Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.ปลาย ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

ม.ปลาย ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002

Published by nutthar.n, 2021-06-27 01:03:02

Description: 39. social 2. 31002

Search

Read the Text Version

ห น า | 91 จะไดส ทิ ธเิ หลา นีต้ อ งมีหนาท่ีอะไร? • สิทธทิ ี่จะไดรับบรกิ ารและสาธารณปู โภคท่ีดจี ากรฐั • มหี นาทีต่ องเสยี ภาษี • สิทธิที่จะไดนกั การเมอื งทซี่ ือ่ สตั ยส จุ รติ ไดรฐั บาลทท่ี ําใหป ระเทศเจรญิ กาวหนา • มหี นาท่ตี อ งเลอื กตงั้ อยางมคี ณุ ภาพ • สทิ ธิทจ่ี ะอยใู นประเทศที่มัน่ คง เปนเอกราช • มหี นา ท่ตี องรบั ราชการทหาร • สทิ ธิท่ีจะอยูใ นประเทศทสี่ งบเรยี บรอ ย • มหี นา ทีต่ องชวยกันสอดสอ ง เปน หเู ปนตา เปน พยาน • สิทธิท่ีจะอยูในประเทศทีม่ ที รพั ยากรตาง ๆ • มหี นา ท่ตี องชว ยกนั ดูแลรกั ษาทรัพยากรตาง ๆ • สิทธิทจ่ี ะอยูในสภาพแวดลอ มทดี่ ี • มหี นา ท่ีตอ งชว ยกนั ทนุบํารงุ รักษาสภาพแวดลอม • สิทธิทจ่ี ะอยใู นประเทศทมี่ ศี ลิ ปวัฒนธรรมทีด่ ี • มหี นา ท่ตี องชว ยกันอนุรักษ ทนบุ ํารงุ สง เสริมศลิ ปวัฒนธรรม ถาทุกคนไมทาํ หนา ทจี่ ะไดสิทธติ า ง ๆ เหลา นี้ไดอยา งไร ? ดังนั้น ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตยทกุ คน จะตองเหน็ ประโยชนแ ละความสาํ คัญของการทํา หนา ที่ของประชาชนอยา งเตม็ ใจดวย หากทกุ คนทําหนาที่เปนอยา งดี สทิ ธกิ ็จะไดตามมาอยางแนนอน เชน หากทุกคนทําหนาทไ่ี ปใชส ทิ ธิเลือกตง้ั อยา งมคี ณุ ภาพ ไมเ ลอื กผูสมคั รหรือพรรคการเมอื งท่ีใชจายในการหา เสยี งเลอื กตงั้ ในทางท่ีไมสุจริต ตดิ ตามขา วสารทางการเมอื ง และนาํ มาใชประกอบการพิจารณาในการเลือกต้ัง จะไดตวั แทนที่ซ่ือสัตยสจุ ริต และมคี วามรคู วามสามารถไปบรหิ ารประเทศไดอยางไร พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ระบุวา เสรีภาพ หมายถึง ความสามารถที่จะ กระทําการใด ๆ ไดต ามท่ีตนปรารถนา โดยไมม อี ุปสรรคขดั ขวาง เชน เสรภี าพในการพูด เสรีภาพในการนับถือ ศาสนา ความมีสทิ ธทิ ่ีจะทําจะพูดไดโ ดยไมละเมิดสทิ ธิของผอู นื่ ในระบอบเผด็จการ ประชาชนมักจะถูกจํากัดเสรีภาพอยางมาก พอเปล่ียนมาเปนยุคประชาธิปไตย คนท่ัวไปมกั เขาใจเอาเองวา บคุ คลยอ มมเี สรภี าพไดอ ยางเต็มที่ จะทาํ อะไรก็ไดต ามใจชอบ การใชเสรีภาพของ บคุ คลนนั้ อาจไปกระทบหรอื ละเมดิ ตอเสรภี าพของบคุ คลอื่นได หรอื อาจกลาวไดวา การใชเ สรีภาพตองมคี วาม รับผิดชอบกาํ กบั อยดู วยเสมอ อนั หมายถึง ความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและผูอ่ืน ยกตัวอยาง เชน หากพอแมให เสรีภาพแกลูกท่ียังเปนผูเยาวใชจายเงินไดเปนจํานวนมากเกินความรับผิดชอบของลูกท่ียังเปนผูเยาว ลูกก็ อาจจะถกู ชงิ ทรัพย ถูกทาํ รา ย หรืออาจใชเ งนิ จนกอใหเกิดผลรายตอตนเองและผอู ื่นได

ห น า | 92 ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จึงตองเขาใจซาบซึ้งถึงหลักการท่ีวา “ใชสิทธิแตไมละท้ิงหนาท่ี” และ “ใชเ สรีภาพอยางรับผดิ ชอบ” แตมไิ ดห มายความวา เสรภี าพของคนอ่นื ทําใหเราตองมเี สรภี าพนอ ยลง แตอยางใด เพราะมนษุ ยท ่ีมอี ยูค นเดียว และมีเสรีภาพทจี่ ะทําอะไรก็ไดตามใจชอบทั้งหมดไมมีอยูจริง มีแต มนุษยท ่อี ยรู ว มกบั คนอ่ืน เพราะมนุษยเปน ส่ิงมชี ีวติ ทต่ี องพึง่ พาอาศัยกัน มนษุ ยจ งึ ตองอยูรวมกันเปนสังคม ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยพึงยนิ ดที ีจ่ ะใชเสรภี าพของตน เพ่อื ใหค นอื่นไดใ ชเสรีภาพเทา เทียมกบั ตน สภาพที่บุคคลมีเสรีภาพที่จะทําอะไรก็ไดตามใจชอบโดยไมจํากัด นั้น เปนลักษณะของอนาธิปไตย ซ่ึงมาจาก คําวา “อน” ที่แปลวา ไมมี และ คําวา “อธิปไตย” ที่แปลวา อํานาจสูงสุด “อนาธิปไตย” จึงหมายถึง สภาวะที่ไมมีอํานาจสูงสุด ทุกคนใหญหมด ใครจะทําอะไรก็ไดตามใจชอบ นาจะเปนภาวะท่ีจลาจล สับสน วนุ วาย เปน อยา งย่งิ ดงั นั้น จะเห็นไดวา การเขาใจวา ประชาชนควรมีเสรีภาพที่จะทําอะไรก็ไดตามใจชอบน้ัน คอื อนาธปิ ไตย ไมใช ประชาธปิ ไตย 3.3 หลักความเสมอภาค (equality) ประชาชนในระบอบเผดจ็ การ ยอ มมีความเสมอภาคในความเปน มนุษยน อ ยกวาประชาชน ในระบอบประชาธิปไตย เชน สิทธิทางการเมืองการปกครอง สิทธิเลือกต้ัง สิทธิในฐานะมนุษย หรือท่ี เรียกวา สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคในฐานะท่ีเปน มนษุ ย ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา การเมือง เศรษฐกจิ สังคม อยา งไรกด็ ี มิไดหมายความวา ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย จะตอ งมคี วามเสมอภาค เสมอภาคกนั ทุกเรอื่ งท้ังหมด ความเสมอภาคนี้ หมายถงึ ความเสมอภาคกันในฐานะมนุษย แตประชาชนใน ระบอบประชาธิปไตย อาจมีบทบาทหนาท่ีที่แตกตางกันได เชน ครูยอมมีความเสมอภาคกับนักเรียนใน ฐานะท่ีเปนมนษุ ย และในฐานะท่เี ปน พลเมือง แตการท่ีครูเปน ผูทําหนาท่ีสอน มอบหมายภารกิจการเรียน วัดและประเมินผลผเู รียน และนักเรียนเปน ผูเรียน รับมอบภารกิจการเรียน รับการวัดและประเมินผลจากครู นัน้ มิไดห มายความวา ครกู บั นกั เรยี นไมเสมอภาคกัน 3.4 หลักภราดรภาพ (fraternity) ความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย น้ัน ตองเปนความเสมอภาคท่ียึดหลักความ ยึดเหน่ียวกันในสังคม (social coherence) ไมใชความเสมอภาคแบบตัวใครตัวมัน (individualistic) หรือ ความเสมอภาคแบบไมยอมเสียเปรียบกนั ถา คนหน่งึ ได 5 สว น คนอน่ื ๆ กต็ องได 5 สว นเทากนั นอ ยกวาน้ี เปน ไมย อมกนั ตอ งแยง ชงิ กนั ขัดแยง ทะเลาะเบาะแวงกัน แตเสมอภาคในระบอบประชาธปิ ไตยน้ี หมายถงึ สขุ ทกุ ข เสมอกัน หากใครในสังคมมีความสขุ คนอ่นื ๆ ก็พรอ มทจี่ ะสุขดวย และหากใครในสังคมมีความทุกข คนอ่ืน ๆ ก็พรอมที่จะทุกขดว ย พรอมท่จี ะชว ยกันท้งั ยามสขุ และทกุ ข ไมเลือกทรี่ ักมักที่ชัง ไมก ีดก้ันกนั มิใช คอยแตจะอิจฉาริษยา ไมใหใครไดเปรียบใครอยูตลอดเวลา ท้ังหมดนี้ก็คือ หลักภราดรภาพในระบอบ ประชาธิปไตย น่ันเอง ซงึ่ ก็คอื ความเปน พ่นี อ งกนั ไมแบง แยก รงั เกยี จเดียดฉนั ทก ัน มีความสมัครสมานรักใคร กลมเกลียวกัน (solidarity) อยา งไรก็ตาม ไมไ ดห มายความวา ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตองมีความคิดเห็น มีความปรารถนาตอ งการเหมอื นกนั ทุกเร่ือง ตรงกันขามระบอบประชาธิปไตย ตองการคนท่ีมีความคิดเห็น ที่แตกตางหลากหลาย เพราะนนั่ อาจเปนทางเลอื กท่ีดที ่สี ดุ ของสังคมกไ็ ด และถาไมม คี วามคดิ เห็นที่แตกตา ง หลากหลาย สงั คมโลกกอ็ าจจะไมพ ัฒนาไปไหนเลย เชน ปา นนอี้ าจจะยังเชอื่ วา โลกแบนและเปนศนู ยกลาง ของจกั รวาลอยูกไ็ ด ประชาธิปไตย จึงไมหลบหนีความขัดแยง หากแตประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตอ งชว ยกนั ทาํ ใหค วามขัดแยง น้ันนาํ ไปสกู ารสรางสรรค

ห น า | 93 ความขัดแยงในระบอบประชาธปิ ไตย จะไมน ําไปสูการทําลายกัน หากประชาชนในระบอบ ประชาธิปไตยใฝใ นความจรงิ ความถกู ตอ ง และความดีงาม เพราะแมจะมคี วามคดิ เห็นและความตองการท่ี แตกตางกนั แตทั้งหมดกเ็ ปนไป เพอ่ื ความเจริญกาวหนา ของสงั คม ประกอบกบั ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตอ งเปนคนทพ่ี ูดกนั งาย (แตไ มใชวา นอนสอนงา ย) พรอ มที่จะเขาใจกนั พรอ มเพรียงท่ีจะหาทางออกท่ีดีงาม สาํ หรับทุกคน รวมถึงประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตองรูจักพิจารณาแยกแยะกรณีตาง ๆ อยาง ถกู ตองเหมาะสม ไมใ ชทําความขัดแยง ประเดน็ เดยี วลกุ ลามใหญโ ต กลายเปนขดั แยงกนั ไปหมดทุกเรอื่ ง เชน ฝา ยหนง่ึ มีความคดิ เห็นหรือความตองการที่ขัดแยงกับอีกฝายหน่ึง ก็ตองเพียรหาทางแกไขความขัดแยงที่ สรางสรรค ตองเขาใจไมใหพาลไปขัดแยงกันในเร่ืองอื่น ๆ จนกลายเปนแตกแยก บาดหมาง ราวลึกไป ท้งั สังคม เพราะแมเราจะมคี วามคิดเห็นหรือความตอ งการไมต รงกันในเรอ่ื งใดเร่ืองหนึ่ง มิไดหมายความวา เราจะมคี วามคิดเห็นหรอื ความตองการไมตรงกนั ในเรอื่ งอื่น ๆ ไปดว ย แมสดุ ทา ย จะไมสามารถทําใหทั้งสองฝา ย คิดเห็นตรงกัน ก็ไมพึงท่ีจะทําใหความคิดเห็นหรือความตองการนําไปสูความขัดแยงรุนแรง และไมวาจะ แตกตางกันเพยี งใด ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตองยึดหลักภราดรภาพไวเสมอ หรือท่ีเรียกวา “แตกตางแตไมแตกแยก” นั่นเอง กลา วคือ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย ตองยึดหลักการประสานกลมกลืน (harmony) คอื การกา วไปดวยกัน ทํางาน และพัฒนาไปพรอมกัน ดวยสํานึกความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม ไมใ ชจ าํ ใจตอ งประนปี ระนอม ยอมลดราวาศอกใหก นั อนั อาจเปน ความจําเปน ตองอยรู ว มกันทีไ่ มย ง่ั ยนื 3.5 หลกั นติ ธิ รรม (rule of law) ประชาธิปไตยจะเขมแข็งและมีสันติสุขได ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะตองยึด หลกั นติ ิธรรม อนั หมายถงึ หลกั การเคารพกฎหมาย ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย จะเคารพกฎหมาย เปนอยา งดี กฎหมายนัน้ ตองเปนธรรม เท่ยี งตรง และแนนอน ไมเปล่ียนไปเปลี่ยนมาตามอําเภอใจ จึงตอง เปนกฎหมายท่ีบังคับใช เพื่อประโยชนสุขของประชาชนทุกคนเอง เชน กฎจราจร กฎหมายอาญา หาก ประชาชนไมเคารพกฎหมาย สังคมก็จะเกิดความสับสนวุนวายได ท้ังน้ี หมายรวมถึง ระบบศาลและราชทัณฑดวย เพื่อที่ประชาชนจะไดไมใชวิธีแกแคน ลงโทษกันเอง ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย พึงเห็นความสําคัญ เห็นคุณคา เห็นประโยชนของการ ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ไมใ ชจาํ ใจปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย เพราะถกู บงั คบั ทค่ี อยแตจะฝา ฝนเมื่อมีโอกาส 4. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ (Constitutional monarchy) ระบอบประชาธิปไตยทางออม หรือแบบมีตัวแทนท่ีใชกันในประเทศตาง ๆ สวนใหญใชระบบ ประธานาธิบดี (presidential system) และระบบรัฐสภา (parliamentary system) ซงึ่ แบง เปน แบบท่ีมีประธานาธิบดี เปนประมุข (parliamentary republic) และแบบท่ีมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (constitutional monarchy) ประเทศที่ปกครองดว ยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข หมายถึง ประเทศทพ่ี ระมหากษัตริยม เี พยี งพระราชอํานาจในฐานะที่ทรงเปนประมุขเทานั้น สวนอํานาจนิติบัญญัติ และอาํ นาจบริหารน้ัน เปน ของประชาชนทีเ่ ลือกและมอบอาํ นาจใหต วั แทนใชอ าํ นาจแทน แตต องใชอํานาจ ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษตั รยิ  เพื่อใหเปนท่ียอมรับ เนื่องจากยังมีประชาชนจํานวนมากที่คุนเคย

ห น า | 94 และเหน็ ความสําคญั ของการดํารงอยูของสถาบันพระมหากษัตริย การบัญญัติกฎหมาย การออกคําสั่ง การ บริหารราชการในนามของประชาชนดว ยกันเอง อาจไมไ ดร ับการยอมรบั เทา ทคี่ วร หรืออาจขาดเอกภาพใน การปกครองประเทศได วัฒนธรรมและวถิ ีชวี ติ แบบประชาธิปไตยแบง ตามคารวธรรม ปญญาธรรม และสามัคคีธรรม การทป่ี ระเทศจะเปนประชาธิปไตยได นน้ั จะมีแตเพียงรูปแบบและโครงสรางการเมืองการปกครอง เทาน้ันไมได แตประชาชนในประเทศน้ัน จะตองมีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยดวย กลาวคือ ประชาชนในระบอบประชาธิปไตยจะตอ งมวี ัฒนธรรมและวถิ ีชีวิตที่สอดคลองกบั ระบอบประชาธปิ ไตย ดงั น้ี 1. คารวธรรม 1.1 เหน็ คณุ คา และเคารพศกั ด์ศิ รคี วามเปนมนษุ ย และสทิ ธมิ นุษยชน 1.2 ใชสทิ ธโิ ดยไมล ะท้งิ หนาที่ 1.3 ใชเ สรีภาพอยา งรบั ผดิ ชอบ 1.4 ซื่อสัตยสุจริตและมคี วามโปรงใส 1.5 ยดึ หลกั ความเสมอภาคและความยุตธิ รรม 2. สามคั คธี รรม 2.1 มจี ติ สาํ นึกรวมหมูและทาํ งานเปนหมูค ณะ 2.2 ยดึ หลกั ภราดรภาพ 2.3 ใชห ลกั สันติวิธี 2.4 ยึดหลักเสียงขา งมาก และเคารพสทิ ธขิ องเสียงขา งนอ ย 2.5 เห็นความสาํ คญั ในประโยชนข องสว นรวม 2.6 มจี ิตสาธารณะ (public mindedness) และการมจี ติ อาสา (volunteerism) การมี สว นชว ยในการพัฒนาครอบครัว โรงเรยี น ชุมชน สังคม และประเทศชาตอิ ยา งยง่ั ยืน 3. ปญญาธรรม 3.1 ยดึ หลกั เหตุผล ความจริง และความถกู ตอง 3.2 รูท ันขอมลู ขา วสาร และรทู ันส่ือสารมวลชน 3.3 ติดตามตรวจสอบการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรทางการเมือง 3.4 มคี วามกลาหาญทางจริยธรรม กลาที่จะยนื หยดั ในสงิ่ ทถ่ี กู ตอ ง 3.5 มีทักษะการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ การใชเ หตผุ ล การต้งั คาํ ถาม การวจิ ัย การคนควา การรวบรวมขอ มลู การโตแยง 3.6 ทักษะการสือ่ สารในระบอบประชาธปิ ไตย ไดแ ก การฟง การอาน การคนควา การจับใจความ การสรุปความ การยอความ การขยายความ การตคี วาม การแปลความ การพูด การเขียน การโตวาที การอภิปราย การวิจารณ การกลาแสดงออก การแสดงความคดิ เห็น และการรับฟงความคิดเห็นของผอู น่ื 3.7 พัฒนาความรู ความคิด จติ ใจ พฤตกิ รรมและการทาํ งานของตนเองอยูเ สมอ 3.8 มสี ว นรวมทางการเมืองอยางสรางสรรค 3.9 มคี วามรูพื้นฐานทางการเมอื ง (political literacy)

ห น า | 95 คานยิ มพืน้ ฐานในการอยูรวมกันอยางสมานฉันท 12 ประการ 1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  2. ซอื่ สตั ย เสยี สละ อดทน 3. กตัญตู อ พอ แม ผปู กครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝห าความรู หมนั่ ศกึ ษาเลา เรียนท้งั ทางตรงและทางออ ม 5. รักษาวัฒนธรรม ประเพณไี ทยอันงดงาม 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวงั ดีตอ ผอู น่ื เผอื่ แผแ ละแบงปน 7. เขา ใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขทถี่ ูกตอ ง 8. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู ักเคารพผใู หญ 9. มีสติรูตวั รคู ิด รทู ํา รปู ฏบิ ตั ิ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช 10. รจู ักดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ- พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเมื่อยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจาย จําหนาย และขยายกิจการเมอ่ื มคี วามพรอมโดยมภี ูมิคุมกนั ทดี่ ี 11. มีความเขม แข็งทงั้ รางกายและจิตใจ ไมยอมแพต ออํานาจฝา ยต่าํ หรือกิเลส มคี วามละอาย เกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12. คํานึงถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอชาตมิ ากกวาผลประโยชนของตนเอง คานยิ มพื้นฐานดงั กลา วขา งตน มีความสําคญั อยา งยง่ิ ท่คี นไทยจะตอ งนาํ มาประพฤตปิ ฏิบัติ ในชวี ติ ประจําวนั อยูเสมอ และเพือ่ ใหเ กิดความเขาใจย่งิ ขึ้น จะขอกลาวในรายละเอียดเพิ่มเตมิ ดังนี้ 1) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงรักความเปน ชาติไทย เปนพลเมอื งดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาท่ีตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดตี อสถาบนั พระมหากษตั ริย 2) ซ่ือสตั ย เสียสละ อดทน เปนคุณลกั ษณะท่ีแสดงถงึ การยึดมนั่ ในความถกู ตอ ง ประพฤติ ตรงตามความเปน จรงิ ตอตนเองและผอู ืน่ ละความเห็นแกตวั รจู กั แบง ปน ชว ยเหลือสังคมและบุคคลท่คี วรให รจู กั ควบคุมตนเองเม่ือประสบกับความยากลาํ บากและส่ิงทก่ี อใหเ กดิ ความเสียหาย 3) กตญั ตู อพอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย เปนคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรูจัก บุญคุณ ปฏิบัติตามคําสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาชื่อเสียง และตอบแทน บญุ คณุ ของพอแม ผปู กครอง และครบู าอาจารย 4) ใฝห าความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนทั้งทางตรงและทางออม เปนคุณลักษณะท่ีแสดงออก ถงึ ความตั้งใจ เพียรพยายามในการศึกษาเลาเรยี น แสวงหาความรู ท้ังทางตรงและทางออ ม 5) รกั ษาวัฒนธรรม ประเพณีไทยอันงดงาม เปนการปฏิบัติสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และประเพณีไทยอนั ดีงามดว ยความภาคภมู ิใจเห็นคณุ คา ความสาํ คญั 6) มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอื่น เผ่ือแผและแบงปน เปนความประพฤติ ทค่ี วรละเวนและความประพฤตทิ ค่ี วรปฏิบตั ติ าม

