรสน เกิดเมื่อ ป พ.ศ. 2467 อายุ 82 ป อยูบานเลขท่ี 45 หมูที่ 9 บานทุงเศรษฐี ตําบลนครชุม อําเภอเมืองกําแพงเพชร จงั หวัดกําแพงเพชร ไปเทยี่ วท่จี งั หวัดรอยเอ็ด เห็นเขาทําแคน ก็ ซื้อมาขาย ปรากฏวา ขายดี จงึ คดิ ทําเองโดยไปหัดทาํ จากแหลง ผลิตที่จังหวัดรอ ยเอ็ด แลวมาทําเอง นายลา ไพรสน ไดย ึดอาชีพเปนชางทําแคน ซ่ึงเปนหัตกรรมเครื่องไม หรือผลิตภัณฑเคร่ืองดนตรีพื้นบานเปน ผลิตภณั ฑท ีม่ ีคุณคาเปน ภูมปิ ญ ญาทอ งถนิ่ ซง่ึ เปน กรรมวธิ ีในการผลิต ยงั ใชวิธกี ารพืน้ บา น ทาํ ดว ยความ ปราณตี สวยงาม เสียงเพราะ มีใหเลอื กหลายแบบ ผลิตข้นึ เองจนเปนอาชพี หลกั จนถงึ ปจ จบุ ัน บุคคลท่สี ามารถใชสตปิ ญญาของคนสัง่ สมความรู ประสบการณ เพ่ือการดาํ รงชพี และถายทอด จากคนรุนหนง่ึ ไปสคู นอีกรนุ หน่ึง ดว ยวธิ ีการตา ง ๆ ท้งั ทางตรงและทางออ ม โดยรักษาคุณคาดั่งเดิมไว
118 อยางมเี อกลกั ษณ และมีศกั ดศิ์ รี ทุกคนจะมหี ลกั การแบบเดียวกนั คอื การสืบทอดเช่ือมโยงอดีตมาใชใน ปจจุบัน แตจะมีวิธีการแตกตางกัน ไมมีรูปแบบหรือสูตรสําเร็จใด ๆ แตละทองถ่ินมีการเช่ือมโยง หลากหลายแตกตางกันไป ตามสภาพของหมูบาน กอใหเกิดภูมิปญญาทองถิ่น เรียกวา “ปราชญ ชาวบา น” หากมีการสบื ทอด และอนุรักษ สง เสริมอยางเปนระบบ ก็สามารถเพ่ิมคุณคาทางสังคม และ เพ่มิ มูลคาทางเศรษฐกิจเพอื่ เปน การเพิ่มรายไดใ หแ กประชาชนไดอกี ทางหน่ึง แคน เปนผลติ ภัณฑเ ครอื่ งดนตรพี น้ื บา น วสั ดทุ ใี่ ชในการผลิตเปนวัสดุธรรมชาติ หาไดจากปา ใกลบาน จากการปลูกในทองถนิ่ และจากการซ้ือหาในทองถ่ินที่ใกลเคียง เชน ไมรวก ไมซาง ซึ่งเปน พชื ตระกลู ไมไผ ขี้สทุ หรือชนั โรง หลาบโลหะ ไมเ นื้อแขง็ (สาํ หรบั ทําปลองแกนกลาง) ขื่อกลาง (ทํา ดว ยไมไผสีสกุ ), หนิ ฟลอไรท (สําหรบั ทาํ รอบล้นิ ) การถายทอดการเรียนรู 1. สอนบตุ รหลานในครอบครวั 2. เปน วทิ ยากรภายนอก สอนดา นการทาํ แคน และการเปาแคนใหกบั นกั เรยี นในโรงเรียน และ ผูที่สนใจในตําบลนครชุม และตําบลใกลเคียงในเขตอําเภอเมืองกําแพงเพชร จังหวัด กําแพงเพชร ราคาในการจาํ หนาย แคนลูกทุง (แคนเลก็ ) อันละ 1,200 บาท แคนลาว (แคนใหญ) อันละ 1,500 บาท การผลติ จะทาํ ไดอ าทิตยละ 1 อัน รายไดเฉลี่ยตอป ประมาณ 30,000 – 40,000 บาทตอป สถานทีส่ อบถามขอมลู มีจําหนายที่บานลุงลา ไพรสน เลขที่ 45 หมูที่ 9 บานทุงเศรษฐี ตําบลนครชุม อําเภอเมือง กาํ แพงเพชร จังหวดั กําแพงเพชร ตดิ ตอ ไดท ท่ี าํ การกลุมทาํ แคน 78 บา นทาเรอื หมู 1 ตาํ บลทาเรือ อําเภอนาหวา (เจา หนาท่ี นายสุกร ชัยบิน โทร.0-4259-7532, 0-6218-2817 )