ห น า | 96 7) เขา ใจเรียนรูก ารเปน ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุขที่ถูกตอ ง คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามสิทธแิ ละหนาที่ของตนเอง เคารพสิทธิและหนาท่ีของผูอื่น ใชเ สรีภาพดวยความรบั ผดิ ชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมขุ 8) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ เปนคุณลักษณะที่ แสดงออกถึงการปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและ นอบนอมตอผใู หญ 9) มีสตริ ตู วั รคู ดิ รูทาํ รปู ฏบิ ัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา- ภมู พิ ลอดุลยเดช เปน การประพฤตปิ ฏบิ ัติตนอยา งมีสตริ ตู วั รูคดิ รทู ํา อยา งรอบคอบถูกตอ ง เหมาะสม และ นอ มนาํ พระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจาํ วนั 10) รูจักดํารงตนอยโู ดยใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รูจักอดออมไวใชเมื่อยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจาย จําหนาย และขยายกิจการเม่ือมีความพรอม สามารถดําเนินชีวิตอยางพอประมาณ มเี หตุผล มภี มู ิคมุ กันในตัวทด่ี ี มีความรู มคี ุณธรรม และปรบั ตวั เพอ่ื อยใู นสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ 11) มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ ไมยอมแพตออํานาจฝายตํ่าหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวตอบาปตามหลักของศาสนา เปนการปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรคภยั และมจี ติ ใจทีเ่ ขม แข็ง ไมก ระทําความชัว่ ใด ๆ ยดึ มัน่ ในการทาํ ความดตี ามหลักของศาสนา 12) คาํ นงึ ถึงผลประโยชนข องสว นรวมและตอชาติมากกวา ผลประโยชนข องตนเอง ใหความรวมมือในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชนสวนตนเพื่อ รกั ษาประโยชนของสว นรวม

ห น า | 97 กจิ กรรม 1. ผเู รียนคดิ วา รัฐธรรมนญู คือประชาธปิ ไตยหรอื ไม เพราะเหตุใด ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. ผเู รยี นเขาใจขอ ความที่วา “การปกครองโดยเสียงขางมากและเคารพสทิ ธิของเสียงขา งนอ ย” วาอยา งไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ทาํ ไมจงึ มีคํากลา วท่ีวา ใชส ทิ ธิโดยไมล ะทงิ้ หนาที่ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. การใชเสรีภาพอยา งรบั ผิดชอบ นน้ั มคี วามสาํ คญั ตอการอยูรวมกัน อยา งไร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 5. ผเู รยี นจะนาํ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใดมาใชในการอยรู ว มกันอยา งสนั ติ สามัคคี ปรองดอง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ห น า | 98 เรอื่ งที่ 7 การมสี วนรว มของประชาชนในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ กระแสโลกาภวิ ตั นที่กําลังเกดิ ขึ้นทว่ั โลกในปจ จบุ นั สงผลใหมีการเปล่ียนแปลงโครงสราง เศรษฐกิจไปสูอ ตุ สาหกรรมและการคาเสรีท่ัวไป ในชวงแรกไดกอ ใหเ กดิ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจอยาง รวดเรว็ เนือ่ งจากการไหลเขาของเงินทุนจากตา งชาตแิ ละเงนิ กูจากรัฐ มีการเคลื่อนไหวอยางรุนแรงในดาน เศรษฐกิจทุกภาคสวน ท้ังเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทองเที่ยว รวมทั้ง การไหลบาของสังคมและ วฒั นธรรมนานาชาตทิ ่ไี มสามารถหยุดย้งั ได ประชาชนคนไทยโดยเฉพาะเยาวชนและพนักงาน ตลอดจนผูใช แรงงานตา งถูกชกั นาํ ใหห ลงใหลไปสูก ารเปน นักบริโภคนิยม วตั ถุนยิ ม และปจ เจกนยิ ม ตดิ ยดึ อยกู บั ความสขุ จากทุนนิยม โดยไมคํานึงถึงความหายนะท่ีจะตามมา เน่ืองจากการไหลไปตามกระแสวัตถุนิยมที่ให ความสําคัญกบั เงินตรา กับความมีหนามีตาในสังคม ยกยองคนรวยมากกวาคนดี ใหความสําคัญกับฐานะ ทางสังคมมากกวาความเปนปราชญหรือภูมิปญญา ทุมเทใหกับความฟุมเฟอย ฟุงเฟอ สุรุยสุราย ไมให ความสําคัญกับครอบครัว และสายใยผูกพันในครอบครัวเหมือนเดิม มีการแขงขันชิงดีชิงเดนกันรุนแรง ท้ังการเรยี น การดํารงชีวิตรวมกัน การทํางาน การเอาหนาในสังคม ฯลฯ ศรัทธาคานิยมในทางคุณธรรม จริยธรรมเหือดหายไป ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ ความเมตตาอารี ความชวยเหลือเกื้อกูล สมัครสมานสามัคคี ความมนั่ คงศรัทธาในศาสนาทบี่ รรพบุรษุ นบั ถอื การพงึ่ พาอาศยั ระหวางผูคนในชุมชนเกือบไมมีปรากฏใหเห็น พฤติกรรมเหลานี้ลวนแตเปนตนเหตุของการสรางเจตคติท่ีไมเหมาะสมในสังคมใหเกิดข้ึนและ ทวีความรุนแรงข้ึนทุกที พฤติกรรมที่ไมถูกตองบางคร้ังกลายเปนเร่ืองท่ีไดรับการยกยอง เชน บุคคลผูมี อํานาจออกกฎหมายที่เอ้ือประโยชนแกตนเองและพวกพอง แตอางวาเปนการกระทําเพื่อประโยชนแก ประชาชนและสังคม ทั้งที่จริงแลวบุคคลเหลา น้นั กลบั ไดประโยชน ซึ่งเรยี กวา ผลประโยชนท บั ซอน มองผวิ เผนิ เปน เร่อื งดียอมรับได แตจริง ๆ เปนการทุจรติ ประพฤติมิชอบที่ไมถูกตองอยางยิ่ง ฉะน้ัน จึงเปนเรื่องท่ีเรา จะตองรเู ทาทนั มีจติ สํานกึ และมีสว นรวมท่จี ะชว ยกันปอ งกนั แกไ ขขจัดปญ หาทจุ ริตประพฤติมิชอบเหลานี้ ใหหมดไป รูจ กั และเขา ใจกฎหมายและรัฐธรรมนูญท่ีเกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน รูจักใชชองทางในการสง เรอื่ งรอ งเรียนพฤติกรรม การรอ งเรียนตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เมื่อเกิดปญหาทุจริตประพฤติมิชอบ รูจัก เครือขายในการชวยดูแลประชาชนท่ีประสบความทุกข อันเนื่องมาจากการทุจริตประพฤติมิชอบ เรอ่ื งดงั กลา วน้ี สํานักงานปองกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (ป.ป.ช.) ไดม กี ารรวบรวมขอ มูลไวบา งแลว และสํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ไดนํามาสรุปเปนขอ มูลประกอบไวใน หนังสือ “คูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง การปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2556” ท่ีใช ควบคูไปกับการเรียนการสอน เร่อื ง “การมีสว นรว มของประชาชนในการปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ในชมุ ชนและสังคม” ดว ยแลว

ห น า | 99 “การมีสว นรว ม” (Participation) หมายถงึ การเขา ไปมบี ทบาทในฐานะท่ีเปนสวนหน่ึงของผูดําเนินการ ในกิจกรรมตาง ๆ การมสี วนรว มของประชาชน จาํ เปนตองมกี ารวางระบบท่ีเปดโอกาสใหประชาชน “กลาคิด กลา ทาํ ” ในสงิ่ ทถ่ี กู ตอง นั่นคอื การเปด ชองใหป ระชาชนมคี วามกลา ในการแสดงความคดิ เห็น และมีความกลา ในการตัดสินใจ โดยอยูในกรอบของการเคารพสิทธิของผูอื่นและการรวมกันรับผิดชอบในผลตาง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น ตามมาดว ย บคุ คลจะมีสวนรว มไดด ี ก็ตองมคี วามรู ความเขา ใจ มีจิตสาํ นกึ ความรับผิดชอบ มีประสบการณ จากการรวมทํางานกับเครือขายมากอน “เครอื ขาย” (Network) เปน รูปแบบขององคกรทางสังคมที่เปดโอกาสใหเกิดปฏิสัมพันธระหวาง องคก ร เพื่อการแลกเปล่ียน การสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และการทํางานพรอมกันโดยมีฐานะ เทา เทยี มกัน เครอื ขา ย จงึ เปน การจดั องคก รทางสังคมท่ใี หค วามสาํ คญั กับการเชอ่ื มโยงระหวางบุคคล และ หนว ยงานตา ง ๆ คลาย ๆ กบั รปู แบบของ “ตาขาย” หรือ “แห” ซ่ึงถูกถักทอและรอยเรียง จนกลายเปน ปก แผน เดียวกัน โดยสรุปแลว การทาํ งานแบบองคกรเครอื ขา ย คอื หนวยงานจากหลายองคก ร หลายสังกัด มารวมกนั ทาํ งานเร่อื งเดียวกัน เชื่อมโยงกันดว ยวตั ถุประสงคเดียวกัน อยูใ นฐานะเดียวกันอยางเปนอันหน่ึง อันเดยี วกนั โดยมีผลประโยชนก บั ประชาชนเหมอื นกันทั้งกลมุ เดียวกันหรอื ตา งกลมุ กนั ได ทุจรติ หมายถึง ประพฤติคดโกง โกง ไมซื่อตรง การทจุ รติ ตอหนา ที่ หมายความวา ปฏิบัติหรือละเวน การปฏิบตั อิ ยา งใดในตําแนง หรือหนาท่ี หรอื ปฏบิ ตั หิ รือละเวน การปฏบิ ตั อิ ยางไรในพฤติการณที่อาจทําให ผูอน่ื เชือ่ วามตี าํ แหนง หรอื หนาที่ ทัง้ ๆ ท่ีตนมไิ ดมตี าํ แหนงหนาที่ นั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่ เพอ่ื ประโยชนท่มี คิ วรไดโ ดยชอบ สําหรบั ตนเองหรอื ผูอื่น “ร่ํารวยผิดปกติ” หมายความวา การมีทรัพยสิน มากผิดปกติ หรอื ทรัพยสินเพิ่มขน้ึ มากผดิ ปกติ หรือการมหี นส้ี นิ ลดลงมากผดิ ปกติ หรือไดทรัพยส นิ มาโดยไม สมควร สบื เนอ่ื งมาจากการปฏบิ ตั หิ นาทห่ี รือใชอ ํานาจในตาํ แหนงหนาที่ การขัดกันแหง ผลประโยชนหรอื การมปี ระโยชนทบั ซอ น คอื การท่สี ภาวการณท บ่ี ุคคลที่มีอํานาจหรือ หนา ท่ที ี่จะตองใชด ุลยพินจิ ปฏบิ ตั หิ นา ที่ หรอื กระทาํ การอยางใดอยา งหนงึ่ ตามอาํ นาจหนาท่ี เพ่ือสวนรวม หรือหนวยงาน หรือองคกร แลวตนเองมีผลประโยชนสวนตนในเรื่องนั้น ๆ ดวย การมีผลประโยชนทับซอน จึงเปนตนเหตุท่ีมีความสัมพันธใกลชิดกับการทุจริต มีลักษณะทํานองเดียวกันกับหลักศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลกั คณุ ธรรม จริยธรรม กลาวคอื การกระทําใด ๆ ทีเ่ ปนการขดั กนั ระหวาง ประโยชนส ว นบคุ คลกับประโยชนส ว นรวมแลว เปน สง่ิ ท่ีไมควรกระทํา ตองหลีกเลี่ยง เมื่อเปนกฎศีลธรรม จงึ มกี ารฝา ฝนสงั คม จึงไดสรา งเปน หลกั กฎหมายข้ึนมา เพอ่ื หา มมิใหเ จาหนา ท่ขี องรัฐกระทําการที่เปนการ ขดั กันระหวา งประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม ตัวอยางของการขัดกันระหวางประโยชนสวน บุคคลและประโยชนส วนรวม ไดแก - การทาํ ธรุ กิจหรือการเปนคูส ญั ญากบั หนวยงานที่ตนเองกาํ กบั ดแู ล - การรบั ทรัพยส ินหรอื ประโยชนอื่นใด เพือ่ ใหต นเองกระทําการหรือไมก ระทําการอยา งใด ในตาํ แหนง ไมวา การนนั้ จะชอบหรอื ไมชอบดว ยทรพั ย - การทาํ งานหลังจากทีพ่ นจากตาํ แหนง หรือเกษียณอายรุ าชการ เพือ่ หาประโยชนตอบแทนจาก หนว ยงานเดิม - การจัดตง้ั หรอื การมสี วนรว มกบั หนวยงานเอกชน เพ่ือทาํ ธรุ กจิ แขง ขนั กบั หนวยงานราชการท่ี ตนเองปฏบิ ัตหิ นา ที่ - การทาํ งานอ่นื ซึง่ ไดร บั ประโยชนจ ากหนว ยงานราชการทต่ี นเองปฏบิ ตั หิ นา ท่ี - การรบั รูขอ มูลภายในนอกเหนอื หนาทีแ่ ละใชขอ มูลภายในเพอื่ ประโยชนต นเอง

ห น า | 100 - การใชท รัพยส มบัติของหนวยงานเพอื่ ประโยชนของตนเอง - การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพอ่ื ประโยชนแ กต นเองและในทางการเมือง - การทํางานสองตําแหนง ท่มี ผี ลประโยชนข องงานทบั ซอนกัน - การรบั สินบน วธิ สี รางความตระหนกั ใหประชาชนมีสวนรว มในการตอ ตานการทุจรติ การใหประชาชนมีสวนรวมกับ สํานักงาน ป.ป.ช. ในการตอตานการทุจริต โดยวิธีการสราง ความตระหนกั อาจพจิ ารณาไดด ังนี้ 1. ปลูกจิตสํานึก คานิยม คุณธรรมจริยธรรม และสรางวินัยแกทุกภาคสวน โดยการสงเสริม การดําเนนิ ชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สง เสรมิ การปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและ วนิ ยั ใชก ารศกึ ษาเปน เครื่องมือในการปอ งกันเสรมิ สรางความรู ทกั ษะ ทัศนคติ ปลกู ฝง จิตสาํ นึกใหนักเรียน นกั ศกึ ษา เยาวชน และประชาชนอยางตอเนอ่ื ง รวมทง้ั ผลกั ดันคานิยมการปอ งกนั การทจุ รติ ความซือ่ สตั ยส จุ ริต รังเกยี จการทจุ รติ เปน คานยิ มแหง ชาติ 2. รวมมอื ในการสรา งการมสี ว นรวมและเครือขายปองกันและปราบปรามการทุจริตในทุกภาคสวน โดย 2.1 การประชาสมั พันธตอ ตานการทุจริตประพฤตมิ ชิ อบทกุ รูปแบบ 2.2 เสรมิ สรางกระบวนการมสี ว นรวมของประชาชนทุกภาคสว น 2.3 เสริมสรางความเขมแข็งของเครอื ขา ยใหมขี วญั และกําลงั ใจในการทาํ งาน 3. สงเสริมความเปนอิสระและสรางประสิทธิภาพใหแกองคกรท่ีมีหนาที่ตรวจสอบการทุจริต โดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหปราศจากการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาคการเมือง ภาคราชการ และ ภาคธรุ กจิ และถวงดุลอํานาจภาครัฐท่ีเก่ียวของทุกระดับ เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึงขอเท็จจริงอยาง ทันการณ 4. สง เสรมิ การสรา งมาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพแกบ ุคลากรของหนวยงานท่ีมีหนาท่ีตรวจสอบ การทุจริต รวมทง้ั การเสรมิ สรางความรูทักษะ และจริยธรรมแกบุคลากร รวมท้ังเสริมสรางขวัญกําลังใจ และการบรหิ ารงานบุคลากร การสรา งความรว มมือดา นวชิ าการกบั องคกรตา งประเทศดวย กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ งในการปองกนั และปราบปรามการทุจริต ภารกิจในดานปองกันการทุจริต คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจหนาท่ีดําเนินการ เพ่ือปองกัน การทุจรติ และเสรมิ สรา งทศั นคติและคา นยิ มเกี่ยวกบั ความซอ่ื สตั ยส จุ รติ รวมทงั้ ดําเนนิ การใหป ระชาชนหรือ กลมุ บุคคล ในการสง เสรมิ ใหประชาชนคนไทย มีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ประกอบกับ การทรี่ ัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย ซง่ึ เปนกฎหมายสูงสดุ ของประเทศ ยงั ไดก าํ หนดใหรัฐมีหนาท่ีตอง เขา มามีสวนรว ม โดยการสงเสรมิ และสนับสนุนการมสี วนรว มของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ทุกระดับในรูปแบบองคกรทางวชิ าชพี หรือตามสาขาอาชีพที่หลากหลายหรือรูปแบบอ่ืน ๆ ในการดําเนินงาน ตามอํานาจหนาท่ขี องคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงไดกําหนดยุทธศาสตรชาติที่เกี่ยวของกับการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ โดยกาํ หนดวสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกิจ สง เสริมใหทกุ ภาคสวน รวมทงั้ ประชาชน ไดรับการ ปลูกจติ สํานึกใหมีวนิ ยั ยึดมน่ั ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รวมถงึ พัฒนาเครือขายปองกันและปราบปรามการทุจริต ประพฤติมิชอบอยางบูรณาการ รวมท้ังมีขอกฎหมายบัญญัติไวชัดเจน มีกฎหมายที่เกี่ยวของในการ

ห น า | 101 ปฏบิ ตั ิงาน เพอื่ ปองกันปญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบท่ีผูปฏิบัติงาน และเครือขายภาคประชาชน ควร ทราบดงั นี้ 1. รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 87 (3) รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มเี จตนารมณใหป ระชาชนมบี ทบาท และมสี ว นรว มในการปกครอง และตรวจสอบการใชอ ํานาจรฐั อยางเปนรปู ธรรม โดยไดกําหนดไวใ น มาตรา 87 ใหรฐั ตอ งดําเนินการตามนโยบายการมสี วนรว มของประชาชน (3) สง เสรมิ และสนบั สนุนการมีสวนรวมของ ประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทกุ ระดับ ในรูปแบบองคกรทางวิชาชีพ หรือตามสาขาอาชีพที่ หลากหลาย หรอื รปู แบบอืน่ ๆ 2. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2554 มาตร 19 (3) พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2542 (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2554 กาํ หนดอํานาจหนาท่ขี องคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไวในมาตรา 19 โดยในดานการปองกัน การทจุ รติ ไดก าํ หนดไวในมาตรา 19(13) วาดําเนินการเพื่อปองกันการทุจริตและเสริมสรางทัศนคติและ คานิยมเก่ยี วกบั ความซอ่ื สัตยส ุจรติ รวมทั้งดําเนนิ การใหประชาชนหรือกลมุ บุคคลมีสวนรวมในการปองกัน และปราบปรามการทจุ ริต 3. ภารกิจและอํานาจหนา ที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซง่ึ มอี าํ นาจหนา ที่ในดานตา ง ๆ ดงั นี้ 3.1 ดา นปอ งกนั การทุจริต 3.2 ดานปราบปรามการทจุ ริต 3.3 ดา นตรวจสอบทรพั ยสิน ทงั้ นม้ี รี ายละเอยี ดท่สี ามารถศกึ ษาคนควาไดจ ากเอกสารคูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง การปองกัน และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2556 และ www.nacc.go.th (เวบ็ ไซต ป.ป.ช.) การกระตุน จิตสํานกึ การมสี ว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ เพ่อื ใหผ เู รยี นเกิดความเขาใจ ตระหนัก และมีจิตสาํ นกึ ในการมสี ว นรว มที่จะปอ งกันการทุจริต ประพฤติมิชอบในชุมชน และสังคม หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จึงไดก าํ หนดแนวทางการเรยี นรู ในรปู แบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิด วิเคราะห การมีสวนรวม ในการแกป ญ หาการทุจรติ รปู แบบตาง ๆ ดวยเจตนาทจ่ี ะใหผ เู รยี นสามารถนําไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ เพ่อื ประโยชนตอ ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคม จนเกิดการพัฒนาจิตสํานึกในการมีสวนรวมปองกัน และปราบปรามการทจุ รติ ได กจิ กรรมท้ังหมดประกอบดว ย 6 กรณีศึกษา ไดแ ก 1. เรอื่ ง เรยี กรบั เงินจากผคู า โค กระบอื แถมโรคใหผ บู ริโภคเนอ้ื สัตว 2. เรือ่ ง โรงรับจาํ นาํ ทําพิษ 3. เรอ่ื ง ไมก ลายเปนงา 4. เรอ่ื ง ทจุ ริตประปา 5. เรอ่ื ง นา้ํ ทว มจรงิ หรอื 6. เรอื่ ง ขุดบอ ....ลวงใคร 7. เรอ่ื ง ใครผิด....

ห น า | 102 8. เร่อื ง ทาํ ไดอยา งไร... 9. เร่ือง เงินหลวง....อยา เอา ทงั้ นี้ ผูเ รียนและผูส อน จะตอ งรว มมอื กันนําขอมูลทงั้ ดาน วิชาการ ระเบียบ กฎหมาย ที่ไดมี การสรุปรวบรวมไวใ นเอกสาร คูมอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู เรอ่ื ง การมสี ว นรวมของประชาชนในการปองกัน และปราบปรามการทุจริต รวมกับขอมูล ปญหาความตองการสภาพแวดลอมของชุมชน ทองถ่ิน และ คณุ ธรรม จริยธรรม ท่ีตนเองมีอยูมาตัดสินใจแกปญ หาตา ง ๆ ใหลลุ ว งไปไดอยา งเหมาะสมตอ ไป

ห น า | 103 กรณศี กึ ษา เร่อื ง 1 เรยี กรบั เงนิ จากผูคาโค กระบือ แถมโรคใหผูบรโิ ภคเนอื้ สัตว วัตถุประสงค 1. วเิ คราะหพฤตกิ รรมและโทษของผูกระทาํ ความผิดไดอยางมเี หตผุ ลและหลักกฎหมาย 2. นาํ หลกั คณุ ธรรมมาวเิ คราะหใ นสถานการณท เี่ กิดขึ้นได 3. บอกวิธีการมสี ว นรวมในการปองกนั ปราบปรามการทุจรติ 4. เกดิ จติ สาํ นกึ การมสี ว นรวมในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต 5. ไดขอ คิดจาการศกึ ษากรณตี วั อยา งในการกระทาํ การทจุ ริต เนื้อหาสาระ พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และ ท่แี กไ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2554 กรณศี กึ ษา การนาํ เขาโค กระบอื ผานดานชายแดน ผูคา โค กระบือ นําเขา ตอ งเสียคาธรรมเนยี มการเคล่ือนยายสัตว โดยเจาหนาทีข่ องรฐั ตอ งมีการกกั โค กระบอื ณ บริเวณชายแดน เพอ่ื ฉีดวัคซีนปองกันโรคระบาด และดูอาการ 15 วนั ถาไมม อี าการผิดปรกติ ผูค าโค กระบอื ก็จะยน่ื เสียคา ธรรมเนยี มใบอนุญาตเคล่ือนยา ยสัตว (ใบ ร.4) ออกไปนอกเขตจงั หวัดได นายขวด พอคาโค กระบือ นําเขาโค กระบือ จากพมาเขามาประเทศไทย ไมผานข้ันตอนและ วิธีการตาง ๆ ท่ีถูกตอง โดยไดรับการชวยเหลือจากนายแกว ท่ีมีหนาท่ีเก็บคาธรรมเนียมพรอมออก ใบเสร็จรบั เงิน และใบอนญุ าตเคลื่อนยา ยสัตว (ใบ ร.4) นายแกวเรียกเงินจากนายขวด 3,000 บาทตอรถบรรทุก โค กระบอื 1 คัน แลวไมน าํ เงนิ สง ใหท างราชการ และที่รายไปกวาน้ัน นายแกวไมไดฉีดวัคซีนปองกันโรคระบาด ใหโ ค กระบือ แถมยงั เบิกเงินจากทางราชการ เปน คาวัคซีนในการฉดี วัคซีนใหโค กระบือ อีก ในแตละวันมี การนาํ เขาโค กระบอื ไมน อยกวาวนั ละ 50 คันรถบรรทุก 1 ป ไดเงินถึง 54,750,000 บาท นายแกวทําแบบน้ี มาหลายปแลว คิดเปนเงินท่ีไดจากการทุจริตเปนเงินมหาศาลทีเดียว ท่ีสําคัญโค กระบือ ไมไดฉีดวัคซีน ปองกนั โรคระบาด ประชาชนท่ีบริโภคจะเกิดผลรายตอสุขภาพโดยตรง จากพฤติกรรมดังกลาว นายแกว คนเดียวไมส ามารถทําการทจุ ริตดงั กลาวไดสาํ เรจ็ โดยลาํ พัง ตองมีขาราชการ ผูเขารวมขบวนการอีกหลาย หนว ยงาน เชน หนวยงานท่ีเก็บภาษีนําเขา หนวยงานท่ีออกต๋ัวพิมพรูปพรรณสัตว และเจาหนาที่ตํารวจ เปน ตน การกระทาํ นสี้ งผลกระทบโดยตรงตอสงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศชาติอยางมาก การจะเอาผิด กับผกู ระทําการทุจริต ตองมีหลักฐานท่ีชัดเจนวา ผูกระทําผิดมีการเรียกเก็บเงิน และรับเงินจากผูคา โค กระบอื จริง เปน จาํ นวนเงนิ เทาไหร และมีใครบางท่ีจายเงนิ ใหน ายแกว ใครละ จะชวยนําสบื หาหลกั ฐานที่กลา วมาแลว ได ในเมอ่ื ตํารวจเองก็เขารวมขบวนการทุจริตเสียเอง สํานกั งานปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.) จึงตอ งลงมือหาหลกั ฐานเอง โดยใหเจา หนาท่ี ปลอมตัวเปนชาวบานเขาไปพรอมกบั นายขวด นําเงินคา ธรรมเนียมการเคล่อื นยา ยสตั วไปใหนายแกวท่ีบาน จํานวน 30,000 บาท นายแกว จงึ ใหใบอนุญาตเคลอ่ื นยายสตั ว (ใบ ร.4) กับนายขวด 10 ใบ จากนั้น นายขวด ไดพาเจาหนา ที่ ป.ป.ช. ทป่ี ลอมตวั ไปหานายโถ เจาหนาที่ตํารวจที่สถานท่ีแหงหนึ่ง และนําใบ ร. 4 ใหนายโถ นายโถ จึงเขียนจดหมายนอยมีใจความวา “จายแลว” จํานวน 10 ใบ ใหนายขวด เพ่ือเอาไปใหคนขับ รถบรรทุกโค กระบอื เพ่ือนาํ ไปแสดงใหเ จา หนาทต่ี ํารวจดู คกู ับใบ ร.4 ตามรายทางทผี่ านไป ซ่ึงเปนท่ีเขาใจวา ไดมีการจา ยเงนิ ใหแ กนายโถแลว และเมอื่ สิ้นเดอื นนายโถจะนําเงินไปใหผกู ํากับการสถานตี าํ รวจ

ห น า | 104 ประเดน็ 1. จากกรณศี ึกษามใี ครเปน ผกู ระทําความผิดในการทุจรติ 2. นายแกว กบั พวกผกู ระทําผิด ควรไดร บั โทษทางวนิ ัยอยา งไร และดําเนนิ คดีทางศาล หรอื ไม อยางไร 3. นายขวดเปนผูกระทําความผิดดว ยหรือไม เพราะเหตใุ ด 4. ผกู ระทําการทจุ ริตทกุ คนขาดคณุ ธรรมในขอ ใด 5. ทา นไดขอ คดิ จากกรณีศกึ ษาเรอื่ งนี้อยางไร 6. หากทา นทราบเรอื่ งการทจุ ริตดังกลา ว ควรแจงเรือ่ งไปท่ใี ด ใบงาน 1. ใหผ เู รียนอา นกรณศี กึ ษา เรอ่ื ง เรยี กรับเงนิ จากผูคาโค กระบอื แถมโรคใหผ บู ริโภคเน้อื สตั ว แลว ตอบคําถามในประเดน็ ท่ี 1 - 5 ในกระดาษ 2. ผสู อนใหผ ูเ รียนแตละคนอานความคดิ เหน็ ของตนในแตล ะขอ ใหเ พอื่ นในหอ งเรยี นฟง โดยการสมุ และใหชว ยกันวเิ คราะหเหตุและผลในแตละประเดน็ และผูส อนสรปุ ประเดน็ จากการวเิ คราะหน น้ั กิจกรรมการเรยี นรูตอเนื่อง ใหผ ูเรยี นคนควา ทํารายงานเรอื่ งจริงเก่ียวกบั การทจุ ริตของขา ราชการในรปู แบบตาง ๆ และเสนอ แนวทางปองกันและปราบปรามการทจุ รติ คนละ 1 เรอ่ื ง สอื่ และแหลง คน ควา - เอกสาร พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 และ ที่แกไขเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2554 - www.nacc.go.th

ห น า | 105 เร่อื ง 2 โรงรบั จาํ นําทําพิษ วตั ถปุ ระสงค 1. วเิ คราะหพ ฤตกิ รรมและโทษของผูกระทําความผดิ ไดอ ยา งมีเหตุผลและหลักกฎหมาย 2. นําหลกั คุณธรรมมาวเิ คราะหใ นสถานการณท ีเ่ กดิ ขึน้ ได 3. บอกวิธกี ารมสี วนรว มในการปอ งกันปราบปรามการทจุ รติ 4. ไดขอ คิดจากการศึกษากรณตี วั อยางในการกระทําการทุจริต เน้อื หาสาระ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2542 และ ที่แกไ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2554 กรณีศกึ ษา ณ ตาํ บลมะขามปอ ม ชาวบา นสวนมากมอี าชีพทาํ ไร ทําสวน ในหลาย ๆ คร้ังจะมีรายไดไมพอกับ คาใชจา ยตาง ๆ มรี ายไดไมแนนอน ใน 1 ป เมอ่ื เกบ็ เกยี่ วผลผลิตจากไรน าไดแลว หากบางปมีเงินเหลือจาก การใชหน้ีคาเชานา เชาไร คายาฆาแมลง คาปุย และอ่ืน ๆ แลวมักจะซื้อทองหรือเคร่ืองใชไฟฟา และ ทรพั ยส ินที่ชอบไว ซงึ่ ชาวบา นมักจะมีความคดิ เหมือนกนั วา เม่ือยามชักหนาไมถึงหลัง เปดเทอมลูกตองใช เงินซือ้ เสอ้ื ผานักเรยี น คาเทอม และคา ใชจา ยอนื่ ตามมาอีกมาก ก็จะไดนําทรัพยสินไปจํานําท่ีโรงรับจํานํา หรอื รา นขายทองในตวั จังหวัด นายฉลาด นายกเทศมนตรตี ําบลมะขามปอ ม ไดสังเกตพฤติกรรมของขาวบานมาหลายป จึงคิดวาแทนที่ ชาวบานจะเอาทรพั ยส นิ ไปจาํ นําในตวั จังหวดั เสยี คา ดอกเบยี้ ใหก บั คนตางถิน่ ถาเทศบาลมะขามปอ ม ต้ังโรงรับจํานําเอง จะไดเงินจากดอกเบี้ย และสวนตา งของทรพั ยสินทนี่ ําออกมาขายเมอ่ื หลดุ จาํ นําแลว และเงนิ จาํ นวนนีจ้ ะไดนาํ เขา เปน รายไดข องเทศบาลตําบล เพื่อใชในการพัฒนาตําบลของตนตอไป จึงต้ังโรงรับจํานําข้ึนชื่อวา “โรงรับจํานํา มะขามปอ ม” มีรายไดปล ะกวา 5,000,000 บาท หลายปต อ มามกี ารผลัดเปล่ียน นายกเทศมนตรีตําบลมะขามปอม เร่ือยมา และกิจการโรงรบั จํานาํ มะขามปอมเจริญรุง เรือง มีรายไดเ ปนกอบเปน กํา จนกระท่ัง นายซื่อนอย ไดรับ เลอื กเขามาเปนนายกเทศมนตรตี ําบลมะขามปอ มคนปจ จบุ ัน เหน็ วากจิ การโรงรบั จาํ นํามะขามปอมมรี ายไดดมี าก อยากไดส วนแบงจากผลประกอบการนั้นบาง จึงไดต้ังโรงรับจํานําของตนเอง ใหภรรยาเปนผูจัดการดูแล และ ตนเขารวมเปนคณะกรรมการบริหาร ณ ตําบลมะขามปอ ม นน้ั เอง และโรงรับจาํ นาํ ของตนใหญโ ตมีรายไดสมใจ ประเด็นคําถาม 1. จากกรณีศกึ ษานายซื่อนอย นายกเทศมนตรตี าํ บลมะขามปอ มคนปจ จบุ ัน ต้งั โรงรับจาํ นําของตน ณ ตาํ บลมะขามปอ ม มคี วามผิดทางวินยั และอาญา หรอื ไมเ พราะเหตุใด 2. นายฉลาดมคี วามผดิ ในการทุจริตหรอื ไม เพราะเหตใุ ด 3. ใครเปน ผมู คี ณุ ธรรมและไมมีคุณธรรมในการทํางานใหกบั รฐั 4. หากทา นเปน ชาวบา นตําบลมะขามปอม ทราบเร่ืองตามเหตกุ ารณในกรณีศกึ ษา ทานทาํ อยา งไร เพราะเหตุใด

ห น า | 106 ใบงาน 1. แบง กลุมผูเรียนกลุมละ 3 - 4 คน และใหศึกษากรณีศึกษาเร่ือง “โรงรับจํานําทําพิษ” จดบันทึก ความคิดเหน็ ของตนตามประเด็น 1 - 4 และใหส มาชิกในกลมุ นาํ เสนอขอ คดิ เหน็ ของตนเองตอกลุม แลวชวยกันวเิ คราะหส รปุ เปนผลงานของกลมุ โดยใชค วามรจู ากกฎหมายการปองกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. 2542 และท่แี กไ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2554 ประกอบ 2. ใหต ัวแทนแตล ะกลุม นาํ เสนอผลสรปุ ของกลุมในหอ งเรยี น และผสู อนชวยเตมิ เตม็ พรอมสอดแทรก ความรเู รือ่ งการปอ งกันการทจุ รติ คุณธรรม ความซื่อสัตย 3. ใหผ เู รยี นคน ควาทํารายงานเรือ่ งจริงเกี่ยวกับการทจุ ริตของขาราชการในรูปแบบตาง ๆ และเสนอ แนวทางปอ งกันและปราบปราม คนละเรือ่ ง กจิ กรรมการเรียนรูต อ เนอื่ ง ใหผเู รียนคนควาทาํ รายงานเรอื่ งจริงเกย่ี วกบั การทจุ รติ ของขา ราชการในรปู แบบตาง ๆ และเสนอ แนวทางปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต คนละ 1 เรอ่ื ง ส่อื และแหลงคนควา - เอกสาร พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และ ทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2554 - www.nacc.go.th

ห น า | 107 เรื่อง 3 ไมก ลายเปน งา วัตถปุ ระสงค 1. วิเคราะหพ ฤติกรรมและโทษของผกู ระทาํ ความผิดไดอยางมีเหตุผลและหลักกฎหมาย 2. นําหลกั คณุ ธรรมมาวิเคราะหใ นสถานการณท ี่เกดิ ข้นึ ได 3. บอกวิธีการมสี ว นรว มในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ 4. เกิดจติ สาํ นกึ การมสี ว นรวมในการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ 5. ไดขอคดิ จาการศกึ ษากรณตี ัวอยางในการกระทําการทจุ รติ เนอ้ื หาสาระ พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 และ ทีแ่ กไขเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2554 กรณีศกึ ษา นายเฮยี ง เปน พอ คาท่ีมีอทิ ธิพลในวงการธุรกิจและวงการเมอื ง รวมไปถึงวงการราชการไทย คร้ังหนึ่ง เขาไดพ านกั การเมืองและขาราชการชนั้ ผูใหญ จาํ นวนประมาณ 12 คน ไปเทย่ี วเมืองจนี โดยออกคาเดินทาง และคา ใชจ ายอนื่ ท้งั หมด เมื่อถึงวันเดินทางกลบั นายเฮยี งไดแอบนาํ ลังไมขนงาชางและเครื่องลายครามลํ้าคา จากเมอื งจีนเขามา โดยบอกวาเปนไมแ กะสลักธรรมดาของผเู ดินทาง ทั้ง 12 คน และกระทําการหลบเลี่ยง การตรวจประเมินราคาจัดเกบ็ ภาษีของเจาหนา ทผ่ี ตู รวจ นายเฮยี งไดรบั ยกเวน การตรวจ โดยเจาหนาท่ีไมไดลงไปตรวจสิ่งของหรือใหนําสิ่งของขึ้นมาทาง ประตูมาใหตรวจแตอ ยางไร เพราะนายเฮยี งมคี วามสนทิ สนมคนุ เคยและใหสิ่งของแกเจาหนาที่ผูตรวจเปน ประจาํ ครงั้ นเ้ี จา หนา ที่คํานวณและเกบ็ ภาษีเปน เงินเพยี ง 1,000 บาท โดยไมไดเปดลังตรวจตามข้ันตอนปกติ ขณะทนี่ ายเฮียงขนของออกจากสนามบิน เจาหนาที่ รปภ. พบพิรุธและไมใหนําสินคาออก แมวานายเฮียง จะไดแสดงใบเสยี ภาษีแลว แตเน่ืองจากใบแสดงการเสยี ภาษี ระบุจายภาษีแค 1,000 บาท ท้ังที่สินคามีถึง 4 ลังใหญ จงึ ดาํ เนินการกกั สินคาไวกอ น ในชวงเวลาที่สนิ คา ถูกกกั นายเฮียง พยายามตอรองนาํ สินคา ออกมานั้น มีพลเมอื งดีโทรศพั ทเขามา แจง ป.ป.ช.วา นายเฮียงไดแจงนําสินคาไมตรงกับรายการท่ีไดรับแจง ทาง ป.ป.ช. จึงไดรีบประสานงาน ระงบั การนาํ สนิ คาออก เพื่อรอการตรวจพสิ จู น หลังจากนน้ั จงึ พบวา จากทีน่ ายเฮยี ง แจงวา เปน ไมแกะสลกั กลับกลายเปน งาชา งแกะสลัก ลวดลายละเอยี ดสวยงาม และเปนเครอ่ื งลายครามโบราณ มูลคาหลายลานบาท เมื่อหลักฐานการสืบคนชัดเจน จึงไดดําเนินการสงฟองจําเลย คือ เจาหนาที่ผูจัดเก็บภาษีฐานละเลย การปฏบิ ตั หิ นาท่ี และนายเฮียง ฐานสนับสนนุ การกระทาํ ความผดิ ของเจาหนา ท่ี ในคดีนี้ศาลไดพิพากษาวา จาํ เลย คอื เจา หนาที่ผูจ ัดเก็บภาษี ละเลยการปฏิบัติหนาท่ี สวนนายเฮียง น้ัน ศาลลงโทษจําคุกและปรับ เปน เงนิ 4 เทา ของราคาประเมิน บวกอากรรวมเปน เงนิ หลายสบิ ลา นบาท