119 อาชีพการผลิตกลองแขก กลองแขก เปนเครอ่ื งดนตรปี ระเภทเคร่อื งตี ท่ีมรี ปู รา งยาวเปน รปู ทรงกระบอก ขนึ้ หนงั สองขาง ดว ยหนงั ลูกววั หรือหนงั แพะ หนา ใหญ กวางประมาณ 20 เซนติเมตร เรยี กวา หนา ลุย หรือ \"หนามดั \" สวนหนา เล็กกวางประมาณ 15 เซนติเมตร เรยี กวา หนา ตานหรอื \"หนาตาด\" ตวั กลองหรือหุนกลอง สามารถทําข้นึ ไดจากไมห ลายชนดิ แตโ ดยมากจะนยิ มใชไ มเน้อื แขง็ มาทําเปนหนุ กลอง เชน ไมชิงชนั ไม มะรดิ ไมพยงุ กระพเี้ ขาควาย ขนนุ สะเดา มะคา มะพรา ว ตาล กามปู เปนตน ขอบกลองทาํ มาจากหวาย ผาซกี โยงเรยี งเปนขอบกลองแลวมว นดว ยหนังจะไดข อบกลองพรอมกับหนากลอง และถูกขึงใหต ึงดว ย หนงั เสนเลก็ เรียกวา หนงั เรยี ดเพ่อื ใชใ นการเรงเสียงใหหนา กลองแตล ะหนาไดเ สยี งที่เหมาะสมตาม ความพอใจ กลองแขกสํารบั หนง่ึ มี 2 ลูก ลกู เสียงสงู เรียก ตวั ผู ลูกเสยี งตา่ํ เรยี ก ตวั เมีย ตดี ว ยฝา มอื ทง้ั สองขา งใหส อดสลบั กันทั้งสองลกู ลักษณะเสยี ง กลองแขกตัวผู มีเสียงท่ีสูงกวากลองแขกตัวเมียโดย เสียง \"ติง\" ในหนามัด และเสียง โจะ ใน หนา ตาด กลองแขกตัวเมีย มีเสียงที่ต่ํากวากลองแขกตัวผู โดย เสียง ทั่ม ในหนามัด และเสียง จะ ใน หนาตาด วิธกี ารบรรเลง การบรรเลงน้นั จะใชม ือตีไปท้งั สองหนา ตามแตจ งั หวะหรือหนาทับที่กําหนดไว ในหนาเล็กหรือ หนาตาด จะใชนว้ิ ช้หี รอื นวิ้ นางในการตี เพ่อื ใหเกดิ เสียงท่เี ล็กแหลม ในหนามัดหรือหนาใหญ จะใชฝา
120 มอื ตีลงไปเพอ่ื ใหเ กดิ เสียงที่หนกั และแนน ซึ่งมีวธิ กี ารบรรเลงท่ลี ะเอียดออนลงไปอีกตามแตกลวิธีท่ีครู อาจารยแ ตละทา นจะชี้แนะแนวทางการปฏิบตั ิ บุคคลทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ในการทํากลองแขก ครูเสนห ภักตรผ อง เครอ่ื งดนตรีไทยเปน มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ อันแสดงออกถึงภูมิปญญาต้ังแตอดีตของ บรรพบรุ ุษไทยทสี่ ืบทอดมาจนถงึ ปจ จุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตรตั้งแตสมัยสุโขทัย ไดมีการ กลาวถงึ การบรรเลงดนตรี และเคร่อื งดนตรีไวในศลิ าจารกึ ใหเ ราทราบไดถ ึงความเจรญิ รงุ เรอื งในอดีต กาลวาการรองรําทําเพลงหรือความเปนคนเจาบทเจากลอน มีสํานวนโวหารท่ีคนไทยซึมซับอยูใน สายเลือด เปนความละเมียดละไม เสนหแหงวิถีชีวิตแบบไทย ที่เปนเอกลักษณซึ่งชาวไทยสามารถ กลา วอา งไดอยางภาคภูมิใจ ครูเสนห ภักตรผอง เปนชางทํากลองแขกที่มีฝมือ ดวยกรรมวิธีแบบโบราณที่เปน เอกลักษณซึ่งตางจากชางคนอ่ืน ๆ กลาวคือ เปนข้ันตอนการทํามือทุกอยาง โดยไมใชเคร่ืองทุนแรง สมยั ใหม อกี ทง้ั รปู ลักษณข องกลอง กส็ วยงามพิถพี ถิ นั ในรปู ทรงสดั สวนและมีเสียงเหมาะสมพอดีทุก เสียง เพราะวัสดุที่นํามาใชลวนเลือกสรรมาจากธรรมชาติ เชนขอบกลองทําจากไมไผขด ตางกับ ปจ จบุ ันทใ่ี ชพ ลาสติก หรอื ไมกลงึ ทาํ ใหมีผลตอคณุ ภาพของเสียง สดั