ห น า | 108 ประเดน็ 1. ใหผเู รยี นวเิ คราะหต วั ผกู ระทาํ การทุจริตรายบคุ คลวาเหมอื นหรือแตกตางกนั อยา งไร 2. ใหผูเรียนวเิ คราะหก ารขาดคุณธรรม จรยิ ธรรม แตล ะบุคคลทเ่ี ก่ยี วของกบั การทจุ รติ 3. ใครควรไดรับการยกยอ งมากทสี่ ุด เพราะเหตุใด ใบงาน 1. ใหผเู รียนฝก วิเคราะหร ปู แบบการทจุ ริตจากแหลง ขา วตาง ๆ 2. ใหผเู รียนวิเคราะหผ ลดใี นการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต 3. ใหผเู รยี นเสนอแนวทางในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต กิจกรรมการเรยี นรอู ยา งตอ เนื่อง มอบหมายผเู รียน ศกึ ษากรณีตัวอยางการกระทําทุจริตท่ี ป.ป.ช. ช้ีมูลและผูมีอํานาจหนาที่ไดสั่ง ลงโทษแลว จากเว็บไซตของ ป.ป.ช. พรอมวิเคราะหประเด็นตามใบงานและเสนอวิธีการมีสวนรวมใน การปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ นาํ มาเสนอเปนรายงาน คนละ 1 เรื่อง สอื่ แหลง คน ควา 1. มุมสง เสรมิ การเรียนรดู า นการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ หองสมุดประชาชน 2. เว็บไซต สาํ นักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th 3. สํานกั งาน ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวัด

ห น า | 109 เรอ่ื ง 4 ทุจริตประปา วตั ถุประสงค 1. วเิ คราะหพ ฤติกรรมและโทษของผูกระทาํ ความผดิ ไดอ ยา งมเี หตผุ ลและหลกั กฎหมาย 2. นาํ หลักคณุ ธรรมมาวิเคราะหใ นสถานการณท ี่เกดิ ข้นึ ได 3. บอกวิธกี ารมสี วนรวมในการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ 4. เกดิ จิตสํานึกการมสี ว นรวมในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต 5. ไดข อคิดจาการศึกษากรณีตัวอยา งในการกระทําการทจุ รติ เนอ้ื หาสาระ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2542 และ ทแี่ กไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2554 กรณศี ึกษา องคการบรหิ ารสว นตาํ บลแหงหนง่ึ ไดป ระกาศสอบราคาจางเหมาระบบประปาหมูบาน ในวงเงิน 400,000 บาท โดยมหี างหุนสวน คอนกรตี จํากดั แหงหน่งึ ซงึ่ เสนอราคาต่ําสุดเปนผูไดรับเลือกใหกอสราง ระบบประปาดงั กลา ว และองคก ารบริหารสว นตาํ บล ไดม ีคาํ สัง่ แตง ตั้งคณะกรรมการตรวจจางประกอบดว ย นายกิจจา ประธานคณะกรรมการองคการบริหารสวนตําบล เปนประธานกรรมการ นายขรรคชัย ปลัดองคการบริหารสวนตาํ บล เปน กรรมการ นอกจากนย้ี ังมีกรรมการบริหารและผูแทนประชาคมหมูบาน อีก 2 คน รวมเปนกรรมการ โดยมีนายคนึง หัวหนาสวนโยธา เปนผูควบคุมงานกอสราง ซึ่งนายกิจจา นายขรรคชยั และนายคะนงึ ไดรว มกนั เรียกรบั เงินจากหา งหนุ สว น คอนกรีต จํากัด จํานวน 10 เปอรเซ็นต ของวงเงนิ คา จางกอ สราง หรือประมาณ 40,000 บาท เพือ่ เปน การตอบแทนในการเบิกจายเงินคากอสราง แตหางหุนสวน คอนกรีต จํากัด ไดขอตอรองเหลือ 20,000 บาท และไดแจงความกับเจาหนาท่ีตํารวจ กองบังคบั การสอบสวนสืบสวน โดยวางแผนเขาจบั กุมนายกิจจา กบั คณะ ไดพ รอ มกบั เงนิ ของกลาง ประเดน็ 1. ใหผ เู รียนวิเคราะหตัวผกู ระทําการทุจริตรายบุคคลวาเหมอื นหรอื แตกตา งกัน อยางไร 2. ใหผ ูเรยี นวเิ คราะหการขาดคุณธรรม จรยิ ธรรมแตละบคุ คลทเ่ี ก่ยี วของกบั การทุจริต

ห น า | 110 ใบงาน 1. ใหผ เู รียนฝกวิเคราะหร ปู แบบการทจุ ริตจากแหลงขาวตา ง ๆ 2. ใหผเู รยี นวเิ คราะหผ ลดใี นการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ 3. ใหผ เู รียนเสนอแนวทางในการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ กิจกรรมการเรยี นรูอยา งตอ เนื่อง มอบหมายผเู รยี น ศึกษากรณีตัวอยางการกระทําทุจริตท่ี ป.ป.ช. ชี้มูลและผูมีอํานาจหนาที่ไดสั่ง ลงโทษแลว จากเว็บไซตข อง ป.ป.ช. พรอ มวเิ คราะหป ระเดน็ ตามใบงานและเสนอวิธีการมสี ว นรว มใน การปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ นาํ มาเสนอเปน รายงาน คนละ 1 เร่อื ง ส่ือ แหลงคน ควา 1. มุมสง เสริมการเรยี นรูดา นการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต หอ งสมดุ ประชาชน 2. เวบ็ ไซต สาํ นักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th 3. สํานกั งาน ป.ป.ช. ประจาํ จังหวดั

ห น า | 111 เร่อื ง 5 นํา้ ทว มจริงหรือ วตั ถปุ ระสงค 1. ผูเรียนสามารถตดั สินไดวาพฤตกิ รรมของเจาหนา ทต่ี ามกรณตี วั อยางเปนการทจุ รติ ตามกรณีใด 2. ผเู รียนสามารถวเิ คราะหผ ลกระทบที่เกิดขนึ้ ตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมอันเปนเหตุ สบื เนือ่ งมาจากการทจุ รติ ในกรณดี ังกลา ว 3. ผูเรียนสามารถแจงเบาะแสตอผูมีหนาที่ในการปองกันการตรวจสอบและการปราบปราม การทจุ รติ ได เน้อื หาสาระ 1. ผลประโยชนท บั ซอน และการทุจรติ กรณกี ารรบั ทรัพยสนิ หรอื ประโยชนอ่นื ใด 2. พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจริต พทุ ธศกั ราช 2542 และ (ฉบบั ที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19(3) 3. ภารกิจและอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการ ป.ป.ช. 4. คณุ ธรรม จริยธรรมทเี่ ก่ียวของกบั การปอ งกนั การทจุ ริต 5. เครอื ขา ยการมสี ว นรวมของประชาชนและชอ งทางการรองเรียนการทจุ รติ กรณีศึกษา เมอ่ื เกิดเหตสุ าธารณภยั เชน นา้ํ ทว ม ภัยหนาว ตามจาํ นวนวันที่ราชการกําหนดไว ทางราชการได วางแนวทางในการปฏิบัติราชการไวว า สามารถจัดซ้อื จัดจางพสั ดุดว ยวธิ ีพิเศษ เพ่อื ใหไ ดส ่งิ ของ เชน อาหาร ยา เสอ้ื ผา ขา วของเครอื่ งใช หรอื สาธารณปู โภค เชน การซอ มแซมถนนหนทาง ระบบไฟฟา ประปา ฯลฯ เพื่อชวยเหลือหรือบรรเทาทุกขประชาชนผูเดือดรอน กรณีศึกษาท่ียกมาใหพิจารณา เปนกรณีของ ขาราชการระดบั สูงของอําเภอแหง หน่งึ ซง่ึ มีอาํ นาจในการพจิ ารณาจดั ซอื้ จัดจา งพสั ดุเพอ่ื ชว ยเหลอื บรรเทา สาธารณภยั ดังนี้ “นาย จ เปนขาราชการระดับสูงของอําเภอแหง หน่ึง ไดรายงานเหตดุ วนสาธารณภัยวา เกดิ อุทกภัย ในพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบ ทั้งท่ีในชวงเวลาน้ันไมมีอุทกภัยหรือฝนตกหนักแตอยางใด การรายงานเหตุดวน สาธารณภยั อันเปน ความเท็จดงั กลา ว ทาํ ใหน าย จ ไดใชเปนเหตุอนุมัติใหวาจางผูรับจาง ท้ังที่รูอยูแลววา คณะกรรมการฯ (คณะกรรมการท่ีดําเนินการเกี่ยวกับการจัดจาง) ไมไดดําเนินการเจรจาตอรองราคากับ ผูร บั จา งตามระเบยี บฯ

ห น า | 112 ประเด็น 1. จากกรณตี วั อยา ง ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปองกันและปราบปราม การทุจริต พุทธศักราช 2542 และ (ฉบับที่ 2) พุทธศกั ราช 2554 มาตรา 19(3) เปนการทุจรติ หรือไม กรณใี ด 2. ตอกรณีดงั กลา ว อํานาจในการตรวจสอบการทจุ ริต การชีม้ ูลความผดิ เปน อาํ นาจของ ป.ป.ช. หรอื ไม 3. ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ ตอ ประชาชนทวั่ ไป อันเนอ่ื งมาจากพฤตกิ รรมดงั กลาว ชองทางการรอ งเรยี น เพ่อื ใหม กี ารตรวจสอบ และการสรางคณุ ธรรมใหเกิดขึน้ เพ่อื ปองกันการเกดิ พฤติกรรมการทจุ ริตดังกลาว ใบงาน แบงกลมุ ผเู รียน ใหก ลมุ รวมกนั วเิ คราะห รว มกนั แสดงความเห็นและหาขอสรปุ เปน ความคิดเห็น รว มกนั และตวั แทนกลมุ นําเสนอ กรณีตัวอยางตามประเดน็ ตอไปน้ี 1. พฤติการณดังกรณตี วั อยาง เปนการทจุ ริตหรอื ไม อยา งไร 2. หากกรณีดงั กลา วเปน การกระทาํ ทจุ รติ อาํ นาจในการตรวจสอบเปนของหนวยงานใด และมี ชองทางในการสง ขาวสารการทจุ รติ ใหผมู หี นาทต่ี รวจสอบทราบได อยา งไรบา ง 3. ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึนตอ ตนเอง ตอ ครอบครัว ตอชมุ ชนและสังคม อันเปน ผลมาจากเหตุแหง การกระทาํ ดังกลาว 4. ตอ งเรง สรางคุณธรรมใดบา งใหเ กิดขน้ึ ในสงั คมเพ่ือปอ งกนั มิใหเกิดการทุจริตดงั กลา ว กิจกรรมการเรยี นรูอยา งตอเน่ือง 1. มอบหมายผูเรียนรายบุคคล ศึกษากรณตี วั อยางการกระทาํ ทจุ ริตท่ี ป.ป.ช. ชม้ี ูลและผมู ีอาํ นาจ หนา ท่ไี ดส งั่ ลงโทษแลว จากเว็บไซตข อง ป.ป.ช. พรอ มวเิ คราะหตามประเด็น 1 - 4 ตามใบงานและนาํ มา เสนอเปน รายงาน คนละ 1 เรอื่ ง ส่ือ แหลงคนควา 1. มมุ สง เสรมิ การเรยี นรดู า นการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต หอ งสมดุ ประชาชน 2. เวบ็ ไซต สํานักงาน ป.ป.ช. แหลงอางองิ เว็บไซต สาํ นักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th เขา ถงึ ได ณ วันท่ี 19 มนี าคม 2556

ห น า | 113 เรื่อง 6 ขุดบอ ....ลวงใคร วัตถปุ ระสงค 1. ผูเรียนสามารถตัดสินไดว า พฤตกิ รรมของเจาหนาที่ตามกรณีตวั อยางเปนการทจุ รติ ตามกรณใี ด 2. ผเู รียนสามารถวิเคราะหผลกระทบท่เี กดิ ขน้ึ ตอ ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมอันเปน เหตุ สืบเน่อื งมาจากการทจุ รติ ในกรณดี ังกลาว 3. ผูเรียนสามารถแจง เบาะแสตอ ผมู หี นาทใี่ นการปอ งกนั การตรวจสอบและการปราบปรามการทจุ รติ ได เนือ้ หาสาระ 1. ความหมายของการทจุ ริตและผลประโยชนทบั ซอนกรณกี ารรบั ทรพั ยสนิ หรอื ประโยชนอ ื่นใด 2. นําเสนอเนอ้ื หาสารบญั ญตั ิของมาตรา 19(3) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วาดวย การปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พทุ ธศักราช 2542 (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2554 3. นําเสนอเกย่ี วกับภารกจิ และอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. กรณีศึกษา นาย ป. เปน ขาราชการ สังกดั สาํ นักงานปฏิรปู ทีด่ นิ จงั หวดั ของจงั หวดั แหงหนึ่ง มีหนาท่ีรับผิดชอบ แผนงานพัฒนารายไดและปรับปรุงโครงการผลติ ประจําปงบประมาณ 2540 กรณีเกษตรกรในเขตปฏิรูป ทดี่ ินทองทีห่ มบู า นหนงึ่ ในเขตจงั หวดั นัน้ มเี กษตรกร จํานวน 13 ราย ขอกูเงนิ จากสํานกั ปฏริ ปู ทดี่ นิ จังหวัด รายละ 50,000.-บาท เพ่ือนําไปใชในการขุดบอน้ําบาดาล นาย ป. ซ่ึงมีหนาที่รับผิดชอบตามแผนงาน ดงั กลา ว ไดหลอกลวงเกษตรกรทง้ั 13 ราย วา การขดุ เจาะบอ นํ้าบาดาลน้นั เกษตรกรตองวา จางหนวยงาน ของทางราชการใหเ ปน ผูขุดเจาะเทาน้นั หากเกษตรกรรายใดไมวาจางหนวยงานราชการใหขุดเจาะบอนํ้าบาดาล จะตองคืนเงินใหแกท างราชการ ทั้งท่ีความจริงแลว ทางราชการมิไดมีระเบียบในเรื่องดังกลาวแตอยางใด เปน เหตุใหเ กษตรกรหลงเช่ือและวา จา ง นาย ป. ใหเปนผูขุดเจาะบอน้ําบาดาล ผลการขุดเจาะบอนํ้าบาดาล ใหเ กษตรกร 8 ราย พบวา ปรากฏวาไมมนี ้ําเพียงพอท่ีจะใชในการทําการเกษตร เกษตรกรอีก 5 รายที่ยัง ไมไ ดวา จาง นาย ป. ขดุ เจาะบอนาํ้ บาดาล จึงไมยอมให นาย ป. ขุดเจาะนํ้าบาดาล นาย ป. จึงไดไปหลอกลวง เกษตรกรท้ัง 5 ราย วา จะตองคืนเงินท่กี ูม ารายละ 50,000.-บาท แกทางราชการ เกษตรกรท้ัง 5 ราย จึงได คนื เงินใหแ ก นาย ป. เพื่อนําไปคืนแกทางราชการ

ห น า | 114 ประเดน็ 1. จากกรณีตัวอยา ง ตามพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปราม การทจุ รติ พทุ ธศักราช 2542 (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19(3) เปน การทจุ รติ หรอื ไม กรณใี ด 2. ตอกรณีดงั กลา ว อาํ นาจในการตรวจสอบการทจุ รติ การชม้ี ูลความผดิ เปนอํานาจของ ป.ป.ช. หรอื ไม 3. ผลกกระทบทเ่ี กิดข้นึ ตอ ประชาชนทั่วไปอันเนอ่ื งมาจากพฤติกรรมดงั กลา ว ชองทางการรอ งเรียน เพ่ือใหม กี ารตรวจสอบ และการสรา งคุณธรรมใหเกิดข้ึนเพ่ือปอ งกนั การเกดิ พฤติกรรมการทจุ ริตดงั กลาว ใบงาน แบง กลุมผเู รยี น ใหก ลมุ รวมกันวิเคราะห รวมกันแสดงความเห็นและหาขอ สรปุ เปนความคิดเห็น รว มกนั และตวั แทนกลมุ นาํ เสนอ กรณตี วั อยางตามประเด็นตอ ไปนี้ 1. กรณตี ัวอยางเปน การขัดกนั แหงผลประโยชนห รอื ไม และนําไปสูการทจุ ริตอยางไร 2. หากกรณดี ังกลา วเปนการกระทาํ ทจุ รติ อาํ นาจในการตรวจสอบเปนของหนวยงานใด และมี ชองทางในการสง ขาวสารการทจุ รติ ใหผ มู หี นาทท่ี ราบไดอยา งไรบา ง 3. ผลกระทบทเี่ กิดขึ้นตอตนเอง ตอครอบครัว ตอชุมชนและสงั คม อนั เปนผลมาจากเหตุแหง การกระทาํ ดงั กลา ว 4. ตอ งเรง สรา งคุณธรรมใดบา งใหเ กดิ ข้ึนในสังคมเพอ่ื ปองกนั มิใหเกดิ การทจุ รติ ดงั กลา ว กจิ กรรมการเรียนรอู ยา งตอ เนือ่ ง 1. มอบหมายผูเ รียนรายบุคคล ศกึ ษากรณีตวั อยา งการกระทําทจุ รติ ท่ี ป.ป.ช. ชมี้ ูลและผูมีอํานาจ หนาทไ่ี ดสัง่ ลงโทษแลว จากเว็บไซตของ ป.ป.ช. พรอมวิเคราะหตามประเด็น 1 - 4 ตามใบงานและนํามา เสนอเปน รายงาน คนละ 1 เรอ่ื ง 2. ยกตวั อยางกรณีที่ผูเรียนเคยประสบดวยตัวเอง หรือโดยคนในครอบครัว อันเปนพฤติการณที่ อาจเปน ลกั ษณะของการขดั กันแหง ผลประโยชน และอภิปรายวา พฤติการณน้ัน อาจนําไปสูการทุจริตได อยา งไร สือ่ แหลงคนควา 1. มุมสงเสริมการเรยี นรูด า นการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ หอ งสมุดประชาชน 2. เว็บไซต สํานักงาน ป.ป.ช. แหลง อา งอิง 1. คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาต.ิ รายงานผลการตรวจสอบและผลการ ปฏิบตั ิหนา ท่ี ประจําป พ.ศ. ๒๕๔๗

ห น า | 115 เรอื่ ง 7 ใครผิด...... วตั ถุประสงค 1. ผูเรยี นสามารถตัดสนิ ไดวา พฤติกรรมของเจาหนา ทต่ี ามกรณศี กึ ษามีผลประโยชนทบั ซอนหรอื ไม และมกี ารทจุ รติ ตามกรณีใด 2. ผูเ รียนสามารถวเิ คราะหผลกระทบท่ีเกิดขึ้นตอ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คมอนั เปนเหตุ สบื เนอ่ื งมาจากการทจุ รติ ในกรณีดังกลาว 3. ผูเรียนสามารถแจง เบาะแสตอ ผมู หี นา ทใ่ี นการปอ งกนั การตรวจสอบและการปราบปราม การทจุ รติ ได เน้ือหาสาระ 1. ผลประโยชนท บั ซอ น และการทจุ ริต กรณกี ารเขา ไปมสี ว นไดเ สียในการจดั ซ้ือที่ดิน 2. ภารกิจและอาํ นาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการ ป.ป.ช.พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวย การปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พุทธศักราช 2542 (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศกั ราช 2554 มาตรา 19(4) และ ความผิดทางอาญา กรณีเขา ไปมสี วนไดเสีย อนั เปนการใชอาํ นาจในตําแหนง โดยทจุ รติ และปฏิบัติหนาทโี่ ดย ทุจริต 3. คุณธรรม จรยิ ธรรมทเ่ี ก่ยี วของกับการปองกนั การทจุ ริต 4. เครอื ขายการมสี ว นรว มของประชาชนและชอ งทางการรองเรยี นการทจุ ริต กรณีศกึ ษา เทศบาลตองการซื้อที่ดนิ เพือ่ ทําเปนทีท่ ิ้งขยะ นายอนุสรณ นายกเทศมนตรี ไดอนุมัติใหเทศบาล จดั ซื้อทด่ี นิ และในการจัดซอื้ นายอนสุ รณไ ดม ีคาํ ส่งั แตงตั้งคณะกรรมการหลายคณะ เพื่อดําเนินการจัดซื้อ ท่ีดนิ ดังน้ี 1. แตงตั้งนายโกศล เปนกรรมการทปี่ รกึ ษาและจัดซื้อทดี่ นิ พรอมรว มตอ รองราคา 2. แตงต้งั นายสวุ รรณ และคณะอกี 4 คน เปนกรรมการกาํ หนดหลักเกณฑสถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอย จะตองเปนพ้ืนท่ีในเขตเทศบาลและอยูหางไกลชุมชนพอสมควร และหากมีพื้นท่ีท่ีติดกัน เจาของที่ดิน จะตองมอบอํานาจใหเ จาของทด่ี นิ รายใดรายหนึ่งมายน่ื แตเ พยี งผเู ดยี วและมอี าํ นาจในการตดั สินใจทําการแทน ไดดว ย 3. แตงตั้ง นายแสงสี และคณะอีก 4 คน เปนกรรมการจัดซื้อที่ดินโดยวิธีพิเศษ โดยมิไดเชิญ เจาของท่ีดินมาเสนอราคาและช้พี น้ื ทจ่ี รงิ และคณะกรรมการฯ ก็มไิ ดล งไปดพู ้ืนที่จรงิ ดว ย 4. แตง ต้งั นายววิ ัฒน และคณะอกี 4 คน เปน กรรมการตรวจรับที่ดิน และคณะกรรมการฯ ก็มิได ลงไปดพู ้ืนทจ่ี ริงดวย

ห น า | 116 ขอเท็จจริงปรากฏวา นายอนสุ รณไดรวบรวมและจัดซอ้ื ท่ีดิน จาํ นวน 4 แปลง ไวล วงหนา เพื่อขาย ใหก ับเทศบาล และที่ดินท่ีขายใหกับเทศบาลมีสภาพเปนบอลูกรังลึก ประมาณ 20 เมตร เต็มพื้นที่ และ มีเสาไฟฟาแรงสูงตัง้ อยใู นทด่ี ิน และท่ดี นิ อยูน อกเขตเทศบาลไมม ที างเขาออก และมีราคาประเมินตารางวาละ 200 บาท แตซ้อื ในราคา 1,000 บาท ทาํ ใหทางราชการซอ้ื ทดี่ นิ แพงขึน้ กวา ความเปน จริง ประเดน็ 1. จากกรณศี ึกษา เจา หนา ทข่ี องเทศบาลซือ่ สตั ยส จุ รติ หรือไม และเปน การใชอํานาจในตําแหนง โดยทุจรติ และปฏิบตั หิ นาทีโ่ ดยทจุ ริตหรือไม 2. ในกรณดี งั กลา ว อาํ นาจในการไตสวนการทจุ รติ การชม้ี ลู ความผิด เปนอํานาจของ ป.ป.ช. หรือไม (พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พทุ ธศกั ราช 2542 และ (ฉบับที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2554 มาตรา 19(4)) 3. การรอ งเรยี นเพ่ือใหม ีการตรวจสอบพฤติกรรมการทุจริตดังกลาว ทา นคิดวา มีชอ งทางใดท่ี สามารถทําได ใบงาน แบงกลุมผูเรียน ใหกลุมรวมกันวิเคราะห รวมกันแสดงความเห็นและหาขอสรุปเปนความ คิดเห็นรวมกัน และตัวแทนกลุมนําเสนอ กรณีตวั อยางตามประเดน็ ตอ ไปนี้ 1. กรณตี วั อยา งใครทีข่ าดคุณธรรม และขาดคณุ ธรรมในเรื่องใดบา ง และนําไปสกู ารทจุ ริต อยา งไร 2. หากกรณดี ังกลา วเปน การกระทําทจุ ริต และบคุ คลแตล ะกลุม มคี วามผิด อยา งไรบา ง 3. อาํ นาจในการตรวจสอบเปน ของหนว ยงานใด และมีชองทางในการสงขา วสารการทจุ รติ ให ผูม หี นา ทีท่ ราบไดอยา งไรบา ง 4. หากนกั ศกึ ษาพบเหน็ เหตกุ ารณ นักศกึ ษามแี นวทางและวิธีการแกปญ หา อยา งไร กิจกรรมการเรียนรอู ยา งตอเนอื่ ง มอบหมายผเู รียนรายบคุ คล ยกตวั อยา งเหตุการณท่ีมกี ารทจุ รติ ทม่ี อี ยใู นชมุ ชน และนักศึกษามี แนวปอ งกนั อยา งไรบา ง และนํามาเสนอเปนรายงาน คนละ 1 เรอื่ ง สอ่ื แหลงคนควา 1. มุมสง เสริมการเรยี นรูดา นการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ หอ งสมดุ ประชาชน 2. เวบ็ ไซต สาํ นักงาน ป.ป.ช.

ห น า | 117 เร่อื ง 8 ทาํ ไดอยา งไร..... วตั ถุประสงค 1. ผเู รียนสามารถตัดสนิ ไดวา พฤติกรรมของเจา หนา ทีต่ ามกรณีตัวอยางเปน การทุจรติ ตามกรณใี ด 2. ผเู รียนสามารถวเิ คราะหผลกระทบท่เี กิดขึน้ ตอตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม อนั เปนเหตุ สบื เน่อื งมาจากการทจุ ริตในกรณีดงั กลา ว 3. ผเู รยี นสามารถแจง เบาะแสตอ ผมู หี นา ทใ่ี นการปอ งกนั การตรวจสอบและการปราบปราม การทจุ รติ ได เนอ้ื หาสาระ 1. ผลประโยชนทบั ซอ น และการทจุ รติ กรณกี ารรบั ทรัพยส นิ หรือประโยชนอ น่ื ใด 2. พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พทุ ธศกั ราช 2542 (ฉบบั ที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19(4) 3. ภารกิจและอาํ นาจหนา ท่ีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. 4. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การปองกันการทจุ รติ 5. เครอื ขา ยการมสี วนรว มของประชาชนและชองทางการรองเรยี นการทจุ ริต กรณศี ึกษา เทศบาลแหง หนึง่ ไดกําหนดโครงการกอ สรางถนน จํานวน 2 โครงการ โครงการกอสรางคูระบายน้ํา จํานวน 2 โครงการ และโครงการกอสรางอาคารเรียน จํานวน 2 โครงการ ซ่ึงมีบริษัทกอสราง ก บริษัท กอสรา ง ข และบริษัทกอสราง ค เขามายื่นซองประกวดราคา ปรากฏวา ผลการประกวดราคา เปนดังน้ี บรษิ ัท ก ชนะการประกวด และไดกอสรางถนน จํานวน 2 โครงการ บริษัทกอสราง ข ชนะการประกวด และไดก อ สรางครู ะบายน้าํ จํานวน 2 โครงการ และบริษัท ค ชนะการประกวด และไดกอ สรา งอาคารเรียน 2 โครงการ ซง่ึ ปรากฎภายหลังพบวา ทงั้ 3 บรษิ ัท เปน ของนายกุสุม ซงึ่ ดาํ รงตําแหนงนายกเทศมนตรีของ เทศบาลแหง นแ้ี ตเพียงผูเดียว แตไดใ ชชือ่ บุคคลใกลช ิดเปนผูขอจดทะเบยี นและจัดตั้งบรษิ ทั ทงั้ 3 บริษทั ประเดน็ 1. จากกรณตี ัวอยา ง ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยการปองกันและปราบปราม การทจุ ริต พุทธศกั ราช 2542 (ฉบับท่ี 2) พทุ ธศักราช 2554 มาตรา 19(4) เปนการทุจริตหรอื ไม กรณใี ด 2. ตอกรณีดังกลาว อาํ นาจในการตรวจสอบการทจุ ริต การชม้ี ลู ความผดิ เปนอาํ นาจของ ป.ป.ช. หรอื ไม

ห น า | 118 3. ผลกกระทบทเี่ กิดขนึ้ ตอประชาชนทว่ั ไปอันเนอ่ื งมาจากพฤติกรรมดงั กลา ว ชอ งทางการรอ งเรยี น เพื่อใหม ีการตรวจสอบ และการสรา งคณุ ธรรมใหเกดิ ขน้ึ เพอื่ ปอ งกันการเกดิ พฤตกิ รรมการทุจริตดังกลา ว ใบงาน แบง กลุม ผเู รียน ใหก ลุมรวมกันวเิ คราะห รว มกันแสดงความเหน็ และหาขอสรุปเปนความคิดเห็น รวมกนั และตวั แทนกลุม นําเสนอ กรณตี วั อยา งตามประเดน็ ตอไปน้ี 1. กรณีตวั อยา งนายกสุ มุ ไดก ระทําการฝา ฝน พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 ในเรือ่ งใด และ ขาดคณุ ธรรมในเรือ่ งใดบาง และนาํ ไปสูก ารทจุ ริตอยา งไร 2. ใหน กั ศกึ ษาแบง กลุม กลุม ละ 5 คน ยกตัวอยาง เหตุการณท ม่ี ีอยใู นชมุ ชน หรือศกึ ษาจาก หนงั สอื พมิ พ กิจกรรมการเรียนรอู ยางตอ เนือ่ ง 1. มอบหมายผเู รยี นรายบุคคล ยกตวั อยา งเหตุการณท่มี กี ารทุจริตทมี่ ีอยใู นชมุ ชน และนกั ศึกษา มีแนวปอ งกนั อยางไรบาง และนํามาเสนอเปนรายงาน คนละ 1 เรื่อง สือ่ แหลง คนควา 1. มุมสงเสรมิ การเรียนรูดานการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ หองสมดุ ประชาชน 2. เวบ็ ไซต สํานักงาน ป.ป.ช.

ห น า | 119 เร่อื ง 9 เงนิ หลวง....อยา เอา วตั ถุประสงค 1. ตดั สนิ ไดวาพฤตกิ รรมของเจาหนา ท่ตี ามกรณตี ัวอยา งเปน การทจุ ริตกรณใี ด 2. วิเคราะหผ ลกระทบทเี่ กิดขึ้นตอตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม อนั เปนเหตสุ ืบเนื่องมาจาก การทจุ รติ ในกรณดี ังกลา ว 3. แจง เบาะแสตอ ผมู หี นาทใี่ นการปอ งกนั การตรวจสอบและการปราบปรามการทจุ รติ ได เน้ือหาสาระ 1. การทจุ รติ กรณีการเบียดบังเงนิ รายได 2. ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 และมาตรา 157 ประกอบมาตรา 91 3. ภารกจิ และอํานาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการ ป.ป.ช. 4. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทเ่ี ก่ียวขอ งกับการปอ งกนั การทุจริต 5. เครือขายการมีสวนรว มของประชาชนและชอ งทางการรองเรียนการทจุ ริต กรณศี กึ ษา นางสมศรี เปนขา ราชการระดบั หัวหนาสวนการคลัง ขององคการบริหารตําบลแหงหนึ่ง มีหนาท่ี รับเงิน เบิกจายเงิน ฝากเงนิ เกบ็ รักษาเงิน หรอื งานเกีย่ วกบั งานการเงนิ การบัญชี ไดทจุ ริตเบยี ดบังเงินรายได ขององคการบรหิ ารสวนตําบล โดยกระทาํ ความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการตางกรรมตางวาระ กลาวคือ ในระหวา งวันที่ 18 กุมภาพนั ธ 2544 ถึงวนั ท่ี 27 มถิ ุนายน 2545 ไดเ บียดบงั เงินภาษีปาย ภาษีบํารุงทองท่ี ภาษโี รงเรือนและทดี่ นิ อากรฆาสัตว เงินคา ขายเอกสารสอบราคา เงินมัดจํา รับคืนเงินยืม และเงินคาปรับ จราจร รวมเปน เงนิ ทัง้ ส้ิน 258,955 บาท เปน เหตุใหอ งคการบรหิ ารสว นตาํ บลไดรับความเสียหาย ประเดน็ 1. จากกรณตี ัวอยาง ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 147 และ มาตรา 157 ประกอบมาตรา 91 เปนการทุจริตหรือไมก รณใี ด 2. ตอกรณีดังกลาว อํานาจในการตรวจสอบการทุจริต การช้ีมูลความผิด เปนอํานาจของ ป.ป.ช. หรอื ไม 3. ผลกระทบที่เกิดข้ึนตอประชาชนทั่วไปอันเน่ืองมาจากพฤติกรรมดังกลาว ชองทางการรองเรียน เพือ่ ใหมกี ารตรวจสอบ และสรางคุณธรรมใหเกิดข้ึน เพื่อปอ งกันการเกดิ พฤตกิ รรมการทุจรติ ดังกลา ว

ห น า | 120 ใบงาน ใหแตละกลุมเสนอกิจกรรมท่ีจะชวยปองกันการทุจริตอันเปนผลมาจากการปฏิบัติหนาที่ของ เจา หนาท่ีรัฐ กจิ กรรมการเรยี นรอู ยา งตอเนอื่ ง 1. ใหรวมกันอภิปรายปญหาท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาท่ีรัฐมีอะไรบาง มีสาเหตุและมี วธิ ีการปอ งกันการทุจริตทําไดอยา งไร 2. ใหแ สดงความคิดเหน็ วาหากเปน ตัวผเู รียนจะปฏิบัติอยางไร เพ่ือไมใหเกิดการทุจริตในการปฏิบัติ หนา ทีข่ องเจา หนา ทีร่ ัฐ 3. ในการปฏิบัติตนของเจา หนาท่รี ฐั ควรยดึ คุณธรรมใดบาง 4. ใหสรปุ ผลการอภปิ รายบันทกึ ในสมุด ส่อื และแหลงการเรียนรู 1. ผรู ูเร่ืองระเบียบการเงิน - การบญั ชี 2. ระเบยี บการเงิน - การบัญชี กระทรวงการคลงั 3. มมุ สง เสริมการเรยี นรูดา นการปองกนั และปราบปรามการทุจริต 4. เวบ็ ไซดส าํ นักงาน ป.ป.ช.

ห น า | 121 กิจกรรมทา ยบทที่ 3 1. รฐั ธรรมนูญมีความสาํ คญั กบั ประเทศในแงใดบาง ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 2. รฐั ธรรมนูญฉบบั แรกของไทยมที ่ีมาจากทีใ่ ด ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. อะไรคือสาเหตขุ องการเปลย่ี นแปลงรฐั ธรรมนญู ไทย ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

ห น า | 122 4. องคกรตามรฐั ธรรมนญู ถกู กาํ หนดและต้ังข้นึ ดวยเหตผุ ลใดบา ง ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 5. ผลของการใชรัฐธรรมนญู ต้ังแตอดีตถงึ ปจจบุ ันไดกอ ใหเ กิดความเปลย่ี นแปลง ดา นใดบางแกส งั คมไทยรวมทงั้ ฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 6. ใหผ ูเรยี นศึกษารฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจ จบุ นั มรี ายละเอียดสาํ คญั อยา งไรบา งและ นาํ มาอภปิ รายรว มกนั ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

ห น า | 123 บทที่ 4 สทิ ธิมนษุ ยชน สาระสําคญั มนุษยท ุกคนเกิดมามีเกยี รติและศกั ดศ์ิ รเี ทา เทยี มกนั และไมควรถกู เลยี่ งปฏิบัติ เพราะความแตกตา ง ของเชอ้ื ชาติ ศาสนา เพศ ฐานะ หรือความคดิ เห็น องคการสหประชาชาติ จงึ ไดจ ัดทําปฏิญญาสากลวา ดวยสทิ ธมิ นุษยชน เพ่ือใหป ระเทศตาง ๆ เคารพสิทธิ และปกปองพลเมอื งของตนใหรอดพนจากการถกู รังแกหรือลิดรอนสทิ ธิเสรภี าพข้นั พ้ืนฐาน ทั้งนี้ ประชาชนชาวไทยทกุ คนที่เกิดมาเปน มนษุ ยและเกิดเปนคนไทย ยอมมีศกั ดศิ์ รที จ่ี ะไดรับความ คุมครองจากรัฐโดยเทาเทียม ตามมาตรฐานเดียวกับประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดบญั ญัติสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐานเอาไว อันแสดงจึงเจตนารมณหรือขอ ผูกมัดท่ีรัฐจะ ตองปกปอ งคุมครองประชาชนคนมิใหถ ูกละเมิดสิทธิขัน้ พนื้ ฐาน จากการใชอํานาจรัฐหรือบคุ คลอน่ื ใดก็ตาม ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง 1. รแู ละเขา ใจความหมาย และความสําคญั ของสทิ ธิมนุษยชน 2. บอกความหมายและขอบขายของสทิ ธมิ นษุ ยชนตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญได 3. รจู ักใชแ ละรกั ษาสิทธขิ องตนเองตามกฎหมาย ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 หลักสิทธมิ นุษยชนสากล เรื่องที่ 2 สิทธมิ นุษยชนในประเทศไทย เรื่องท่ี 3 แนวทางการปฏิบัติการตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน

ห น า | 124 เร่ืองท่ี 1 หลกั สิทธิมนษุ ยชนสากล หากเราไดศึกษาสภาพการดําเนินชีวิตของผูอยูในสังคมตาง ๆ ท่ัวโลก ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มขี อ เทจ็ จรงิ ประการหนงึ่ ท่ีพบได คอื การทม่ี นุษยถ ูกเลอื กปฏบิ ตั ิอยางไมเทาเทียมกนั ตามเช้ือชาติ สผี ิว เพศ ฐานะทางเศรษฐกิจ เปน ตน การทําดงั กลา วหลายคร้ัง เปนการละเมิดสิทธิของอีกบุคคลหนึ่งดวยความเชื่อวา บุคคลนัน้ มคี วามดอ ยกวา ผกู ระทําละเมิดไมทางใดก็ทางหน่งึ เชน บางประเทศมคี วามเชื่อวาฐานะของชาย สงู กวาหญิง ก็มักจะเกิดการกระทําท่ีเอารัดเอาเปรียบฝายหญิง หรือประเทศท่ีใชระบบวรรณะ ก็จะเกิด การกีดกน้ั คนในวรรณะท่ีตํา่ กวา เปน ตน ในโลกยุคปจ จุบนั อารยประเทศตา งยอมรับและตองปฏิบัติกับประชาชนของตนเองตามหลักสิทธิ มนษุ ยชนสากล อาจจะมากบางนอยบางก็แลวแต พัฒนาการทางการเมืองการปกครอง ระดับการศึกษา และความตนื่ ตัวในทางการเมืองของประชาชนในประเทศนน้ั ๆ ดังนน้ั เพอ่ื ความเขา ใจที่ตรงกนั ในการศกึ ษา เรือ่ ง สทิ ธิมนุษยชนของประชาชนไทย กอนอื่นขอให เรามาทาํ ความเขา ใจใหต รงกนั และเปน พน้ื ฐานในการคิดวเิ คราะห ตระหนกั ถึงความสําคญั ของสทิ ธมิ นุษยชน ความหมาย สิทธิมนษุ ยชน หมายถึง ศักดิ์ศรคี วามเปนมนุษยห รือศักด์ิศรคี วามเปนคน เปน ส่ิงทที่ ุกคนมตี ิดตวั มา แตก ําเนดิ โดยไมแ บงแยกเช้ือชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง หรือแนวคิดอ่ืน ๆ เผาพนั ธุ หรือสังคม ทรัพยส นิ ถ่ินกาํ เนดิ หรอื สถานะอน่ื ๆ จากความหมายดังกลา วจงึ วิเคราะหไ ดว า เรอ่ื ง สทิ ธมิ นุษยชน น้ัน เปนแนวคิดท่ีมีความเชือ่ พน้ื ฐาน ในเรื่องศักดิ์ศรีความเปนมนุษยวา เปนสิทธิหรือสถานะสากล ซึ่งไมขึ้นอยูกับขอบเขตของกฎหมาย หรือ ปจจยั ทองถิ่นอ่ืนใด เชน เชือ้ ชาติ หรอื สญั ชาติ ซึ่งตอ งไดรบั การยอมรบั และไดรับการปฏบิ ัติ โดยมีองคประกอบของหลักสิทธมิ นษุ ยชนทแี่ ตล ะบคุ คลควรไดรับการคุมครองจากรัฐ ไดแก เรื่อง สิทธเิ สรภี าพ ความเสมอภาค และความเปนธรรม ที่จะทําใหบุคคลน้ันดําเนินชีวิตไดอยางมีศักดิ์ศรีและมี หลกั ประกนั ในเรอื่ ง การไดรบั การปกปองคมุ ครองดวยความเปน ธรรม มีรายละเอยี ดของแตละองคประกอบ ดังนี้ 1. สทิ ธิ ในการทจี่ ะมีทีอ่ ยูอาศยั มอี าหารกนิ มยี ารักษาโรค ทีจ่ ะไดรบั การศกึ ษา การไมถูกทําราย รางกายและจติ ใจ และการมีชีวติ ท่ปี ลอดภัย 2. เสรภี าพ ในการแสดงความคดิ เห็นท่ไี มล ะเมดิ สิทธิของผอู ่ืน ในการเลอื กอาชีพท่ไี มผิดกฎหมาย ในการเลอื กคคู รอง ในการเดนิ ทาง ในการนบั ถอื ศาสนา และในการชุมนมุ โดยสงบสันติปราศจากอาวธุ 3. ความเสมอภาค ในการไดรับการปฏิบัติจากรัฐโดยเทาเทียมกัน มีหลักประกันวาจะไมถูกเลือก ปฏบิ ตั ิ และไมโดนเอาเปรียบ 4. ความเปน ธรรม กลุมคนดอยโอกาส คนพิการ ผอู อนแอกวา ไดแก เด็ก สตรี คนชรา คนพิการ ตองไดรบั การปฏบิ ตั ิในบางเรื่องที่แตกตางจากบุคคลท่ัวไปท่ีเขาถึงโอกาสไดมากกวา แข็งแรงกวา ทั้งทาง รา งกายและจิตใจ เพ่ือใหโอกาสคนกลุมน้ีสามารถดําเนินชีวิตไดอยางปกติสุขมีคุณภาพชีวิตที่ไมดอยกวา คนท่วั ไป