สวนและองคป ระกอบของกลองแขก มดี งั ตอไปนี้ 1. หุนกลอง ทาํ ดว ยไมเ น้ือแขง็ เชน พะยูง ชงิ ชนั ประดู และอ่นื ๆ นาํ มากลงึ และควา น มรี ปู รา งยาวเปนทรงกระบอกความยาว 24 นว้ิ ปากกลองหนาใหญก วา ง 8.5 นว้ิ เรียกวา หนารุย หนา เลก็ กวาง 7.5 นิ้วเรียกวา หนาตาน ความปอ งของกระพุง 10.5 น้วิ โดยนบั จากปากหนา ลุยลงมา 8 นว้ิ อนั เปนเอกลักษณของครู เสนห ภกั ตรผอ ง คอื ไมปอ งมาก เมือ่ ข้นึ หนา กลองแลวจะดสู มสวน 2. ขอบกลอง ทาํ ดวยไมไผขด พันทับดวยหวาย แตปจจุบันเปลี่ยนมาใชเสนพลาสติกแข็ง แทน โดยจักเปน เสน เล็ก ๆ พันหมุ ขอบไมไผที่ขดไว ขอบหนาใหญกวาง 9 น้ิว หนาเล็ก 8 น้ิว พันหุม ขอบดวยหนงั ววั ทั้ง 4 หนา เม่อื หมุ หนงั แลวเรียกวาหนากลองโดยเนนใหขอบกระชับกับปากของหุน กลองไมแ บะอา อันเปน กรรมวิธีที่เปนภูมิปญญาของครู เสนห เพราะขอบกลองที่กอดกระชับกับหุน กลอง จะชวยใหเสยี งกลองดังกังวานขนึ้ 3. หนังเรียด ทําจากหนังควายที่มีความหนาประมาณ 2 – 3 มิลลิเมตร นํามาตัดเปน เสน ความกวาง 4 หุน ความยาว 12 เมตร โดยกรรมวิธีโบราณ คือใชมีดตัดดวยมือ ตางจากการใช เครื่องชกั เรียดทีช่ า งสวนใหญใ ชใ นปจ จุบัน และเอกลกั ษณข องครเู สนหค อื หนงั เรยี ดท่ีเสนไมโตมากทํา ใหสาวเรงเสียงไดงายและรักษาหนากลองไมใหขาดเร็ว โดยเฉพาะหนาตานท่ีใชหนังบาง จะมีอายกุ ารใชงานยาวนานขนึ้
121 4. หชู อ ง คือสว นของการผูกปมหนงั ชวงตน และปลายโดยการนาํ หนังเรียดท่ีเหลือมาขดแลว ผูกเขากับหวงเหล็กอันนับเปนเอกลักษณของกลองแขกครูเสนห เพ่ือความสวยงามในการเก็บ หนงั ในขณะทกี่ ลองแขกของชา งอืน่ มักใชก รรมวธิ ีผูกหนังเปนปมแทนการใชหวง การขดวงหนังเขา ในหูชอ งขึ้นอยกู ันหนงั ทเ่ี หลอื จากการสาวกลองแลว แตไ มควรใหยาวจนเกินไป ประมาณไมเกิน 2 ฟุต เม่ือมวนเก็บเปนวงกลมจะดูสวยงาม กรรมวิธใี นการทํากลองแขก มี 5 ขั้นตอนคือ 1. การทาํ ขอบกลองดว ยไมไผ 2. การมวนหนากลอง 3. การตดั หนงั เรียด 4. การขนึ้ กลอง 5. การสาวกลอง ข้ันตอนทีส่ าํ คญั ไดแก การทําขอบและการมว นหนา กลอง เอกลกั ษณข องกลองแขกมีดงั น้ี 1. รูปทรงสวยงามไดสัดสวนพอเหมาะ 2. เสยี งดงั กังวานทุกเสยี งถกู ตอ งตามความนยิ ม 3. ทนทานไมข าดงายมีอายุการใชง านยาวนาน ตอ งการทราบขอ มูลเพมิ่ ไดท ่ี อาจารยภูมิใจ รืน่ เริง โทร.086-3385304 e-mail : ruenroengthaimusic@gmail.com ตัวอยางราคากลองแขก กวาง 30 เซนตเิ มตร ยาว 30 เซนตเิ มตร สงู 65 เซนตเิ มตร ราคาขายปลกี 1,600 บาท สถานที่จําหนา ย กลมุ อาชีพทาํ กลอง 46 หมู 6 บานปากนํ้า ตาํ บลเอกราช อาํ เภอปา โมก จังหวัดอา งทอง รหสั ไปรษณีย 14130 ติดตอ : คุณเฉลมิ เผา พยัฆ โทร : 035 661914, 035 661309, 08 1734 1406, 08 1899 5077, 08 1587 4841