ห น า | 125 สรุปไดดงั แผนภมู ิ จากความเชือ่ ดังกลาว องคก ารสหประชาชาติ จงึ ไดจดั ทาํ ปฏญิ ญาสากลวาดว ยเรือ่ ง สิทธิมนษุ ยชน เพ่ือเปนแนวในการประเมินและตัดสินใจวา ประเทศใดมีการกระทําท่ีเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนกับ ประชาชนหรือชาวตา งชาติท่อี าศัยอยูในประเทศหรือไม ปฏิญญาสากลวาดวยเรื่องสิทธิมนุษยชน คาํ ปรารภ โดยการยอมรบั นบั ถอื เกียรติศกั ดิ์ประจาํ ตัว และสิทธิเทาเทียมกันและโอนมิไดของบรรดาสมาชิก ทั้งหลายแหงครอบครวั มนุษย เปนหลกั มลู เหตุแหง อิสรภาพ ความยตุ ิธรรม และสันตภิ าพในโลก โดยการไมน ําพาและการเหยยี ดหยามตอสทิ ธมิ นุษยชน ยังมผี ลใหมกี ารกระทําอันปาเถื่อน ซึ่งเปน การละเมดิ มโนธรรมของมนุษยช าติอยา งรา ยแรง และไดมีการประกาศวา ปณธิ านสูงสุดของสามญั ชน ไดแ ก ความตองการใหมนุษยมีชีวิตอยูในโลกดวยอิสรภาพในการพูด และความเช่ือถือ และอิสรภาพพนจาก ความหวาดกลัวและความตองการ โดยทีเ่ ปน การจําเปน อยา งย่ิงท่ีมนษุ ยชนควรไดร บั การคมุ ครอง โดยหลักบังคับของกฎหมาย ถาไม ประสงคจะใหคนตกอยูในบังคับใหหันเขาหาการหาการขบถขัดขืนตอทรราชย และการขดข่ี เปนวิถีทาง สดุ ทาย โดยท่ีเปน ความจาํ เปนอยางยิ่งทีจ่ ะสงเสริมววิ ฒั นาการแหง สมั พันธไมตรีระหวา งนานาชาติ

ห น า | 126 โดยทป่ี ระชาการแหงสหประชาชาติไดยืนยันไวในกฎบัตรถึงความเชื่อม่ันในสิทธิมนุษยชนอันเปน หลกั ในเกียรติศักด์ศิ รีและคณุ คาของมนุษย และในสทิ ธิเทา เทียมกนั ของบรรดาชายและหญิง และไดตกลงใจท่ี จะเสรมิ ความกาวหนา ทางสังคม และมาตรฐานแหงชวี ิตทีด่ ขี ึน้ ดวยในอิสรภาพอันกวางขวางย่งิ ขึน้ โดยที่รฐั สมาชิกตางปฏญิ าณจะใหบ รรลุถึงซง่ึ การสงเสริมการเคารพ และการปฏิบัติตามท่ัวสากล ตอ สทิ ธิมนุษยชนและอสิ รภาพ โดยรว มมอื กับสหประชาชาติ โดยที่ความเขา ใจรว มกันในสิทธิและอิสรภาพเหลานี้ เปนสิ่งสําคัญอยางย่ิง เพ่ือปฎิญาณน้ีสําเร็จ ผลเต็มบรบิ ูรณ ฉะนน้ั บัดนี้สมัชชาจงึ ประกาศวา:- ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนนี้ เปนมาตรฐานรวมกันแหงความสําเร็จ สําหรับบรรดา ประชากรและประชาชาติท้ังหลาย เพื่อจุดมุงหมายปลายทางท่ีวา เอกชนทุกคนและองคการของสังคม ทกุ องคก าร โดยการราํ ลกึ ถงึ ปฏญิ ญานเ้ี ปน เนืองนิตย จะบากบ่ันพยายามดวยการสอนและศึกษา ในอันทีจ่ ะ สงเสริมการเคารพสทิ ธแิ ละอิสรภาพเหลา น้ี และดวยมาตรการที่กาวหนา ทงั้ ในประเทศและระหวางประเทศ ในอันท่ีจะใหมีการยอมรับนับถือและการปฏิบัติตามโดยสากลและอยางเปนผลจริงจัง ท้ังในบรรดา ประชาชนของรัฐสมาชิกดว ยกนั เอง และในบรรดาประชาชนของดนิ แดนท่ีอยูใตอ ํานาจของรฐั น้ัน ๆ ขอ 1 มนุษยท้ังหลาย เกิดมามีอิสระและเสมอภาคอันเกียรติศักด์ิศรี และสิทธิตางมีเหตุผลและ มโนธรรม และควรปฏบิ ัตติ อกนั ดว ยเจตนารมณแหง ภราดรภาพ ขอ 2 (1) ทกุ คนยอมมสี ิทธแิ ละอิสรภาพ บรรดาที่กําหนดไวในปฏิญญานี้ โดยปราศจากความแตกตาง ไมว า ชนดิ ใด ๆ ดงั เชน เชือ้ ชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง หรือทางอ่ืน เผาพันธุแหงชาติ หรือสังคม ทรพั ยส นิ กาํ เนดิ หรอื สถานะอน่ื ๆ (2) อนึ่ง จะไมมคี วามแตกตางใด ๆ ตามมูลฐานแหงสถานะ ทางการเมือง ทางการศาล หรือ ทางการระหวางประเทศของประเทศ หรือดินแดนท่ีบุคคลสังกัด ไมวาดินแดนนี้ จะเปนเอกราชอยูใน ความพทิ ักษ มไิ ดปกครองตนเอง หรอื อยูภายใตก ารจาํ กัดอธิปไตยใด ๆ ทงั้ สนิ้ ขอ 3 คนทกุ คนมีสิทธใิ นการดํารงชวี ิต เสรภี าพ และความมนั่ คงแหงตน ขอ 4 บุคคลใด ๆ จะถกู ยึดเปนทาส หรอื ตอ งภาระจาํ ยอมไมไ ด หามความเปนทาสและการคา ทาส ทุกรปู แบบ ขอ 5 บคุ คลใด ๆ จะถูกทรมานหรือไดร ับผลปฏิบัติหรือการลงโทษที่โหดรายผิดมนุษยธรรมหรือ ตํ่าชาไมได ขอ 6 ทกุ คนมีสิทธทิ จี่ ะไดร ับการยอมรับนบั ถอื วา เปนบุคคลตามกฎหมายทกุ แหง หน ขอ 7 ทุกคนเสมอกนั ตามกฎหมายและมีสทิ ธทิ จี่ ะไดร บั ความคมุ ครองของกฎหมายเทาเทยี มกนั โดย ปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ ทกุ คนมสี ทิ ธทิ ่จี ะไดรับความคุมครองเทาเทียมกัน โดยปราศจากการเลือก ปฏบิ ตั ิใด ๆ อันเปนการลว งละเมดิ ปฏญิ ญา และจากการยยุ งใหเกิดการเลือกปฏบิ ตั ดิ ังกลา ว ขอ 8 ทุกคนมีสิทธทิ ี่จะไดร ับบาํ บัดอันเปน ผลจริงจังจากศาลที่มีอํานาจแหงชาติตอการกระทําอัน ละเมิดสทิ ธหิ ลักมนษุ ยชนซึง่ ตนไดรบั ตามรัฐธรรมนูญหรอื กฎหมาย ขอ 9 บคุ คลใดจะถูกจบั กุม กักขัง หรอื เนรเทศไปตา งถ่นิ โดยพลการไมได ขอ 10 ทุกคนมีสิทธโิ ดยเสมอภาคเต็มที่ในอันที่จะไดรับการพิจารณาท่ีเปนธรรมและเปดเผยจาก ศาลท่อี สิ ระและเท่ยี งธรรมในการกําหนดสิทธแิ ละหนาท่ขี องตนและการกระทําผดิ อาชญาใด ๆ ท่ีถูกกลาวหา

ห น า | 127 ขอ 11 (1) ทุกคนที่ถูกกลาวหาวากระทําผิดทางอาชญามีสิทธิที่จะไดรับการสันนิษฐานไวกอนวา บรสิ ทุ ธ์ิ จนกวา จะพสิ จู นไดว า มผี ิดตามกฎหมายในการพิจารณาเปดเผย ซึ่งตนไดรับหลักประกันบรรดาที่ จาํ เปนสําหรบั การตอสคู ดี (2) จะถือบุคคลใด ๆ วามีความผิดอาชญา เน่ืองดวยการกระทําหรือละเวนอันมิไดจัดเปน ความผิดทางอาชญาตามกฎหมายแหงชาตหิ รอื กฎหมายระหวางประเทศในขณะไดกระทําการน้ันขึ้นไมได และลงโทษอันหนักกวา ท่ีใชอยู ในขณะทไี่ ดกระทําความผิดทางอาชญานัน้ ไมได ขอ 12 บุคคลใด ๆ จะถูกแทรกสอดโดยพลการในความเปนอยูสว นตัว ในครอบครวั ในเคหสถาน หรอื ในการสอื่ สารหรือจะถกู ลบหลูในเกียรตยิ ศและชื่อเสยี งไมไ ด ทกุ คนมีสิทธิท่จี ะไดรับความคุมครองของ กฎหมายตอการแทรกสอดหรอื การลบหลดู ังกลาวนัน้ ขอ 13 (1) ทุกคนมีสิทธิในอสิ ภาพแหง การเคลื่อนไหวและสถานท่อี ยภู ายในเขตของแตล ะรัฐ (2) ทกุ คนมีสิทธิท่ีจะออกจากประเทศใด ๆ ไปรวมทงั้ ประเทศของตนเองดวยและท่ีจะกลับยัง ประเทศตน ขอ 14 (1) ทุกคนมีสิทธิจะแสวงหาและท่ีจะไดอาศัยพํานักในประเทศอื่น เพ่ือที่จะไดล้ีภัยจาก การประหัตประหาร (2) จะอางสิทธินี้ไมไดในกรณีท่ีการดําเนินคดีสืบเนื่องอยางแทจริงมาจากความผิดท่ีไมใช ทางการเมอื งหรือจากการกระทําอนั ขดั ตอ วตั ถปุ ระสงคแ ละหลกั การของสหประชาชาติ ขอ 15 (1) ทกุ คนมีสทิ ธิในการถือสญั ชาติหน่งึ (2) บคุ คลใด ๆ จะถูกตดั สัญชาตขิ องตนโดยพลการหรอื ถกู ปฏเิ สธสทิ ธทิ ่ีจะเปลยี่ นสัญชาติ ไมได ขอ 16 (1) ชายและหญงิ ทม่ี อี ายเุ ตม็ บรบิ รู ณแลว มสี ทิ ธิท่ีจะทําการสมรส และจะกอต้งั ครอบครัว โดยปราศจากการจาํ กัดใด ๆ อนั เน่อื งจากเชือ้ ชาติ สญั ชาติ หรือศาสนา ตา งมสี ิทธเิ ทา เทียมกนั ในการสมรส ระหวา งการสมรส และในการขาดจากการสมรส (2) การสมรสจะกระทํากันกแ็ ตโดยความยินยอมอยางอิสระและเต็มที่ของผูท่ีเจตนาจะ เปนคสู มรส (3) ครอบครัวเปน หนวยธรรมชาติและหลักมลู ของสังคมและมีสิทธิทจ่ี ะไดร ับความคุมครอง จากสังคมรัฐ ขอ 17 (1) ทกุ คนมีสทิ ธทิ ี่จะไดเปน เจาของทรพั ยสนิ โดยลําพังตนเองเชนเดียวกันโดยรว มกบั ผอู ื่น (2) บุคคลใดจะถูกริบทรพั ยสินโดยพลการไมไ ด

ห น า | 128 ขอ 18 ทกุ คนมีอสิ ภาพแหงความคดิ มโนธรรม และศาสนา สิทธิน้ีรวมถึงอิสรภาพในการเปล่ียน ศาสนาหรือความเช่ือถือ และอิสรภาพในการที่จะประกาศศาสนาหรือความเช่ือถือของตนโดย การสอน การปฏิบัติ การสกั การบูชา และประกอบพิธีกรรม ไมวาจะโดยลําพังตนเองหรือในประชาคมรวมกับผูอ่ืน และเปน การสาธารณะหรือสว นบุคคล ขอ 19 ทุกคนมสี ิทธิในอิสรภาพแหงความเห็นและแสดงออกสิทธินี้ รวมถึงอิสรภาพในการท่ีจะ ถอื เอาความเหน็ โดยปราศจากการแทรกสอดและท่ีจะแสวงหารับและแจกจายขาวสารและความคิดเห็นไมวา โดยวธิ ีใด ๆ และโดยไมค าํ นงึ ถงึ เขตแดน ขอ 20 (1) ทุกคนมสี ทิ ธใิ นอิสรภาพแหง การรว มประชมุ และการตงั้ สมาคมโดยสนั ติ (2) บคุ คลใด ๆ จะถูกบังคบั ใหสังกดั สมาคมหนง่ึ สมาคมใดไมไ ด ขอ 21 (1) ทุกคนมีสิทธิที่จะมีสวนในรัฐบาลของประเทศตน จะเปนโดยตรงหรือโดยผานทาง ผแู ทนซ่ึงใหเ ลือกต้งั โดยอิสระ (2) ทุกคนมสี ทิ ธิทจ่ี ะเขา ถึงการบริการสาธารณะในประเทศของตนโดยเสมอภาค (3) เจตจาํ นงของประชาชน จะตอ งเปน มูลฐานแหง อาํ นาจของรฐั บาล เจตจํานงนี้จะตอง แสดงออกทางการเลือกตง้ั ตามกําหนดเวลาและอยางแทจริง ซง่ึ อาศัยการออกเสียงโดยทวั่ ไปและเสมอภาค และการลงคะแนนลบั หรอื วิธีการลงคะแนนโดยอิสระอยางอ่นื ทาํ นองเดยี วกัน ขอ 22 ทุกคนในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคมมีสิทธิในความมั่นคงทางสังคม และมีสิทธิใน การบรรลถุ งึ ซึ่งสิทธิทางเศรษฐกจิ ทางสงั คมและทางวัฒนธรรมอันจําเปน อยา งย่ิงสําหรับเกียรติศักดิ์ของตน และการพัฒนาบุคลกิ ภาพของตนอยางอิสระ ท้ังน้ี โดยความเพียรพยายามแหงชาติและโดยความรวมมือ ระหวา งประเทศและตามระบอบการและทรพั ยากรของรัฐ ขอ 23 (1) ทกุ คนมีสทิ ธใิ นการทํางาน ในการเลอื กงานโดยอสิ ระ ในเง่ือนไขอนั ยุติธรรม และเปน ประโยชนแ หง การทํางาน และในการคมุ ครองตอ การวา งงาน (2) ทุกคนมีสทิ ธิท่จี ะรับเงนิ คา จางเทา เทียมกัน โดยปราศจากการเลอื กปฏบิ ตั ิใด ๆ (3) ทุกคนทที่ ํางาน มีสทิ ธิท่จี ะไดร ับสนิ จา งท่ียตุ ิธรรมและเปนประโยชนท่จี ะใหประกนั แก ตนเองและครอบครวั แหงตน ซง่ึ ความเปนอยูอันคูค วรแกเ กียรตศิ กั ดข์ิ องมนุษย และถา จําเปน ก็จะตองไดร บั วถิ ที างคมุ ครองทางสังคมอ่นื ๆ เพมิ่ เติมดวย (4) ทุกคนมีสิทธิท่ีจะจัดตั้งและที่จะเขารวมสหพันธกรรมกร เพ่ือความคุมครองแหง ผลประโยชนของตน ขอ 25 (1) ทกุ คนมีสทิ ธใิ นมาตรฐานการครองชีพอันเพียงพอสําหรับสุขภาพและความเปนอยูดี ของตนและครอบครวั รวมทง้ั อาหาร เครื่องนุงหม ท่อี ยูอ าศยั และการดูแลรักษาทางการแพทยและบริการ ทางสังคมท่ีจําเปน และมสี ทิ ธิในความมัน่ คงยามวา งงาน เจบ็ ปว ย พิการ เปนหมาย วัยชรา หรือขาดอาชีพอื่น ในพฤติการณทน่ี อกเหนอื อาํ นาจของตน (2) มารดาหรอื เด็ก มีสิทธิทีจ่ ะรับการดูแลรักษาและการชวยเหลือเปนพิเศษ เด็กทั้งปวง ไมวาจะเกดิ ในหรือนอกสมรส จะตองไดรบั การคุมครองเชน เดียวกัน

ห น า | 129 ขอ 26 (1) ทกุ คนมีสทิ ธิในการศกึ ษาการศึกษาจะตอ งใหเปลาอยางนอยในชั้นประถมศึกษาและ การศกึ ษาช้ันหลักมูล การประถมศกึ ษาจะตองเปน การบังคับ การศึกษาทางเทคนิคและวิชาชีพจะตองเปน อันเปดโดยท่ัวไป และการศึกษาขั้นสูงขึ้นไปก็ตองเปนอันเปดสําหรับทุกคนเขาถึงไดโดยเสมอภาคตาม มูลฐานแหง คุณวฒุ ิ (2) การศึกษาจะไดจัดไปในทางบุคลิกภาพของมนุษยอยางเต็มที่และยังความเคารพตอ สิทธิมนุษยชนและอิสรภาพหลักมูลใหมั่นคงแข็งแรงจะตองสงเสริมความเขาใจขันติธรรม และมิตรภาพ ระหวา งบรรดาประชาชาติ กลมุ เชอ้ื ชาติ หรือศาสนา และจะตองสงเสริมกิจกรรมของสหประชาชาติ เพ่ือการ ธาํ รงไวซ่ึงสันติภาพ (3) บิดามารดามสี ิทธิเบือ้ งแรกท่จี ะเลอื กชนิดของการศึกษาอนั จะใหแกบุตรของตน ขอ 27 (1) ทุกคนมสี ิทธทิ ีจ่ ะเขา รว มในชวี ิตทางวฒั นธรรมของประชาคมโลกโดยอิสระทจี่ ะบนั เทงิ ใจในศิลปและทจี่ ะมสี ว นในความรุดหนา และคุณประโยชนทางวิทยาศาสตร (2) ทกุ คนมสี ทิ ธิท่จี ะไดร บั การคมุ ครองผลประโยชนท างศีลธรรมและทางวัตถุอันเปนผล จากประดิษฐกรรมใด ๆ ทางวทิ ยาศาสตร วรรณกรรม และศิลปกรรม ซึง่ ตนเปนผูจาง ขอ 28 ทกุ คนมีสิทธใิ นระเบยี บทางสงั คมและระหวางประเทศ ซ่งึ จะเปนทางใหสาํ เรจ็ ผลเตม็ ท่ีตาม สทิ ธแิ ละอิสรภาพดงั กําหนดไวในปฏิญญานี้ ขอ 29 (1) ทุกคนมีหนาท่ีตอประชาคมดวยการพัฒนาบุคลิกภาพของตนโดยอิสระเต็มท่ีจะ กระทาํ ไดก แ็ ตในประชาคมเทาน้ัน (2) ในการใชส ิทธแิ ละอสิ รภาพแหงตน ทุกคนตกอยูในขอบงั คับของขอ จาํ กัดเพยี งเทาที่ได กาํ หนดลงโดยกฎหมายเทาน้นั เพอื่ ประโยชนท ี่จะไดมาซ่ึงการนับถือและการเคารพสิทธิและอิสรภาพของ ผอู ื่นตามสมควร และที่จะเผชิญกบั ความเรยี กรอ งตองการอันเที่ยงธรรมของศีลธรรม ความสงบเรียบรอย ของประชาชนและสวัสดิการทั่วไปในสังคมประชาธิปไตย (3) สทิ ธแิ ละอิสรภาพเหลา นจี้ ะใชขัดตอวตั ถุประสงคแ ละหลกั การของสหประชาชาตไิ มได ไมวากรณีใด ๆ ขอ 30 ไมมบี ทใด ๆ ในปฏญิ ญานท้ี ี่จะอนุมานวาสิทธิใด ๆ แกร ัฐ หมูคน หรือบุคคล ในอันที่จะดําเนิน กจิ กรรมใด ๆ หรอื ปฏิบัตกิ ารใด ๆ อนั มุงตอ การทาํ ลายสทิ ธิและอิสรภาพดงั กาํ หนดไว ณ ทีน่ ี้ เรอื่ งท่ี 2 สทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทย วัฒนาการของสิทธิมนุษยชน หากศึกษาจากเอกสารหลักฐานถือวา มีจุดเริ่มตนเม่ือเกิด การเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูการปกครองแบบประชาธิปไตย เมอื่ พทุ ธศกั ราช 2475 จากคาํ ประกาศของคณะราษฎรท่ีไดนําหลักการของสิทธิมนุษยชนไปใชในทางปฏิบัติ และระบุรับรองใหราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน และในรัฐธรรมนูญฉบับตอ ๆ ก็มีการกลาวถึง สิทธิและ

ห น า | 130 เสรีภาพของประชาชนไวในรัฐธรรมนูญดวย เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ได ประกาศบทบัญญตั ทิ ่ีใหก ารรบั รองสิทธเิ สรีภาพแกป ระชาชนชาวไทยไว ในหมวดที่ 2 วา ดวยสทิ ธแิ ละหนา ท่ี ของชนชาวสยาม ซงึ่ มีสาระสําคญั ใหก ารรบั รองหลักความเสมอหนากันในกฎหมาย เสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เสรีภาพรา งกาย เคหสถาน ทรพั ยสิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุม การตั้งสมาคม และการอาชีพ โดยบทบัญญัติดังกลาว ถือเปนการใหความรับรองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนอยา งเปนทางการในรฐั ธรรมนูญฉบับตอ ๆ มา นอกจากน้นั เรายงั สามารถศึกษารองรอยของพัฒนาการดานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยไดจาก การปรับปรงุ แกไ ขกฎหมายและระบบกระบวนการยุติธรรม เพอื่ ใหทัดเทียมนานาอารยประเทศ และเปนท่ี ยอมรับของรัฐตางชาติดวยความมุงหมายที่จะเรียกรองเอกราชทางการศาลกลับคืนมาเปนของไทย แนวความคดิ ในการคุมครองสทิ ธิมนุษยชน จึงปรากฏอยใู นกฎหมายหลายฉบับ อีกทัง้ มคี วามพยายามสราง กลไกคุมครองสิทธิมนุษยชนไวโดยตรงและโดยออมผานทางสถาบันตุลาการดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477 มีบทบัญญัติที่ใหการรับรองและคุมครองสิทธิของ ผตู องหาและจาํ เลยในคดอี าญาซ่งึ แตกตา งจากระบบจารตี นครบาลทีม่ มี าแตเ ดมิ อยา งส้ินเชิง ตอมาวันท่ี 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489 เปน รฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 3 และเปนครั้งแรกทมี่ กี ารบญั ญัตริ ับรองสิทธขิ องประชาชนในการเสนอเรื่องราวรอ ง ทกุ ขแ ละเสรีภาพในการจดั ตง้ั คณะพรรคการเมอื งในรัฐธรรมนญู สวนเสรภี าพในการประชุมโดยเปดเผยใน รัฐธรรมนญู ฉบบั กอนไดเ ปลีย่ นเปน เสรีภาพในการชุมนมุ สาธารณะ ในระหวา งทรี่ ัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 4 มีผลใชบ งั คับ ป พ.ศ. 2490 ปรากฏกระแสที่สําคัญ คือ เกิดการ รวมตวั ของกรรมกรในชอื่ วา “สหอาชวี ะกรรมกรแหงประเทศไทย” ซ่ึงเปนการรวมตัวกันของกรรมกรจาก กิจกรรมสาขาตาง ๆ เชน โรงเลื่อย โรงสี รถไฟ เปนตน เนือ่ งจากกรรมกรเหลา นี้ถูกกดขี่คา จา งแรงงานอยา ง มากอันเปนผลมาจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอยางรวดเร็ว ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กระแส ความเลือ่ นไหวทเี่ กิดขน้ึ เปน การรวมตวั กัน เพอ่ื เรยี กรองตอสังคมรฐั ใหสนองตอบความตองการทีจ่ าํ เปน ของตน ทําใหสงั คมตระหนักถงึ สิทธิเสรีภาพ และสิทธมิ นุษยชน อนั เปน การแสดงออกถงึ การคมุ ครองสิทธิมนุษยชน อีกรปู แบบหนง่ึ ท่ีเกดิ จากการกระทาํ ของเอกชนดว ย ในป พ.ศ. 2491 สหประชาชาติไดประกาศใชปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948 อันเปน ชวงเวลาท่ีประเทศไทยกําลังรางรัฐธรรมนูญฉบับที่ 5 พอดี รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 5 คือ รัฐธรรมนูญแหง- ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 จึงไดรับอิทธิพลจากการประกาศใชปฏิญญาสากลของสหประชาชาติ มีบท บญั ญตั ิทไ่ี ดรบั การรับรองสทิ ธแิ ละเสรภี าพเปน จาํ นวนมาก และละเอียดกวารฐั ธรรมนูญฉบับกอน ๆ หลักการในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 ท่ีไดรับการบรรจุลงไวในรัฐธรรมนูญ ฉบับท่ี 5 นอกเหนือจากสิทธิท่ีเคยรับรองไวในรัฐธรรมนูญฉบับกอน ไดแก หลักการไดรับความคุมครอง อยางเสมอภาคกันตามรฐั ธรรมนูญ ทง้ั นี้ ไมวาบุคคลน้ันมีกาํ เนดิ หรอื นบั ถือศาสนาแตกตา งกันก็ตาม (มาตรา 26) สิทธิของประชาชนท่ีจะไมถูกเกณฑแรงงาน ทั้งน้ี เวนแตในกรณีที่เปนการปกปองกันภัยพิบัติสาธารณะ ซึ่งเกิดขึ้นโดยฉุกเฉินเฉพาะเวลาประเทศอยูในภาวการณรบหรือภาวะสงครามหรือสถานการณฉุกเฉิน เทา นัน้ (มาตรา 32) เสรภี าพในการสอื่ สารถงึ กันโดยทางไปรษณยี ห รอื ทางอ่นื ทช่ี อบดวยกฎหมาย (มาตรา 40) เสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยูและการประกอบอาชีพ (มาตรา 41) สิทธิของบคุ คลทจ่ี ะไดร ับความคุมครองใน ครอบครัวของตน (มาตรา 43) ตลอดจนการใหการรับรองแกบุคคล ซึ่งเปน ทหาร ตํารวจ ขาราชการประจําอ่ืน พนกั งานเทศบาล ทจี่ ะมีสิทธแิ ละเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเหมอื นดงั พลเมืองคนอื่น ๆ (มาตรา 42)

ห น า | 131 ปรากฏการณทสี่ าํ คญั อกี ประการ คอื มีการนําเอาสทิ ธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญามาบญั ญัติ รบั รองไวใ นรัฐธรรมนูญดว ย เชน หลักทีว่ า “บคุ คลจะไมตอ งรบั โทษทางอาญา เวน แตจ ะไดกระทําการอันกฎหมายซง่ึ ใชอยูในเวลาที่ กระทาํ นนั้ บัญญตั เิ ปน ความผิดและกําหนดโทษไวและโทษที่จะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่กําหนดใน กฎหมายซง่ึ ใชอ ยใู นเวลาที่กระทําความผดิ มไิ ด” (มาตรา 29) ซึง่ เปน หลักพน้ื ฐานทีส่ าํ คญั ในการดําเนินคดอี าญา และไดร ับการบญั ญัตใิ นรฐั ธรรมนูญฉบับตอ มาจนถงึ ปจจบุ ัน หลักความคุมครองผตู องหาและจําเลยทจี่ ะไดรับการสันนิษฐานไวกอนวาไมมีความผิดกอนท่ีจะมี คําพิพากษาอันถึงที่สุด รวมถึงสิทธิท่ีจะไดรับการพิจารณาในการประกันและการเรียกหลักประกัน พอสมควรแกกรณแี กกรณดี ว ย (มาตรา 30) และ สิทธิท่ีจะไมถ ูกจับกุม คมุ ขงั หรอื ตรวจคนตัวบุคคลไมวาจะกรณีใด ๆ เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไว ใหสามารถกระทํา (มาตรา 31) นอกจากนแ้ี ลว การกาํ หนดแนวนโยบายแหงรัฐไวในหมวด 5 อันเปน หมวดท่วี าดวยแนวทางสําหรับ การตรากฎหมายและการบรหิ ารราชการตามนโยบาย ซงึ่ แมจะไมกอ ใหเกิดสิทธิในการฟอ งรอ งรฐั หากรฐั ไม ปฏบิ ัติตาม แตกเ็ ปนการกําหนดหนาทแ่ี กร ฐั ซง่ึ มคี วามสําคัญเกี่ยวพันกับการสงเสริมและพัฒนาหลักสิทธิ มนุษยชนในรัฐธรรมนูญฉบบั ตอ ๆ มา ในทางปฏบิ ัติสทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ไดร ับการรับรองคมุ ครองอยา งจริงจังเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับ สถานการณบา นเมือง สภาพเศรษฐกจิ สังคม ตลอดจนทัศนคติของผูปกครอง เจาหนาที่รัฐ และประชาชน ผูเปน เจาของสทิ ธิ นนั่ เอง เพราะตอมาธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 7 ไมปรากฏบทบัญญัติรับรองสิทธิเสรีภาพแตอยางใด และการประกาศใชรัฐธรรมนูญการปกครอง ราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 เม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2515 ชวงรัฐบาลเผด็จการไมมีบทบัญญัติมาตราใด ที่ใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพแกประชาชนชาวไทยเลย จนกระทั่งภายหลังเกิดเหตุการณเรียกรอง ประชาธิปไตยโดยนักคิด นักศึกษา เม่ือวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จึงมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหง- ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 เมอ่ื วนั ที่ 7 ตลุ าคม 2517 ซ่งึ ไดรับการยอมรับวา เปนรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีท่ีสุด และเปน ประชาธปิ ไตยมากทสี่ ดุ มีบทบัญญัตคิ ลา ยคลงึ กับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 และมีการวางหลักการใหมในการใหความคุมครองสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนมากย่ิงข้ึน ทั้งในดานที่มี การจํากดั อาํ นาจรัฐทจี่ ะเขามาแทรกแซง อันมผี ลกระทบตอ สิทธแิ ละเสรภี าพแกป ระชาชน และในดานการ เพิม่ หนา ทใี่ หแกรฐั ในการบริการแกป ระชาชนใหม ีคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีขึน้ เชน ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา 28) สิทธทิ างการเมืองในการใชสิทธเิ ลอื กตงั้ และสิทธิออกเสียงประชามติ (มาตรา 29) สิทธิท่ีจะไมถูก ปด โรงพิมพห รอื หา มทาํ การพิมพ เวน แตมคี าํ พพิ ากษาถงึ ท่สี ดุ ใหปดโรงพมิ พห รอื หามทาํ การพิมพ (มาตรา 40) เสรีภาพในทางวิชาการ (มาตรา 42) การกําหนดใหพ รรคการเมืองตองแสดงที่มาของรายไดและการใชจาย โดยเปด เผย (มาตรา 45) และเสรภี าพในการเดินทางภายในราชอาณาจกั ร (มาตรา 47) นอกจากนีแ้ ลวสิทธิ ในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาและจําเลยยังไดรับการบัญญัติรับรองไวในรัฐธรรมนูญ ฉบับน้ดี วย ไดแ ก สิทธิท่ีจะไดรับการสอบสวนหรือพิจารณาคดีดวยความรวดเร็วและเปนธรรม สิทธิที่จะ ไดรบั การชว ยเหลอื จากรฐั ในการจัดหาทนายความ (มาตรา 34) สิทธิท่จี ะไมใ หถ อ ยคาํ เปน ปฏปิ กษต อ ตนเอง อันจะทาํ ใหต นถกู ฟองเปนคดอี าญาและถอยคาํ ของบุคคลทีเ่ กดิ จากการถกู ทรมานขูเข็ญหรือใชกําลังบังคับ หรือการกระทาํ ใด ๆ ท่ที ําใหถ อ ยคาํ น้นั เปนไปโดยไมส มคั รใจไมอ าจรบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานได (มาตรา 35) และสทิ ธิท่ีจะไดคา ทดแทนหากปรากฏในภายหลงั วา บคุ คลนน้ั มิไดเ ปน ผกู ระทําความผิด (มาตรา 36)

ห น า | 132 เม่ือวันท่ี 22 ตุลาคม 2519 ประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2519 เปน รฐั ธรรมนูญฉบับท่ี 11 ซึ่งมีบทบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเพียงมาตราเดียว คือ มาตรา 8 ซึ่งบญั ญตั ิวา“บคุ คลมสี ทิ ธิและเสรีภาพภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย” นับวาเปนบทบัญญัติที่ ใหสทิ ธิเสรีภาพกวา งขวางมาก แตไ มม ีการกําหนดวา เปน สทิ ธิเสรภี าพชนิดใด ตอมา เม่ือวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 มกี ารประกาศใชร ฐั ธรรมนญู การปกครองอาณาจักร พ.ศ. 2520 เปนรัฐธรรมนูญฉบับที่ 12 ซึ่งไมมีบทบัญญัติ ใดเลยทใ่ี หก ารรับรองสทิ ธแิ ละเสรภี าพแกประชาชน รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยพทุ ธศักราช 2521 ซ่งึ เปน รฐั ธรรมนญู ฉบบั ท่ี 13 ประกาศใชเมื่อ วันที่ 22 ธันวาคม 2521 นาํ บทบัญญตั ิท่ีใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพมาบัญญัติไวอีก โดยมีสาระสําคัญ สวนใหญเหมอื นกบั รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517 แตตัดบทบญั ญตั ิเก่ยี วกับการรับรอง ความเสมอภาคของชายและหญงิ เสรภี าพในทางวิชาการ และเสรีภาพในการประกอบอาชพี ออกไป ภายหลังจากหัวหนาคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ ไดกระทําการยึดและควบคุมการ ปกครองประเทศไวเปนผลสําเร็จ เม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ 2534 และประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญแหง- ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 แลว ไดป ระกาศใชร ฐั ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534 โดยใหไว เม่อื วนั ที่ 1 มีนาคม 2534 ซึ่งไมป รากฏมีบทบญั ญตั ิใดเลยทใี่ หการรับรองสทิ ธเิ สรภี าพแกป ระชาชน ตอมา ใน ป 2538 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 โดยเพ่ิมหมวดที่ 3 วาดวยสทิ ธิและเสรภี าพของชนชาวไทย ตามที่ประกาศไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย แกไ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 5) พุทธศักราช 2538 เม่ือวันท่ี 10 กุมภาพันธ 2538 ซึ่งนําเอาบทบัญญัติที่ให การรับรองสิทธิเสรีภาพที่เคยบญั ญัตไิ วใ นรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 มาบัญญัติไว อีกคร้ัง แตไดตัดเสรีภาพในทางวิชาการออกเสียและเพ่ิมบทบัญญัติรับรองสิทธิในการไดรับบริการทาง สาธารณสุขท่ีไดมาตรฐาน (มาตรา 41) สิทธิในการเสนอเรื่องราวรองทุกข (มาตรา 48) และสิทธิในการ ไดร บั ทราบขอมลู หรอื ขา วสารจากหนวยงานราชการ (มาตรา 48) ตลอดระยะเวลาของการพฒั นาแนวความคิดเก่ียวกบั สทิ ธมิ นุษยชนในประเทศไทย แมถูกขัดขวาง โดยปญหาการเมืองการปกครองเปนบางเวลา แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทางออม ปรากฏใหเห็น ผานทางกลไกของรัฐ เชน กรณีที่ฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายที่ไมเปน การจํากัดสิทธิและ เสรภี าพของประชาชนมากจนเกนิ ไป การตรวจสอบการทาํ งานฝา ยบรหิ ารโดยฝา ยนิติบัญญตั ิ การตรวจสอบ การทํางานของเจาหนาท่ีฝายปกครองโดยฝายบริหาร เพ่ือมิใหเจาหนาที่ใชอํานาจในทางท่ีมิชอบดวย กฎหมายและเปนการละเมิดสิทธิของประชาชน การพิจารณาพิพากษาคดีขององคตุลาการโดยยึดหลัก กฎหมาย เพ่อื อํานวยความยุตธิ รรมแกประชาชน เหลานี้นับวา เปนกลไกการคุมครองสิทธิมนุษยชนแมจะ มิไดมคี วามมงุ หมายใหเปน ผลโดยตรงกต็ าม การดําเนินการขององคกรรัฐ เพ่ือคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรง ปรากฏขึ้นพรอมกับการจัดตั้ง สํานกั งานคมุ ครองสทิ ธเิ สรีภาพและผลประโยชนของประชาชน (สคช.) สังกัดกรมอัยการ เมื่อ พ.ศ. 2525 ซง่ึ ปจ จุบนั ไดเปลีย่ นชื่อเปน “สาํ นักงานคมุ ครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน (สคช.)” แต การดาํ เนินงานขององคกรมขี อบเขตจํากดั สืบเน่ืองจากกรอบอํานาจหนาท่ีของพนักงานอัยการตามกฎหมาย ตาง ๆ สวนการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน เพ่ิงมีการกอตัวข้ึนอยางเปนทางการ ภายหลังเกิด เหตุการณวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 องคกรแรกท่ีถูกกอตั้ง เม่ือ พ.ศ.2519 สหภาพ เพื่อสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน และในปเดียวกันนั้นก็มีการกอต้ัง “กลุมประสานงานศาสนาเพ่ือสังคม” (กศส.) หลังจากนน้ั ก็มกี ารรวมตัวกนั ของบคุ คลท้ังในรูปองคก ร สมาคม มลู นิธิ คณะกรรมการ คณะทํางาน