122 ชางทาํ เครือ่ งดนตรีไทย กรงุ เทพมหานคร มีแหลง ซ้ือขายเครื่องดนตรีไทย อยมู ากมาย มีทั้งรานขายปลีก และรา นขายสง เชน ศกึ ษาภณั ฑพ าณิชย ถนนราชดาํ เนนิ และ ถนนลาดพรา ว รานสยามวาทิต ถนนอรุณอัมรินทร รานดุ ริยบรรณ ถนนสโุ ขทัย หางพัฒนศิลปการดนตรีและละคร ถนนสามเสนบางกระบือ รานภมรรุงโรจน สาขาเซ็นทรัลปนเกลา รานจิหรรษา ดิโอลดสยามพลาซา รานสมชัยการดนตรี ซอยวัดยางสุทธาราม ถนนพรานนก ใกลสามแยกไฟฉาย นอกจากนน้ั จะมีอยทู ีย่ า นเวิง้ นาครเขษม ยา นหลังกระทรวงกลาโหม ถนนอัษฎางค ริมคลองหลอด ยา นสวนจตุจกั ร เปน ตน ท่ีอยูของชา งทําเครอื่ งดนตรใี นเขตกรงุ เทพมหานคร นายสมชัย ขาํ พาลี 795/3 ซอยวัดยางสุทธาราม ใกลสามแยกไฟฉาย ถนนพรานนก แขวงบาน ชา งหลอ เขตบางกอกนอ ย กรงุ เทพมหานคร 10700 โทร 4112528 ทาํ การผลิต เครื่องดนตรีไทยทุกชนิด ขายสง และปลกี มีโรงงานอุตสาหกรรมเครอ่ื งดนตรที ่จี งั หวดั กาญจนบุรี และ เปด กจิ การราน \"สมชัยการ ดนตรี\" ดว ย 1. นายจํารัส (ชางนพ) สุริแสง 30 ซอยชัยวัฒนะ ถนนวุฒากาศ แขวงบางคอ เขตบางขุน เทยี น กรงุ เทพมหานคร โทร 4771359 ทาํ การผลติ ซอดวง รูปสวย คณุ ภาพดี มสี ลักชอื่ \"ชางนพ\" ฝงไว ดวย 2. นายวินิจ (ชา งเลก็ ) พุกสวัสด์ิ 478/1 หมู 10 ซอยเพชรเกษม 67 ถนนเพชรเกษม แขวงบาง แค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท 4215699 01 - 8277718 ทําการผลิต ขิมตอลายไม จะเข ซอดวง ซออู และ ขลยุ ปรบั เสียง จังหวัดนนทบรุ ี 1. นางองุน บัวเอี่ยม 81/1 ซอยม่ิงขวัญ 5 ถนนติวานนท 2 ตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัด นนทบรุ ี โทรศพั ท 5261352 ทําการผลิต องั กะลงุ 2. นายพัฒน บวั ท่ัง 49/2 หมู 5 รานดุริยศัพท ถนนประชาราษฎร ตําบลตลาดขวัญ อําเภอ เมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 ทําการผลติ องั กะลงุ ขิม ฆอง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา 1. นายสมบญุ เกิดจนั ทร 34 หมู 7 ต.พระขาว อาํ เภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ทาํ การ ผลิต และ ตกแตง เครื่องปพ าทยม อญ ลงรกั ปด ทอง ปดกระจก และ ขบั รอ ง 2. นายประหยัด (ลุงตอ) อรรถกฤษณ 48/12 หมู 2 ตําบลทาวาสุกรี อําเภอเมือง จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา โทรศัพท 035 - 243552 ทําการผลิต หนังเพอื่ ขายสงตอ ข้นึ หนา กลอง จงั หวดั สุพรรณบุรี 1. นายชวน บญุ ศรี 87 หมู 1 ต.ตะครา อําเภอบางปลามา จงั หวดั สุพรรณบุรี โทรศัพท 035 - 587843 ทาํ การผลติ องั กะลงุ และ ทาํ ผนื ระนาด
123 จงั หวดั เพชรบรุ ี 1. นายลภ ปญ ญาสาร 50 หมู 1 ตาํ บลหวยโรง อําเภอเขายอย จังหวดั เพชรบรุ ี ทาํ การผลิต กลอง ยาว กลองทดั กลองแขก กลองตุก โทน รํามะนา เปง มาง ตะโพน จังหวัดนครปฐม 1. นายสวาท ม่ันศรจี ันทร 26/37 ตําบลบางแขม อําเภอเมือง จงั หวัด นครปฐม 73110 โทรศัพท 034 - 272881 ทําการผลิต ผนื ระนาดเอก ระนาดทุม 2. นายเชาว ชาวนาเปา 23/1 ม 6 ตําบลทาตลาด อําเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม 73110 โทรศัพท 034 - 321231 ทาํ การผลิต ซอสามสาย ซอดว ง ซออู ผลติ จากไมและงา จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 1. นายประหยดั จาบกุล 121 หมู 13 ตําบลดงนอย อาํ เภอราชสาสน จ. ฉะเชิงเทรา ทําการผลิต ผนื ระนาดเอก ผืนระนาดทมุ 2. นายทอง อยูสิทธิ 1 หมู 4 ตําบลหัวลําโพง อําเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา โทรศัพท 038- 853326 ทาํ การผลติ ผืนระนาดเอก ผืนระนาดทุม จังหวดั นครนายก 1. นายพิบลู ย (เกง) นิลวิไลพนั ธ 42/1 หมู 8 ตาํ บลศรนี าวา อําเภอเมอื ง จงั หวดั นครนายก 26000 โทรศพั ท 037 - 313261 ทาํ การผลิต หลอลูกฆอ ง ไทย มอญ จําหนา ยรา นฆอ ง จังหวัดพษิ ณโุ ลก 1. นายพลอย อ่าํ คมุ 215 หมู 6 ตําบลหัวรอ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั พิษณโุ ลก 65000 โทรศพั ท 055- 213166 ทําการผลติ ซอดวง ซออู จงั หวัด รอ ยเอด็ 1. นายเคน สมจินดา 39 หมู 5 ตําบลศรีแกว อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด 45000 โทรศัพท 01- 4180241 ทําการผลิต แคน มชี ือ่ เสียงมาก (พอ เคน ทาํ แคน) เคยไปสาธติ ท่ีอเมริกา จังหวัด กาฬสินธุ 1. นายเปล้อื ง ฉายรศั มี (ศิลปนแหงชาติ) 229/4 ถนนเกษตรสมบูรณ ตําบลกาฬสินธุ อําเภอ เมือง จหวัดกาฬสินธุ 46000 โทรศัพท 043 - 820366 ทําการผลิต พิณ โปงลาง พิณเบส หมากกะโลง โปงลางเหล็ก โปงลางไมไผ และ ทาํ การสอนท่วี ทิ ยาลัยนาฎศิลปกาฬสนิ ธุ จังหวัดสงขลา 1. นายอรุณ บันเทิงศิลป 24/1 หมู 1 ตําบลคลองอูตุเภา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ทําการผลิต โหมง ฟาก และ รางโหมง 2. นายธรรม ทองชุมนุม 695 หมู 2 ถนนรัตภูมิ ตําบลควนเนียง อําเมืองควนเนียง จังหวดั สงขลา ทําการผลิต กลองยาว และ กลอง
124 จงั หวดั เชยี งใหม 1. นายบุญรัตน ทิพยรัตน 108 หมู 10 ซอยชมจันทร ถนนเชียงใหม ฮอด ตําบลปาแดด อ.เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50100 โทรศัพท 053-281917 ทําการผลิต เคร่ืองสายไทยทุกชนิด เคร่ือง ดนตรีพื้นเมืองเหนือทุกขนิด บัณเฑาะว กระจับป (สัดสวนแบบโบราณ) พิณเปยะ พิณนํ้าเตา ทําซอสาม สายกะลาดัด ขึ้นหนา ซอดว ยหนงั แพะ และรับซอ ม 2. นายวเิ ทพ กันทิมา 106 หมู 20 บานน้าํ โทง ตาํ บลสบแมขา อาํ เภอหางดง จังหวัดเชยี งใหม 50200 หรือ วทิ ยาลัยนาฎศิลปเชียงใหม ถนนสุริยวงศ ตําบลหายยา อําเภอเมือง โทรศัพท 053-271596 ทําการผลติ เครอ่ื งสายไทยทกุ ชนดิ และเครอื่ งดนตรีพ้นื เมอื ง จังหวดั ลําพูน 1. พอหลวงป สิทธิมา 49 หมู 10 หมูบานนํ้าเพอะพะ ตําบลสายหวยกราน-หนองปลาสวาย อาํ เภอบานโฮง จงั หวัดลําพูน 51130 โทรศพั ท 053-591330 ผลิต กลองหลวง กลองสบสัดชัย กลองปูเจ รบั ทําหนา กลอง ฉาบ ฉ่งิ ฆอ ง จงั หวดั ลําปาง 1. นายมานพ ปอนสืบ 833/1 หมู 5 บานแมทะ ตําบลทุงฝาย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง โทรศัพท 054-358483 ผลติ ขมิ สาย กิจกรรมทา ยบท ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวัง อธิบายและบอกแนวทางการประกอบอาชีพการผลติ เคร่อื งดนตรีพืน้ บานได คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนอธบิ ายคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. อธิบายขน้ั ตอนแนวทางการประกอบอาชพี การผลิตขลุย 2. อธบิ ายขนั้ ตอนแนวทางการประกอบอาชีพการผลติ แคน 3. อธิบายขนั้ ตอนแนวทางการประกอบอาชพี การผลติ กลองแขก
125 บรรณานกุ รม จีรพนั ธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชีวิต. กรุงเทพฯ, เทเวศรสเตชนั้ เนอร, 2515. ชลิต ดาบแกว . การเขยี นทัศนียภาพ. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร, 2541. ชน้ิ ศลิ ปะบรรเลง และวเิ ชยี ร กลุ ตัณฑ. ศลิ ปะการดนตรีและละคร. พระนคร, กรมสามัญศกึ ษา, 2515. ทวีศักดิ์ จรงิ กิจและคณะ. พัฒนาทักษะชวี ติ 2. กรุงเทพฯ, วฒั นาพานิช สาํ ราญราษฏร, 2544. ธนติ อยูโพธ.์ิ ศลิ ปะละครรํา. กรุงเทพฯ, ชุมนุมสหกรณ และการเกษตรแหงประเทศไทย, 2531. ประติมากรรมเพือ่ ประโยชนใ ชสอย. สารานุกรมไทยสาํ หรับปวงชน. เลมที่ 14, กรงุ เทพมหานคร. ภูมปิ ญญาทองถนิ่ ไทย กรมทรัพยสนิ ทางปญญา. นนทบุรี. ยศนันท แยม เมือง และคณะ. ทศั นศลิ ป. พิมพค รัง้ ที่ 1, กรงุ เทพมหานคร. ไทยวฒั นาพานชิ , 2546. วชิ าการ, กรม. ทฤษฏีและปฏบิ ตั กิ ารวิจารณศ ลิ ปะ. กรงุ เทพฯ, องคการคาของครุ ุสภา, 2532. สชุ าติ เถาทอง และคณะ. ศิลปะทัศนศลิ ป. กรงุ เทพฯ, อกั ษรเจรญิ ทัศน, 2546 อภศิ ักด์ิ บญุ เลิศ. วาดเขยี น. กรงุ เทพฯ, โอเดยี นสโตร, 2541. อาภรณ อินฟาแสง. ประวตั ิศาสตรศลิ ป. กรงุ เทพฯ, เทเวศรสเตชัน่ เนอรร,่ี 2512 อาภรณ อินฟา แสง. ทฤษฎสี .ี กรงุ เทพฯ, เสริมสนิ , 2510.
126 คณะผจู ดั ทาํ ท่ปี รึกษา 1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชยั ยศ อมิ่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. ทป่ี รกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสตู ร กศน. 3. นายวัชรินทร จาํ ป ผูอํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขาราชการบํานาญ กศน. เฉลมิ พระเกรี ยติ จ.บรุ รี มั ย 5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ สถาบนั กศน. ภาคใต สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก ผเู ขียนและเรียบเรยี ง สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายจาํ นง วนั วชิ ยั คณะเลขานกุ าร 2. นางสรญั ณอร พัฒนไพศาล กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นายชยั ยนั ต มณสี ะอาด กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นายสฤษดิช์ ัย ศิริพร กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางชอทพิ ย ศิรพิ ร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 6. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน 7. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรบั ปรงุ 1. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ 2. นายสุรพงษ มั่นมะโน 3. นางจุฑากมล อนิ ทระสันต คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผูพมิ พต นฉบบั นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูอ อกแบบปก นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป
127 ผูพัฒนาและปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2 คณะทป่ี รึกษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน. อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน. นายชัยยศ จนั ทรโอกุล ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นพัฒนาสอื่ การเรียนการสอน นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศกึ ษา นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หวั หนา หนวยศกึ ษานเิ ทศก นางชลุ พี ร งามเขตต ผอู าํ นวยการศกึ ษานอกโรงเรียน นางอัญชลี นางศุทธินี ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2 นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นายกติ ติพงศ จนั ทวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น นางสาวผณนิ ทร แซอง้ึ นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา
128 คณะผปู รบั ปรุงขอ มลู เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ป พ.ศ. 2560 ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏิบัติหนา ทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสริฐ สุขสเุ ดช ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3. นางตรีนชุ ผูป รบั ปรงุ ขอมลู นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวา ง 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพนู ท สังขพ ชิ ัย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137