ห น า | 133 กลุมศนู ย สถาบันตา ง ๆ เพอ่ื ทําหนา ท่ใี นการสงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสิทธิมนุษยชนใน แงต า ง ๆ แกประชาชน เชน สิทธิของจาํ เลยหรอื ผตู องหาในกระบวนการยุติธรรม สิทธิของเกษตรกร สิทธิเด็ก สทิ ธสิ ตรี สทิ ธิผูใชแรงงาน และสิทธิทางการเมอื ง เปนตน เรอื่ งที่ 3 แนวทางการปฏิบัตติ นตามหลักสิทธมิ นุษยชน จากความเช่ือท่ีเปนหลักการแหงสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเชื่อในเร่ือง “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือ ศักดิศ์ รคี วามเปน คนในมนุษย ทุกคนเปนสง่ิ ท่ีทุกคนมีติดตวั มาแตก าํ เนดิ ” น้ัน เหน็ ไดวาเปนความพยายามท่ี ทาํ ใหมนษุ ยทุกคนในโลกน้ไี ดร บั การปฏบิ ตั ิ และตองปฏิบัติตอ บคุ คลอืน่ ดว ยความเคารพในศักด์ิศรคี วามเปน มนุษยอ ยางแทจ รงิ จากาการศึกษาทเ่ี ราไดศกึ ษาหลกั สทิ ธิมนุษยชน และสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยมาแลว เห็นไดวา เรือ่ งของสิทธมิ นษุ ยชน นน้ั มีท้ังสิ่งทเี่ ปนเร่ืองใกลตัวภายในครอบครัว ในสถานที่ทํางาน ชุมชน ทองถ่ินที่ เราอาศยั อยู และเร่อื งไกลตวั ออกไปในระดับประเทศ เปนเรื่องท่ีเราเองอาจเปนผูกระทําตอบุคคลอ่ืนและ บคุ คลอนื่ อาจกระทาํ ตอเรา เชน ความรุนแรงภายในครอบครัว การทอดท้ิงเด็ก การชุมนุมเรียกรอง การ ปฏิบัติตามกฎหมาย ลักษณะและเหตุแหงการละเมิดสทิ ธิมนุษยชน เหตุการณล ะเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนน้นั มีหลายระดับ ในท่ีน้เี ราจะทาํ ความเขา ใจเหตุแหงการละเมิดสทิ ธิ มนษุ ยชนจากใกลต วั ไปยงั สิ่งท่ไี กลตัวออกไป 1. ในครอบครัว การละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชนในครอบครัว มกั จะเปนการใชกําลังบังคับ ควบคุม สตรี เด็ก คนชรา ทําให ไดรบั อันตรายทางรางกายและหรือทางจิตใจ ไดแก การทํารายรางกายดวยวิธีการตาง ๆ ในบางครั้งอาจ รุนแรงจนถึงแกชีวติ กม็ ี การใชคาํ พดู กริ ยิ าอาการทไ่ี มส ภุ าพ ดูหม่ิน เหยยี ดยาม เอาเปรียบ ละเลย ทอดทิ้ง ไมร ับผดิ ชอบตอบุคคลในครอบครวั และไมล วงละเมดิ ทางเพศ สาเหตขุ องการละเมิดสิทธิมนษุ ยชนในครอบครัว มกั เกดิ จากบคุ คลใกลตัวและเกิดจากเพศชาย เปนสวนใหญ คือ สามี พอ พ่ีชาย ที่เกิดจากความเช่ือ ลักษณะทางรางกาย และพฤติกรรมการใชชีวิต กลาวคือ เพศชายเปนเพศที่มีความเขมแข็งแรงในทางรางกายมากกวา และมักดื่มสุรา และขาดสติ เกิด ปญหาคาใชจายไมพอในครอบครัว อารมณเสียหงุดหงิด มีการทํารายรางกายและจิตใจแกบุคคลใน ครอบครวั ท่อี อนแอกวา ผลที่เกดิ จากการละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนในครอบครัว ทาํ ใหรา งกายของอกี ฝา ยไดร บั บาดเจบ็ หรือ เสียชวี ติ ซ่ึงสง ผลตอจิตใจทง้ั สองฝายท่ีเปนผูกระทํา คือ ทําใหเสียใจ โกรธ แคน อับอาย รูสึกผิด ในเวลา ตอมาเครยี ด เปนตน ทางของการเปน โรคจติ และอาการเจ็บปวยทางกายบางโรค เชน ปวดศีรษะ นอนไมหลับ อาหารไมยอ ย มีปญหาคาใชจายตามมา เพราะตอ งใชจา ยเงนิ ไปกับการรกั ษาตวั สง ผลตอ คาใชจ ายจาํ เปน ท่ี เปนภาระทต่ี องรับผดิ ชอบภายในครอบครวั ท้ัง คา อาหาร คานาํ้ คาไฟ คาเลา เรียนของลูก ฯลฯ และมักจะ

ห น า | 134 เปนสาเหตุของการหยารา ง ครอบครัวแตกแยก เดก็ ท่เี ปนลูกกลายเปนเดก็ เก็บกด มปี ญหา เครยี ด อาจเกิด การติดเพื่อน ไปทดลองเสพยาเสพตดิ หรือกอ อาชญากรรม เพอื่ ใหไ ดมาซ่งึ ทรัพยส ินเงนิ ทอง 2. ในโรงเรยี น การละเมดิ สทิ ธิมนุษยชนในโรงเรียน มักจะเปนการใชกําลัง การทํารายดวยวาจาจากครูและ เพอ่ื นดว ยการลงโทษทร่ี ุนแรงเกนิ กวาเหตุ ครูกระทําอนาจารตอนักเรียน เพ่ือนทํารายเพ่ือน เชน นักเรียน และผูปกครองโรงเรียนแหงหน่ึงรวมตัวกันรอ งเรยี นใหผูอาํ นวยการของโรงเรียนนอกจากพื้นท่ี สาเหตุจาก ผูอ ํานวยการลงโทษเด็กดวยการตีจนนอ งมีเลือดไหลซิบ ขาบวมเปง และขาเขียวช้ํา เพียงแคเพราะนักเรียน ไปน่งั เลน ทโ่ี รงอาหารในระหวา งทคี่ รูไมไ ดมาสอน หรอื อยางกรณีคลปิ วดี โี อของนกั เรยี นหญงิ ตบตีกนั หลายคู ในโรงเรียน เพียงแคสาเหตุของการไมเคารพรุนพ่ีรุนนอง หรือเพราะแยงผูชายกัน รวมถึงกรณีครูผูชาย ทําอนาจารนักเรยี นผูหญิง สาเหตุของการละเมิดสิทธิมนุษยชนในโรงเรียนมักเกิดจากฝายที่มีกําลังมากกวามีอํานาจ เหนอื กวา มสี มาชิกลมุ ท่ีใหญก วา ผลท่เี กดิ จากการละเมิดสิทธิมนุษยชนในโรงเรียน เชน ผูเรียนไมอยากมา โรงเรียน ไมม ีความสุข ผลการเรียนตกตํ่า การตัง้ ครรภกอ นวยั อันควร 3. ในสถานท่ีทาํ งาน การละเมิดสทิ ธิมนุษยชนในดา นแรงงาน พิจารณาไดจ ากหลกั การสิทธิมนษุ ยชนและการปฏิบัติ เพอื่ แปรหลักการและสิทธิขั้นพ้ืนฐานในการทํางานสูการปฏิบัติ เพ่ือใหทุกคนทํางานในสถานท่ีทํางานได อยา งเหมาะสม สทิ ธขิ ัน้ พนื้ ฐานที่แรงงานตอ งการ ไดแก สภาพการทํางานท่ปี ลอดภัย ไมเปน อันตรายตอสขุ ภาพ จํานวนชว่ั โมงการทํางานท่เี หมาะสม การใหค าจา งในระหวางลาปว ยและอนุญาตใหหยุดงานได เงินชดเชย ภายหลงั เกษยี ณ เปนตน การละเมิดสิทธิมนษุ ยชนในที่ทํางาน ไดแก การจา งทํางานภายใตเง่ือนไขที่ไมไดรับการควบคุม และไมไดรับการคุมครอง เปนงานท่ีไมมีสวัสดิการหรือการคุมครองดานสังคมใด ๆ ซ่ึงลักษณะดังกลาว เกดิ ขึ้นจากแรงงานในระบบและผูรับงานไปทําทบี่ า น หาบเร หรือ เกษตรกรรายยอย แรงงานรับจางท่ัวไป และแรงงานงานนอกระบบ เชน คนงานทไี่ มมีนายจางเปนการถาวร คนทํางานบานท่ัว ๆ ไป รวมทั้ง การ ทํางานอยูในที่ทํางานที่ไมมีระบบควบคุมและคุมครองในหนวยงานตาง ๆ ท้ังภาคเกษตร การผลิต และ บรกิ าร การทํางานของแรงงานนอกระบบ ซึ่งไมส ามารถจดั ต้ังองคกรและมีตัวแทนได การละเมิดสิทธมิ นุษยชนในทีท่ ํางาน มีหลายสาเหตุ แตพบเห็นมากที่สุดเร่ืองหน่ึงคือ การลวง ละเมิดทางเพศในสถานท่ีทํางาน ซึ่งมีเหตุผลพื้นฐานมาจาก การท่ีนายจางและผูไดรับมอบหมายจาก นายจาง เชน ผจู ัดการ หัวหนา งาน ผคู วบคมุ งาน ฯลฯ มีอํานาจบงั คบั บัญชาเหนือลูกจาง ลูกจางตองเช่อื ฟง และปฏบิ ตั ิตามคาํ สั่งของบุคคลเหลา นี้ นายจา งหรือผบู งั คบั บญั ชาที่ไมด ี อาจใชอาํ นาจบังคบั บญั ชาแสวงหา ความสขุ ความพงึ พอใจทางเพศจากผูใตบงั คบั บัญชา ทําใหลูกจางตองถูกลวงละเมิดทางเพศ เกิดความไม สบายใจ อึดอัดใจ มผี ลเสียตอการทํางานและผลประกอบการของนายจา ง 4. การดําเนนิ การในภาครฐั การละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชนที่เกดิ จากการกระทาํ ของภาครัฐ คอื การปฏิบตั ิของเจา หนาทภี่ าครัฐที่ กระทําตอประชาชน ทั้งในเร่ืองการใหการศึกษา การรักษาพยาบาล การจับกุมคุมขัง การกีดกันสิทธิ บางอยา ง การเลอื กปฏบิ ัตเิ พราะตา งศาสนา เชือ้ ชาติ ฐานะ

ห น า | 135 ผลของการละเมดิ สทิ ธิมนุษยชนของฝา ยรฐั ทาํ ใหป ระชาชนเกิดความรสู กึ วา ไมไดรับความเปน ธรรม อาจเกิดการรวมกลุมตอสูเ รียกรอ งกับฝายรฐั สรางความวนุ วายใหแ กสังคม สาเหตขุ องการละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชนท่ีเกิดจากการกระทําของเจาหนาท่ีของรัฐ มีทั้งท่ีกฎหมาย ไมเ หมาะสม การมอี ํานาจมากเกนิ ไปของฝา ยรฐั การขาดองคก ารตรวจสอบถวงดุลผูม ีอาํ นาจ สรุปสาเหตุของการละเมิดสิทธิมนุษยชนในทุกแหง เกิดจากฝายท่ีมีกําลังมากกวามีอํานาจ มากกวามีพรรคพวกมากกวา ออนแอกวา จึงเปนฝายถูกกระทํา ผลของการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ ฝายถูก- กระทาํ ไมส ามารถใชชีวติ ไดอยางมีศกั ดิ์ศรขี องความเปนมนษุ ย หากปลอยปละละเลยใหเ กิดการละเมดิ สิทธิ มนุษยชนในสถานท่ตี าง ๆ ต้งั แต ครอบครัว โรงเรียน สถานท่ีทํางาน และในสังคม ประชาชนในสังคมนั้น ยอมขาดความม่นั คงทางกายและทางจิตใจ แนวทางการปฏิบตั ติ นตามหลักสทิ ธมิ นุษยชน 1) ไมเ ปนผกู ระทําความรนุ แรงใด ๆ ตอ บคุ คลอื่น 2) ไมย อมใหบุคคลอนื่ กระทาํ ความรนุ แรงตอตนเอง 3) ไมเพิกเฉยเมื่อพบเห็นการละสิทธิตอบุคคลอื่น ควรแจงเจาหนาท่ีที่เก่ียวของหรือใหความ ชว ยเหลือตามสมควรในสวนท่ที าํ ได 4) มีการรวมกลุมในภาคประชาชนอยางเปนระบบและจัดตั้งเปนกับองคกร มูลนิธิเพ่ือปกปอง คมุ ครองผูออนแอกวาในสังคม เพ่ือใหเกิดพลังในการตรวจสอบเรียกรองใหรัฐมีการจัดทํากฎหมายที่เกิด ประโยชนตอ สว นรวม 5) รณรงคใ หม กี ารเหน็ คุณคา และความสําคญั ของการปกครองและสง เสรมิ สทิ ธมิ นษุ ยชน

ห น า | 136 กิจกรรมบทที่ 4 1. ใหอธบิ ายความหมายของสทิ ธมิ นุษยชนมาพอเขาใจ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. องคประกอบของสทิ ธมิ นษุ ยชนข้ันพืน้ ฐานทีแ่ ตล ะบุคคลควรไดรบั การคมุ ครองจากรัฐ ประกอบดว ยเร่อื งอะไรบา งและแตละเรือ่ งมขี อบเขตอยา งไรใหอ ธบิ ายมาพอเขา ใจ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

ห น า | 137 3. ใหอธบิ ายกลไกของรัฐทีแ่ สดงวาประเทศไทยใหความสําคัญกบั การคุมครองสิทธมิ นษุ ยชน ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4. ในครอบครัวของทานมีพฤตกิ รรมหรือการกระทําใดทเ่ี ปน การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนแกส มาชิก คนใดคนหนงึ่ หรอื ไม ถา มที านจะแกไขปญ หาน้นั อยางไร และถา ไมม ที านมหี ลกั การในการอยรู ว มกนั ใน ครอบครวั อยา งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

ห น า | 138 เฉลยกิจกรรม กจิ กรรมทายบทที่ 1 และ 2 เปน กิจกรรมศึกษาคน ควาอภปิ รายไมแนวเฉลย เฉลยกิจกรรมบทท่ี 3 1.รฐั ธรรมนญู มคี วามสําคัญกับประเทศไทยในแงใดบา ง แนวคาํ ตอบ มีความสําคัญ เพราะเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ซ่ึงเปนหลักใหผูคนท้ังประเทศ ยึดถือและยอมรว มกนั วา กฎหมายอน่ื ๆ จะขดั หรือแยง รฐั ธรรมนูญไมไ ด ดงั นั้น บทบัญญตั ิในรัฐธรรมนูญจึง มผี ลผกู พนั กับชีวิตของทุกคนในประเทศไทย เปนหลักประกันวาจะไดรับบริการและหลักประกันในเรื่อง ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส นิ จากรฐั ในเร่อื งใดบาง ทาํ ใหบ า นเมอื งมีกฎกตกิ าในการอยูรวมกัน 2. รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกของไทยมที ีม่ าจากทใี่ ด แนวคําตอบ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขของคณะราชย เมื่อ พ.ศ. 2475 3. อะไรคอื สาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลงรฐั ธรรมนูญของไทย แนวคาํ ตอบ สวนใหญเกิดจากกลมุ ผูมีอาํ นาจทางการเมืองในขณะน้นั เห็นวา รัฐธรรมนูญที่ใชอยูไ มเหมาะสม 4. องคกรตามรฐั ธรรมนูญถกู กาํ หนดและตง้ั ขน้ึ ดว ยเหตุผลใดบา ง แนวคาํ ตอบ เพือ่ เปนองคกรในการตรวจสอบพฤติกรรมหรอื การบริหารงานของฝายการเมอื งและฝา ยขาราชการ ประจาํ 5. ผลของการใชรัฐธรรมนูญต้ังแตอดีตถึงปจจุบันไดกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงดานใดบางแก สงั คมไทยรวมทั้งฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก แนวคําตอบ ผลตอ สังคมไทยในภาพรวมประชาชนไดรบั สทิ ธเิ สรีภาพในการดําเนินชวี ติ มากขนึ้ รวมท้งั ไดร ับการ บรกิ ารข้นั พื้นฐานในการดําเนนิ ชวี ิตท่ีจําเปนจากรัฐ เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล การนับถือศาสนา และเลือกถน่ิ ที่อยู การไดรบั การปฏิบัตภิ ายใตก ฎหมายเดียวกนั สว นในสายของสงั คมโลกประเทศไทยไดรับ การยอมรบั วามิใชบ านปาเมอื งเถื่อน ไดร บั ยอมรับในเรื่องหลกั กฎหมายวา ดวยความเปนสากล

ห น า | 139 5. ผลของการใชรัฐธรรมนูญตั้งแตอดีตถึงปจจุบันไดกอใหเกิดความเปล่ียนแปลงดานใดบางแก สงั คมไทยรวมทั้งฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก แนวคําตอบ ผลตอ สงั คมไทยในภาพรวมประชาชนไดรบั สทิ ธเิ สรีภาพในการดําเนินชีวติ มากขึ้น รวมทั้งไดรบั การ บริการขนั พ้ืนฐานในการดาํ เนินชวี ติ ท่ีจําเปนจากรัฐ เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล การนับถือศาสนา การเลือกถน่ิ ที่อยู การไดร บั การปฏิบัติภายใตก ฎหมายเดียวกนั สว นในสายของสังคมโลกประเทศไทยไดรับการยอมรับวามิใชบานปาเมืองเถื่อน ไดรับยอมรับใน เรอื่ งหลกั กฎหมายวามีความเปนสากล 6. เปนกิจกรรมศกึ ษาคน ควาไมม แี นวเฉลย เฉลยกิจกรรมบทที่ 4 เรือ่ งท่ี 1 1. ใหอธบิ ายความหมายของสิทธมิ นษุ ยชนมาพอเขาใจ แนวคาํ ตอบ สิทธมิ นษุ ยชน หมายถงึ ศักด์ิศรคี วามเปน มนุษย หรอื ศักด์ิศรีความเปนคน เปนสิ่งที่ทุกคนมีติดตัว มาแตกําเนิดโดยไมแบงแยกเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมืองหรือแนวคิดอื่น ๆ เผาพันธหุ รอื สังคมทรพั ยส ินถ่ินกาํ เนิดหรือสถานะอ่ืน ๆ 2. องคป ระกอบของสิทธมิ นุษยชนขั้นพื้นฐานท่ีแตล ะบุคคลไดรับการคมุ ครองจากรัฐประกอบดวย เรือ่ งอะไรบา งและแตล ะเรื่องมีขอบเขตอยา งไรใหอธิบายมาพอเขา ใจ แนวคาํ ตอบ องคป ระกอบของสทิ ธมิ นษุ ยชนทแ่ี ตละบคุ คลควรไดร บั การคุมครองจากรฐั ไดแก เรื่องสทิ ธเิ สรภี าพ ความเสมอภาค และความเปนธรรม รายละเอยี ดของแตล ะองคป ระกอบดงั นี้ 1. สทิ ธิในการที่จะมที อี่ ยอู าศัยมอี าหารกิน มยี ารักษาโรค ไดร ับการศึกษา การไมถ กู ทาํ รายรา งกาย และจิตใจ และการมชี วี ิตที่ปลอดภยั 2. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นท่ีไมละเมิดสิทธิของผูอ่ืนในการเลือกอาชีพที่ไมผิดกฎหมาย ในการเลอื กคูค รอง ในการเดินทาง ในการนับถอื ศาสนา และในการชมุ นมุ โดยสงบสันตปิ ราศจากอาวุธ 3. ความเสมอภาคในการไดรับการปฏิบัติจากรัฐโดยเทาเทียมกันมีหลักประกันวาจะไมถูกเลือก ปฏบิ ัติและไมโ ดนเอาเปรยี บ 4. ความเปนธรรมกลมุ คนดอ ยโอกาสคนพิการผอู อ นแอกวา ไดแ ก เดก็ สตรี คนชรา คนพกิ าร ตอ ง ไดรับการปฏบิ ตั ใิ นบางเร่อื งท่แี ตกตา งจากบุคคลท่วั ไปท่เี ขาถึงโอกาสไดม ากกวา แข็งแรงกวา ทงั้ ทางรา งกาย และจติ ใจ เพ่อื ใหโ อกาสคนกลุมนส้ี ามารถดําเนนิ ชีวิตไดอยา งปกตสิ ุขมคี ณุ ภาพชวี ติ ทไ่ี มดอยกวา คนทว่ั ไป

ห น า | 140 3. ใหอธิบายกลไกของรัฐท่แี สดงวาประเทศไทยไดใ หความสําคญั กบั การคุมครองสิทธมิ นุษยชน แนวคําตอบ การคมุ ครองสทิ ธมิ นุษยชนโดยทางออ มปรากฏใหเ ห็นผานทางกลไกของรฐั เชน • กรณีท่ีฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายท่ีไมเปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนมากจนเกนิ ไป การตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารโดยฝายนิติบัญญัติ การตรวจสอบการ ทํางานของเจา หนาทฝ่ี า ยปกครองโดยฝา ยบริหาร เพอื่ มิใหเจา หนา ท่ีใชอํานาจในทางที่มิชอบดวยกฎหมาย และเปนการละเมดิ สทิ ธขิ องประชาชน การพิจารณาพิพากษาคดีขององคกรตุลาการโดยยึดหลักกฎหมาย เพ่อื อํานวยความยตุ ิธรรมแกป ระชาชน • การใหสทิ ธใิ นการเลอื กทอี่ ยอู าศัยเลือกประกอบอาชีพที่สุจรติ • ฯลฯ 4. ในครอบครวั ของทา นมีพฤตกิ รรมหรือการกระทําใดท่ีเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนแกสมาชิก คนใดคนหนง่ึ หรือไมถ า มีทา นจะแกไ ขปญหานั้นอยางไรและถาไมมที า นมหี ลักในการอยรู วมกนั ในครอบครัว อยา งไร แนวคําตอบ ใหพจิ ารณาวา พฤติกรรมท่ผี ิดจากองคประกอบของสทิ ธิมนษุ ยชนขัน้ พน้ื ฐานหรือไม ถา มีพฤติกรรมใด ท่ีผิดจากองคประกอบของสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐานแสดงวามีการละเมิดหากเขาองคประกอบของ สทิ ธิมนุษยชนขน้ั พืน้ ฐานแสดงวาไมม กี ารละเมดิ สิทธิมนุษยชนในครอบครวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook