Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดการเรียนการสอนโคโรนา (280563)

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโคโรนา (280563)

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2021-04-15 03:00:20

Description: แนวทางการจัดการเรียนการสอนโคโรนา (280563)

Search

Read the Text Version

แนวทางการจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ศกส. นภ.2 Learn from Home ศูนย์อาํ นวยการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (ศกส.นภ.2) สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบัวลาํ ภู เขต 2

คาํ นาํ เนือ่ งดวยสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดใ หสถานศกึ ษา ในสงั กัดและในกํากับปด เรยี นดวยเหตุพเิ ศษน้ี พรอมท้งั ใหสวน ราชการตน สงั กัดกําหนดแนวทางแกปญ หาการจัดการเรียนการ สอนทีไ่ มสามารถเปด เรยี นไตตามปกติ สํานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน จงึ ไดจดั รปู แบบการเรยี นการสอนทางไกล ในกรณที ไี่ มสามารถปด เรียนไดต ามปกติขน้ึ เพอ่ื ความปลอดภยั ของนักเรยี น ผูปกครอง และบุคลากรทเี่ กีย่ วขอ ง กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารจึงกาํ หนดเปด เรยี นปก ารศึกษา 2563 ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 เปนตันไป และกาํ หนดการจัตการเรียนรู 3 รปู แบบ ดังนี้ การเรียนที่โรงเรยี น (ONSITE) การเรียนผา นทีวี (ON-AIR) ใน 4 ระบบ ไดแก 1) ระบบดาวเทียม (Satelite) ทง้ั K-Band (จานทบึ ) และ C-Band (จานโปรง ) 2) ระบบดจิ ิทลั ท่ีวี (Digtal TV) 3) ระบบเคเบ้ลิ ทว่ี ี (Cable TV) และระบบ PTV และ4) การเรยี นผานอินเทอรเนต็ และแอปพลิเคชนั (ONLINE) โดยในระหวางนถ้ี ึง 30 มถิ ุนายน 2563 เปน ชว งตรวจสอบความ พรอ มการจัดการเรยี นการสอน ปรับพืน้ ฐานนักเรยี นใหไดเรียน ลว งหนา และใหผ มู สี ว นไดเสียมสี วนรว มเตรียมความพรอ มในการ จัดการเรยี นรู โดยไมนับเปนสวนหนึ่งของการวดั และประเมนิ ผล แตอยา งใด สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 หวังวา เอกสารแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ฉบบั น้ี จะเปนประโยชนต อผูบริหาร ครู นกั เรยี น และผปู กครอง ในการปรบั เปลย่ี นบทบาท หนาที่ ไปสูว ิถีการเรยี น รใู หมใหน กั เรยี นเรยี นรไู ดอยางมีประสิทธภิ าพมากทีส่ ดุ สาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2

ส า ร บั ญ คํานํา สารบญั 01 แนวทางการจัดการเรียนการสอน ดว ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล DLTV 04 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน ดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล DLTV 06 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน ดวยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล DLTV 07 บทบาทหนา ที่ของผูมีสว นเกีย่ วขอ ง การจดั การเรียนการสอนดวยเทคโนโลยี การศึกษาทางไกล DLTV 12 การรบั ชมการจัดการศึกษาทางไกล DLTV 17 สื่อการจดั การศกึ ษาทางไกล www.dltv.ac.th 22 ตารางออกอากาศการจดั การศกึ ษา ทางไกลผา นดาวเทียม DLTV 27 แบบรายงานการจัดการศกึ ษาทางไกล DLTV 28 แหลง อางองิ 29 ภาคผนวก

แนวทางการจัดการเรยี น การสอนดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล DLTV สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 ไดดาํ เนินการใหสอดคลองกับสถานการณการ แพรระบาดของโรคโควิด-19 ไดมีการกําหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกลในกรณีที่ไม สามารถเปดเรียนไดตามปกติขึ้น เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน ผูปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวของ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาํ หนดเปดเรียนปการศึกษา 2563 ในวันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 เปนตนไป โดยใช ชองรายการโทรทัศนในระบบจานดาวเทียม Ku band, C band และดิจิทัล จากสาํ นักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) เพื่อใชจัดการเรียนการสอน ตั้งแตระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตน และเผยแพรการเรียนการสอนจากหองเรียนตนทางในระดับ ปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนของสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม (DLTV) จาก มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ รวบรวมส่ือการเรียนรูออนไลนใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรม และแพลตฟอรมการเรียนรูครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เชน Tutor ติวฟรี.com, e-Book เปนตน รวมถึงเตรียมโครงสรางพื้นฐานดานระบบเครือขาย เพื่อรองรับการใหบริการ แพลตฟอรมการเรียนรูใหเชื่อมโยงกับระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศึกษาธิการ 1

แนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทางไกล ระยะที 1 การเตรียมความพรอ้ ม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563) ไดสาํ รวจความพรอมในดา นอปุ กรณการเขาถึงอนิ เทอรเน็ตของนักเรยี น ผปู กครอง ครู และระบบการบรหิ าร จดั การการเรยี นการสอน โดยรบั ชมการเผยแพรการเรียนการสอนจากหองเรียนตนทางของสถานีวิทยุโทรทัศนก าร ศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม (DLTV) จากมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ รวมถงึ เตรียมโครงสรางพน้ื ฐานดานระบบเครือขาย เพื่อรองรบั การใหบ รกิ ารแพลตฟอรมการเรียนรูใหเ ช่อื มโยงกบั ระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการดังนี้ 1 สํารวจความพรอ มของนกั เรียน ผปู กครอง ครู และระบบการบรหิ ารจัดการ 2 จัดทาํ แนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกลสําหรับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาสถานศกึ ษา ผปู กครองและนักเรยี น 3 พฒั นาครูและบคุ ลากรสาํ หรับการเรียนการสอนทางไกล 4 รวบรวมสือ่ การเรียนรูอ อนไลนใ น OBEC Content Center ชดุ โปรแกรมและแพลตฟอรมการเรียนรู ครบวงจรของ ศธ. เชน Tuter ตวิ ฟรี.com, E-book ฯลฯ ระยะที 2 ทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30 มถิ นุ ายน 2563) ทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกลโดยการเผยแพรสญั ญาณจากมลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผา น ดาวเทยี ม (DLTV) โดยในระดบั ปฐมวยั เนนกจิ กรรมเตรียมความพรอ มของเดก็ รวมท้ังเปดศนู ยร ับฟง ความคิดเหน็ การเรียนการสอนทางไกล จากผปู กครอง ประชาชน และผเู กีย่ วของ เพ่ือเปน แนวทางการปรบั ปรุงและพฒั นา และประชาสมั พนั ธ สรางการรบั รู ความเขาใจ แนะนาํ ชองทางการเรียนทางไกลใหกบั ผปู กครองและผเู กี่ยวขอ ง โดยมแี นวทาง ดงั นี้ 1 ระดบั อนุบาล ผาน DLTV เนน กจิ กรรมเตรยี มความพรอมเด็ก 2 ระดบั ประถมศกึ ษา - มัธยมศึกษาตอนตน (ป.1 - ม.3) ผา น DLTV 3 ทดลองเรยี นทีโ่ รงเรียนหรือชุมชนสําหรับนักเรยี นทุกชนั้ เรยี นในชุมชนพืน้ ที่ปลอดภยั แบงกลุม เด็ก สลับมา เรยี น หรอื ครลู งพน้ื ที่บานเดก็ และชุมชน \"ภายใต พรก.ฉกุ เฉิน\" 4 ประชาสมั พันธ แนะนําชองทางการเรยี นทางไกลใหกับผปู กครองและผเู กีย่ วขอ ง 5 จดั ตง้ั ศูนยอ าํ นวยการการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก ารแพรระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) สพป.หนองบวั ลําภู เขต 2 (ศกส.นภ.2) เพ่อื เปนศนู ยรับฟง ความคิดเหน็ การ เรียนการสอนทางไกลจากผูปกครอง ประชาชน และผูเ กี่ยวขอ ง เพอื่ เปนแนวทางการปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนทางไกล 2

ระยะที 3 จัดการเรยี นการสอนในช่วงเปดเทอม ตงั แตว่ นั ที 1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564 ไดวางแผนไวส ําหรับ 2 สถานการณ คือ สถานการณที่ 1 กรณที ส่ี ถานการณการแพรร ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ยังไมค ลค่ี ลาย จะจดั การเรยี นการสอน ดว ยระบบทางไกลผาน DLTV และระบบ ออนไลนด ว ยเครื่องมอื การเรยี นรตู ามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศกึ ษา และสถานการณที่ 2 กรณีที่ สถานการณการแพรระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา2019 (Covid–19) คลี่คลายแลวจะจัดการเรียนการสอนปกติ ในโรงเรียน โดยใหเวน ระยะหางทางสงั คม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพือ่ รองรับสถานการณ ฉกุ เฉนิ ตาง ๆ โดยจะตอ งไดรับการอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวดั ซึง่ มีผูวา ราชการจงั หวดั เปนประธาน ระยะที 4 การสอบ และการศกึ ษาตอ่ มีนาคม - พฤษภาคม 2564 การทดสอบและการศึกษาตอ เปนชวงระหวาง วันที่ 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564 จะประสาน งานกบั หนวยงานทเี่ กีย่ วขอ งกบั การทดสอบและคดั เลือกเขาศกึ ษาตอ นัน่ คือ กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมเกย่ี วกบั ระบบคัดเลือก เขา ศกึ ษาในสถาบนั อุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหง ชาติ เกย่ี วกบั การทดสอบ O-net ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 3

กระบวนการจดั การเรียน การสอนด้วยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล DLTV กระบวนการเรียนรใู นหอ งเรยี นทงั้ ระบบการเรียนรูทตี่ อ งสอดคลองกนั และเช่ือมโยงกับการเรยี นรขู องเดก็ โดยควรดําเนนิ การดังนี้ 1.กระชบั หลักสตู ร ปรับใหส อดคลองกับสถานการณโ ควดิ -19 ใหนกั เรียนมีสวนรว ม (Active Learning) จดั ลําดบั ความสําคญั รวมทั้งผอ นคลายตวั ชวี้ ดั เรื่องโครงสรา งเวลาเรยี นจะสามารถชว ยลดความกดดัน โดยยังคง คุณภาพขั้นตํ่าไว เนนเนือ้ หาจําเปน ตามมาตรฐานของแตละชวงวยั เพือ่ ใหค รสู ามารถนาํ ไปวางแผน การสอนและใช เวลาไดอ ยา งเหมาะสม สอื่ สารใหเ ขา ใจถึงหลกั สตู รที่เปล่ยี นแปลงไปและสื่อสารใหผ ูเก่ยี วขอ งทุกภาคสวนทราบระบุ เนอื้ หาจําเปน ของแตละชวงวยั และเปดใหค รูมอี ิสระในการจัดการเรยี นรเู นอื้ หาสวนอ่ืนๆ ตามความเหมาะสมให ศกึ ษานิเทศกทําหนา ทีเ่ ปน โคชใหแ กครู โดยใหค ําแนะนําในการเลือกตัวชี้วัดและเน้ือหานอกเหนอื จากสวนที่จําเปน เพอื่ ใหเหมาะกบั บรบิ ทและสถานการณข องโรงเรยี น นอกจากน้โี รงเรยี นตอ งไมละเลยการใหค วามรแู กน ักเรียน แตล ะชว งวัย ในการปองกันตนเองจากโรคระบาดซึ่งองคกรอนามยั โลกไดจัดทาํ คมู ือไวแลว 2.เพิม่ ความยดื หยนุ ของโครงสรา งเวลาเรยี นและความหลากหลายของรูปแบบการเรยี นรู ความยดื หยนุ ในการใชเ วลาและการเลอื กรปู แบบการเรียนจะทาํ ใหครูสามารถออกแบบหนวยการเรียนรทู เ่ี หมาะสมและสง เสรมิ การเรยี นรรู ายบคุ คล(personalized learning) ได ซง่ึ มีแนวทางสนบั สนุนใหครูจดั การเรยี นรู ดวยแบบผสมผสาน (blended learning) โดยแนะนําการกาํ หนดจาํ นวนชว่ั โมงการเรยี นรรู ูปแบบตางๆ ไดแ ก ชั่วโมงเรียนรูผานจอ สําหรับเด็กแตล ะชว งวยั โดยคาํ นึงถงึ พฒั นาการดานรางกาย (ปญหาดา นสายตา) และพฒั นาการดานสงั คม (ปฏิสัมพันธกับผูอนื่ ) ชั่วโมงการเรยี นรดู ว ยตนเองท่บี า นจากการทาํ ใบงาน ช้นิ งานคน ควา ดวยตัวเอง และช่วั โมง ท่คี รูและนักเรียนทาํ กิจกรรมเรียนรูรวมกนั เตรียมชดุ การเรยี นรพู น้ื ฐานใหนักเรยี น ซึง่ ประกอบดวยคูม ือออนไลน และชุดการเรียนรู (ส่ือแหง) เพ่ือใหน ักเรียนทุกคนทงั้ ทส่ี ามารถเขา ถึงและไมสามารถเขาถึงระบบเรยี นออนไลน สามารถใชเ รยี นรไู ด 3. ออกแบบหนว ยการเรยี นรู และสอนอยางมีแผนทีเ่ หมาะสม ในสถานการณท เ่ี ปลย่ี นไป ครจู ะตองเตรียม ความพรอ มกอ นการสอนแบบใหม วิธีการหนงึ่ คอื การออกแบบหนวยการเรยี นรู ซ่ึงจะนาํ ไปสกู ารจดั การเรยี นรูฐ าน สมรรถนะหลงั การระบาดของโควิดสิน้ สุดลง ท้งั นี้ควรเรมิ่ ตนโดยการจดั กลมุ ตวั ชวี้ ัดใหเปน หนว ยการเรยี นรู ซง่ึ จะ ทาํ ใหแ ผนการเรยี นรูม คี วามยดื หยุนตามสถานการณการระบาด เชน ครูสามารถออกแบบหนวยการเรยี นรูห นว ยละ 2 สปั ดาห เพ่อื ใหสอดคลอ งกบั ระยะเวลาการประเมินสถานการณก ารระบาด ทัง้ น้ี หากครสู ามารถออกแบบหนวย การเรยี นรูแตล ะหนวยใหรอ ยเรียงกันอยางเปนระบบท้งั เทอมหรือท้ังป ก็จะชว ยใหน ักเรียนสามารถพฒั นาตนเองตาม ศักยภาพไดดียงิ่ ขึน้ และไดพ ฒั นาทกั ษะการเรียนรดู วยตนเองซ่ึงเปนทักษะจาํ เปนสาํ หรับการดาํ รงชวี ติ ในอนาคต ใน ทางปฏิบตั ิ การจดั หนวยการเรียนรสู ามารถจัดตามเนือ้ หาหรือตามประเดน็ ทีน่ า สนใจและยังสามารถบูรณาการขาม วิชาหรือในวิชาเดยี วกนั หลังจากน้นั ครูควรกําหนดคําถามสําคญั ของแตละหนวย และวางแผนการติดตามการเรยี นรู ตามตวั ช้วี ดั ดานความรู ทักษะและเจตคติอยา งชัดเจน เลอื กสอ่ื การเรียนรทู ี่เหมาะสมกบั เดก็ และสื่อสารกับพอ แมให ทราบถึงบทบาทที่จะเปลี่ยนไป 4

4. ยกระดบั การประเมินเพื่อการพัฒนา (formative assessment) เพอ่ื ไมใหเด็กเสียโอกาสพัฒนา ความรูและทักษะเม่อื นักเรียนไปโรงเรยี นตามปกติไมไ ดค รกู บั นักเรียนก็จะมีปฏสิ ัมพนั ธตอกันลดลง ทาํ ใหครไู ม สามารถตดิ ตามพฒั นาการของนกั เรียนไดเ ต็มที่ อาจทาํ ใหไ มส ามารถรปู ญ หาของนักเรียนไดท นั เวลาโดยเฉพาะ ความรดู า นภาษาและการคํานวณ ซึง่ อาจจะสง ผลเสียตอการเรยี นรรู ะยะยาวการประเมนิ เพื่อพัฒนาจึงไมสามารถ ลดหรอื ละทิง้ ไปได 1) การประเมนิ เพ่อื การเรียนรู (assessment for learning) ของเดก็ เพ่ือใหครทู ราบถึง กระบวนการเรียนรขู องเดก็ โดยจะสามารถให feedback กบั เด็กและปรบั แผนการเรียนรไู ดต รงตามสถานการณ 2) การประเมนิ ซ่งึ ทําใหเกิดการเรียนรู (assessment as learning) ของเด็กโดยครูเปดโอกาสให เด็กยอนคิดถึงกระบวนการเรียนของตนเอง กระบวนการนจ้ี ะทาํ ใหเ ด็กมคี วามรบั ผดิ ชอบและเปน เจา ของการเรยี นรู ของตนเองมากข้ึน รวมถงึ เมื่อเดก็ เขา ใจตนเองกจ็ ะเปนโอกาสทจ่ี ะวางแผนการเรยี นรขู องตนเองรว มกบั ผูป กครอง และครูได การประเมนิ เพ่ือพัฒนาท้งั 2 ลักษณะตอ งอาศัยการทํางานรว มกันระหวา งเดก็ ผปู กครองและครู มากขนึ้ วธิ หี นึ่งทีท่ ําไดค อื การประเมนิ เพื่อพัฒนาอยา งไมเ ปนทางการรายบคุ คล (personalized check-ins) เพือ่ ตดิ ตามการเรียนรู สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตของนักเรยี น โดยใหผ ูปกครองเขามามีสวนรวมดวย ในกรณีของ เดก็ โต อาจจะเพม่ิ การประเมินตนเองและการประเมินเพ่ือน (self & peer assessment) เขาไปดว ยซง่ึ จะมี ประโยชนใ นการชวยฝก ทกั ษะการสะทอนคดิ ใหเด็กไดอ กี ทางหนึง่ ดวย การประเมินเพือ่ พฒั นาจะประสบความ สาํ เร็จก็ตอ เมอื่ มสี ภาพแวดลอมที่เหมาะสม คือ 1) มกี ารเสรมิ ศกั ยภาพครูในการใชและออกแบบเครอื่ งมอื ประเมิน 2) มกี ารใหเ อกชนและภาคประชาสังคมทม่ี ีความเชยี่ วชาญดานการประเมนิ เขามา รว มพัฒนาเคร่อื งมอื การประเมนิ ใหมๆ 3) มกี ารเปด เวที (platform) การแลกเปลย่ี นเรียนรรู ะหวา งครกู บั ผเู ชีย่ วชาญ 5.การประเมนิ เพือ่ รบั ผิดรบั ชอบ (assessment for accountability) ใหน ํา้ หนักการประเมินโอกาส ทางการเรียนของเดก็ มากกวาการวัดความรูด ว ยคะแนนสอบ สถานการณโ รคระบาดในปจจบุ ันทาํ ใหตอ งใชร ูป แบบการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลาย ดงั นั้น คณุ ภาพการศึกษาท่ีเด็กจะไดรับในแตละพนื้ ทจ่ี ะไมเหมอื นกนั ปรับ เกณฑข อสอบวัดความรู (test-based) ใหน าํ้ หนักกับตัวชีว้ ัดทไี่ มใ ชดา นวิชาการ (non-academic measure) มากข้นึ เชน อตั ราการเขาเรยี น (attendance rate) หรืออัตราการออกกลางคนั (drop-out rate) เปน ตน โดยการเกบ็ ขอมูลตวั ชี้วดั เหลา นท้ี ีส่ ามารถใชเ ทคโนโลยเี ขา มาชวย เพือ่ ลดภาระครู เชน ใชระบบ Google Classroom บันทกึ การใชง านซง่ึ จะชวยทําใหเขตพืน้ ทส่ี ามารถตดิ ตามและใหการสนบั สนุนโรงเรยี น ไดตรงกบั ความตอ งการมากข้ึนดวย 5

รปู แบบการจัดการเรียน การสอนดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล DLTV รูปแบบการการเรียนการสอนดวยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลในสถานการณการแพร ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของโรงเรียนในสังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการ ศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 แบงเปน 2 รูปแบบ ดังน้ี รูปแบบที 1 แบบเรียนที่บานดวยการจัด การศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียม (DLTV) ระดับ อนุบาลปที่ 1 – 3 โดยดาํ เนิน การภาระงานตามบทบาท หนาที่ของผูมีสวนเกี่ยวของ รูปแบบที 2 แบบเรยี นท่โี รงเรียนหรือชมุ ชนสําหรับนักเรียน ทุกชั้นเรยี นในชมุ ชนพน้ื ทีป่ ลอดภัยภายใต พรก.ฉุกเฉนิ 1) เขตพ้นื ที่การศกึ ษารวมกบั โรงเรียนจดั สถานที่เรียน 2) นกั เรยี นมาโรงเรียน แบงกลมุ เลก็ สลบั มาเรียน 3) ครูลงพนื้ ท่ีจดั การเรียนการสอนที่บานนกั เรียนหรอื ชุมชน 4) โรงเรียนและชุมชนดําเนินการตามประกาศของรฐั บาล กระทรวงศึกษาธกิ าร ขนั ตอนการจัดการเรียนรู้ 6

บทบาทหนา้ ที ของผมู้ สี ว่ นเกียวขอ้ งการจดั การเรียนการสอนดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล DLTV 1.บทบาทของ เขตพนื ทกี ารศกึ ษา 1) สํารวจความพรอ มการจัดการเรยี นการสอนทางไกลของโรงเรียน 2) จดั ระบบสื่อสารระหวา งเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษากบั โรงเรียน 3) กํากบั และสนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของโรงเรยี น โดยจดั ตั้งหนว ยเฉพาะกิจ 4) นเิ ทศ และชว ยเหลือการจดั การเรยี นการสอนของครู 5) ประสานความรว มมือกับหนว ยงานราชการ อปท. ภาคเอกชนภาคสงั คมและเครอื ขา ยผปู กครอง นกั เรยี น 6) ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลตอ สพฐ.สปั ดาหล ะ 1 ครงั้ 2.บทบาทของโรงเรียน ดานการเตรียมความพรอม 1.สาํ รวจความพรอมของผปู กครองนกั เรยี นในการเตรยี มความพรอมดานอปุ กรณและสถานท่ี การเรยี นท่บี า นเพื่อใหน ักเรยี นสามารถเขาเรียนตามตารางและชองทางการออกอากาศของระบบ การศึกษาทางไกลผานดาวเทยี ม (DLTV) - สํารวจความพรอ มการเขาถงึ การรับชมของนักเรียนและผปู กครองดานอุปกรณและคลน่ื สญั ญาณ - จดั กลมุ ความพรอ มของการเขาถงึ เปน3 กลุม ไดแก กลมุ ที่มคี วามพรอม 100% กลุมทีม่ ีความพรอมปานกลาง หรอื 50% และกลุมทม่ี ีความพรอ มนอ ยหรือไมม คี วามพรอ ม 2.สรา งความเขาใจกบั ชุมชนและผูปกครองนักเรียนในการเรยี นตามตารางและชองทาง การออกอากาศของระบบการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม (DLTV) 3.สนบั สนนุ ชวยเหลอื นักเรียนที่ไมม คี วามพรอมในการเรยี นตามตารางและชอ งทางการออก อากาศของระบบการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม (DLTV) โดยการจัดระบบดแู ลชวยเหลอื นักเรียนกลุมทีม่ คี วาม พรอมปานกลางพรอมนอ ยหรือไมมคี วามพรอม 4.จัดระบบการส่ือสาร วธิ กี าร วันและเวลา ระหวา งโรงเรียนกับผูป กครอง 5.จัดประชุมชแี้ จงทําความเขา ใจกับผูปกครอง ดวยวิธีการทีเ่ หมาะสมภายใตเ งอื่ นไขของศบค.จังหวดั 6. มอบหมายครูและบุคลากรทางการศึกษาใหดูแลรับผิดชอบและพบปะนกั เรียน 7

ดานการจัดการเรียนการสอน - ระดับอนุบาลปท่ี 1 – 3 08.30 – 11.00 น. จัดกิจกรรมตามรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม DLTV 50 นาที และครูส่ือสารผานผูปกครองนักเรียน 10 นาที โดยเพิ่มเติมกิจกรรมผูปกครองเสริมกิจกรรม พัฒนาสมอง เชน เลานิทาน วาดภาพ บทบาทสมมุติ ฯลฯ 13.00 – 14.30 น. ครูออกเย่ียมบาน อยางนอยสัปดาหละ 3 คร้ัง - ระดับประถมศึกษาปที่ 1 – 6 แบงชวงเวลา ดังนี้ 08.30 – 14.30 น. จัดกิจกรรมตามรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม DLTV 50 นาที และครูส่ือสารผานผูปกครองและนักเรียนโดยตรง 10 นาที โดยเพิ่มเติมครูและหรือผูปกครอง ทบทวนบทเรียนกิจกรรมพัฒนาสมอง เชนอานหนังสือ คลังคาํ ศัพท งานประดิษฐ งานบาน ฯลฯ 14.30 – 16.30 น. ครูพบปะนักเรียนและรับ – สงแฟมงานสัปดาหละ 3 คร้ัง - ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 แบงชวงเวลา ดังนี้ 08.30 – 14.30 น. จัดกิจกรรมตามรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียม DLTV 50 นาที และครูสื่อสารผานนักเรียนโดยตรง 10 นาที โดยเพ่ิมเติมครูและหรือผูปกครองทบทวน บทเรียนเสริมส่ือเพ่ิมเติม,Tuterฟรี.com, VDOสารคดี, E-book, ภาษาอังกฤษ ฯลฯ 14.30 – 16.30 น. ครูพบปะนักเรียนและรับ – สงแฟมงานสัปดาหละ 2 คร้ัง 3.บทบาทของผู้บริหาร สถานศกึ ษา บทบาทของผูบริหารสถานศึกษา ที่สงเสริมใหครูจัดการเรียนรูในภาวะวิกฤตมี 3 ข้ันตอน ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมความพรอม - วางแผนการดําเนินงาน - แตงต้ังคณะกรรมการ - สํารวจความพรอม - วางแผนพัฒนา ใหความชวยเหลือ - ดาวนโหลดและจัดพิมพเอกสาร - แบงครูรับผิดชอบ - ประชาสัมพันธ - ประสานงานหนวยงานภายนอก - จัดหาส่ือส่ิงอํานวยความสะดวกแกคณะครู - จัดงบประมาณสนับสนุนการทําแฟม - เพิ่มชองทางการส่ือสารตอบขอสงสัย - สรางขวัญ กาํ ลังใจแกคณะครู 8

2). ขั้นกาํ กับ ติดตาม ชวยเหลือ แกปญหา - ตรวจสอบการเตรียมความพรอมของครู ตรวจสอบเวลาการปฏิบัติงานของครู - อาํ นวยความสะดวก สนับสนุน การปฏิบัติงานของครูและการเรียนของนักเรียน - ติดตอส่ือสารกับผูปกครองและนักเรียน เพื่อชวยเหลือ ติดตาม แกปญหา - ลงพ้ืนที่แกไขปญหา (ถามี) - นัดพบครู อยางนอยสัปดาหละ 2 คร้ัง - ปฏิบัติงานอ่ืนตามความหมาย 3). ข้ันประเมินผลการเรียนการสอน - ตรวจบันทึกหลังการจัดการเรียนการสอน - วิเคราะหผลการดาํ เนินงาน เพื่อพัฒนาปรับปรุง แกไข - รับรายงานการปฏิบัติงานของครูและรวมกันสรุปผล - รายงานผลการจัดการเรียนการสอนตอ สพป. สัปดาหละ 1 ครั้ง หรือโดยทันที กรณีมีปญหาหรือมีเหตุฉุกเฉิน 4.บทบาทของครูและ บุคลากรทางการศึกษา 1. จัดเตรียมแผนการสอนและอุปกรณการสอน จากท่ีมีอยูเดิมจัดชุดเปนชุดการเรียนรู สําหรับนักเรียนแตละคน ในแตละวิชา 2. จัดหาและสืบคนสื่อออนไลน ไมวาจะเปนสื่อของสํานักพิมพตางๆท่ีจัดทําเผยแพร หรือส่ือของระบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล EDLTV ซ่ึงเปนส่ือการสอนทางไกลที่มีการจัด หมวดหมูตามเนื้อหาวิชาและมีกําหนดการสอบพรอมแบบประเมินประกอบอยูแลวสะดวกแกผูสอน ที่จะนํามาประยุกตใชไมตองสรางใหม 3.ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับรูปแบบที่จะนํามาใชกําหนด บทบาทของบุคคลท่ีจะตองมีสวนรวมอยางชัดเจนและครอบคลุมตามระดับความพรอมของผูเรียน 4. จัดเตรียมระบบสื่อสารออนไลนระหวาง ผูเรียน ผูปกครอง และผูสอนใหพรอม โดยใชระบบที่มีอยูเดิมและไมจาํ เปนตองจัดหาเพิ่มเติม เชน facebook, Line, Google หรือ เบอรโทรศัพทหากไมสามารถสื่อสารในแบบออนไลนได ผูสอนจาํ เปนตองรูจักบานพักของผูเรียน เพ่ือเดินทางไปแนะนาํ และจัดการเรียนการสอนใหเปนพิเศษ ในรูปแบบผสมผสานโดยใช ทรัพยากรท่ีมีอยู ภาระกิจประจาํ วันของครู 9

4.1 บทบาทของ ครูปฐมวัย มีแนวทาง ดังนี้ 1) ข้ันเตรียมความพรอม - สํารวจความพรอม - จัดต้ังกลุมสื่อสารทางไกล (Line/Facebook/ตามบริบท) - สรางความเขาใจ ระหวางครูและผูปกครอง - ศึกษาเอกสารและดาวนโหลด - จัดพิมพเอกสารจัดทาํ แฟม และนัดหมายสงเอกสาร อยางนอย 3 ครั้ง/สัปดาห 2) ข้ันการจัดการเรียนการสอนทางไกล - 08.00 น. เตรียมความพรอม/ตรวจสอบจาํ นวนนักเรียนเขาเรียน - 08.40 น. - 11.00 น. ดูแลการเรียนการสอน - 14.00 น. - 15.45 น. ติดตอสื่อสารรายวัน/สรุป การจัดประสบการณประจาํ วันรวมกัน - บันทึกผลหลังการสอน 3).ข้ันพบปะนักเรียนและผูปกครองรายสัปดาห - ครูพบปะเด็กและผูปกครอง ตามท่ีนัดหมาย - ครูสอบถามปญหาท่ีเกิดขึ้นในระหวางการจัดประสบการณ 4).ข้ันวัดและประเมินผลการเรียนการสอนทางไกล - ตรวจใบงาน/ ชิ้นงาน/ภาระงาน - ทดสอบหลังจบหนวยการเรียนรู (ประเมินคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ผานผูปกครอง) 4.2 บทบาทของ ครูระดับประถมศึกษา มีแนวทางดังน้ี 1) ขั้นเตรียมความพรอม - สาํ รวจความพรอม - จัดตั้งกลุมสื่อสารทางไกล (Line/Facebook/ตามบริบท) - สรางความเขาใจระหวางครูและผูปกครอง - ศึกษาแนวทางการเรียนการสอนลวงหนาผานเว็บไซตwww.dltv.ac.th - จัดทําใบงาน แบบฝกหัดตามจุดเนนในสาระการเรียนรู เตรียมเอกสารและดาวนโหลด - จัดพิมพเอกสารจัดทําแฟม และนัดหมายวันเวลาการพบปะนักเรียน และสงเอกสาร อยางนอย 2 คร้ัง/สัปดาห 2).ขั้นการจัดการเรียนการสอนทางไกล - 08.00 น. เตรียมความพรอม/ตรวจสอบจํานวนนักเรียนเขาเรียน - 08.30 น. - 13.30 น. ดูแลการเรียนการสอน -13.30 น.-15.30 น. ติดตอส่ือสารรายวัน/สรุปการจัดการเรียนการสอนประจาํ วันรวมกัน - บันทึกผลหลังการสอน 3).ข้ันพบปะนักเรียนและผูปกครองรายสัปดาห - ครูพบปะเด็กและผูปกครอง ตามที่นัดหมาย - ครูสอบถามปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางการจัดประสบการณ - สรางความเขาใจ ขอตกลง กับผูปกครองในการดูแลชวยเหลือการเรียนของนักเรียน 4).ขั้นวัดและประเมินผลการเรียนการสอนทางไกล - ตรวจใบงาน/ ช้ินงาน/ภาระงาน - ทดสอบหลังจบหนวยการเรียนรู (ผานอินเทอรเน็ต Google form/หรืออ่ืนๆ ที่สามารถ ทําได) 10

4.3 บทบาทของ ครรู ะดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน มีแนวทาง ดงั นี้ 1) ขน้ั เตรียมความพรอม - สํารวจความพรอ ม - จดั ต้งั กลุมสอื่ สารทางไกล (Line/Facebook/ตามบรบิ ท) - สรา งความเขา ใจระหวา งครแู ละผูป กครอง - ศกึ ษาเอกสารและดาวนโ หลด - จัดพมิ พเ อกสารจัดทาํ แฟม และนัดหมายสงเอกสาร อยา งนอ ย 2 คร้งั /สัปดาห 2) ขั้นการจัดการเรียนการสอนทางไกล - 08.00 น. เตรียมความพรอม/ตรวจสอบจาํ นวนนักเรียนเขาเรียน - 08.30 น. -13.30 น. ดูแลการเรียนการสอน 10 นาที (หลงั จากเรียนแตละรายวิชาสือ่ สารผา นผปู กครอง และนร. โดยตรง) - 13.30 น. -15.30 น. ติดตอสื่อสารรายวัน/สรปุ การจดั การเรียนการสอนรวมกนั ตามชอ งทางท่นี ัดหมาย เชน Line/Facebook/VDO Conference/ตามบรบิ ท 3) ข้ันพบปะนักเรยี นและผปู กครองรายสปั ดาห - ครูพบปะเดก็ และผปู กครอง ตามที่นดั หมาย - ครูสอบถามปญ หาทเี่ กดิ ข้นึ ในระหวา งการจดั การเรียนการสอน 4).ขน้ั วัดและประเมินผลการเรียนการสอนทางไกล - ตรวจใบงาน/ ช้นิ งาน/ภาระงาน - ทดสอบหลังจบหนวยการเรยี นรู (ผานอนิ เทอรเ นต็ Google form/หรืออน่ื ๆ ท่ีสามารถทําได) 11

การรับชม การจัดการศกึ ษาทางไกล DLTV เวลาในการออกอากาศ 6 ชองทางการรับชม 12

13

14

15

16

สอื การจัดการศึกษาทางไกล www.dltv.ac.th 17

ขั้นตอนการดาวนโหลด ตารางสอนออกอากาศ 18

ข้ันตอนการดาวนโหลด กําหนดการเรียนรูรายช่ัวโมง 19

ข้ันตอนการดาวนโหลด สื่อการเรียนการสอน 20

ข้ันตอนการดาวนโหลด วิดีโอการเรียนการสอน 21

ตารางออกอากาศ การจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทยี ม DLTV 22

23

24

25

26

แบบรายงาน การจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทยี ม DLTV สาํ หรับสถานศึกษา ใช้ในการรายงาน ผลการดาํ เนินการจัดการศึกษาทางไกล โดยรายงานสัปดาห์ละ 1 ครัง ทุกวันพฤหัสบดี ภายในเวลา 12.00 น. https://forms.gle/8DzcYcqbfbTbvChi8 27

คณแหะลง่ทอ้าาํ งองิงาน https://www.dltv.ac.th https://covid19.obec.go.th/ เขา สบื คน เม่ือวนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2563 28

คณะทํางาน ภาคผนวก 29

ประกาศสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาหนองบวั ลาภู เขต ๒ เรือ่ ง จัดต้งั ศูนย์อานวยการการจัดการเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ (ศกส.นภ.๒) ........................................................ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พื้นฐำน ไดด้ ำเนนิ กำรทดลองจัดกำรเรยี นกำรสอนด้วยเทคโนโลยี กำรศกึ ษำทำงไกล ในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ในวันท่ี ๑๘ พฤษภำคม ๒๕๖๓ ถึงวันท่ี ๓๐ มถิ นุ ำยน ๒๕๖๓ น้นั จึงจดั ตง้ั ศูนย์อำนวยกำรกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเช้ือไวรัส โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) สพป.หนองบวั ลำภู เขต ๒ (ศกส.นภ.๒) วตั ถุประสงคใ์ นกำรจดั ตง้ั ศูนยอ์ ำนวยกำรกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชอื้ ไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ดงั น้ี ๑) เพื่อสำรวจควำมพร้อมของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบกำรบริหำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทำงไกล ๒) จัดระบบกำรบริหำรจัดกำร กำรจัดกำรเรียนกำรสอนให้เหมำะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน ๓) เพอ่ื ประสำนควำมร่วมมอื จำกเครอื ข่ำยผ้ปู กครอง สว่ นรำชกำร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ภำคเอกชน และภำคประชำสงั คม ๔) เพอ่ื กำกับ ตดิ ตำม และนเิ ทศกำรเรียนกำรสอนกำรศกึ ษำทำงไกล ๕) ประชมุ รำยงำนควำมก้ำวหนำ้ ในกำรดำเนินงำนสปั ดำห์ละ ๑ ครั้ง และรำยงำน สพฐ.เดือนละ ๒ ครงั้ ๖) ดำเนินกำรบรหิ ำรจัดกำรในภำรกิจอื่นๆ ตำมควำมเหมำะสม อำนำจหนำ้ ทข่ี องศนู ย์อำนวยกำรกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชือ้ ไวรสั โคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ดังน้ี ๑) เพ่ือกำกบั ดูแล ตรวจสอบ กำรจัดกำรศึกษำทำงไกลฯ ใหก้ ับนกั เรียน ผูป้ กครอง ครู และระบบกำรบรหิ ำร จดั กำรเรียนกำรสอนทำงไกล ๒) จดั ระบบกำรบริหำรจัดกำรให้โรงเรยี นสำมำรถจัดกำรเรยี นกำรสอนได้เหมำะสมกับบริบทของโรงเรียน ๓) รว่ มมอื กับส่วนรำชกำร องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ภำคเอกชน ภำคประชำสังคมและเครือขำ่ ยผูป้ กครอง ๔) กำกับ ติดตำม และนเิ ทศกำรเรยี นกำรสอนกำรศึกษำทำงไกล ๕) ดำเนินกำรบริหำรจัดกำรในภำรกิจอ่ืนๆ ตำมควำมเหมำะสม ดังน้ัน เพอื่ ให้โรงเรียนในสังกดั สำมำรถนำแนวทำงกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนดว้ ยเทคโนโลยกี ำรศึกษำทำงไกล ในช่วงสถำนกำรณ์วกิ ฤต สำมำรถจดั กำรเรยี นกำรสอนตำมแผนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนด้วยเทคโนโลยกี ำรศึกษำทำงไกลผำ่ น ดำวเทียม (DLTV) ของสพฐ. ไปใชไ้ ด้อยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพและบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ดังนี้ ทง้ั นี้ ต้ังแตบ่ ัดน้เี ป็นต้นไป ประกำศ ณ วันท่ี ๑ เดือน พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นำยกมั ปนำท ศรเี ชอื้ ) ผ้อู ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำหนองบวั ลำภู เขต ๒

คำสง่ั สำนกั งำนเขตพื้นทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำหนองบัวลำภู เขต ๒ ที่ ๑๓๖/๒๕๖๓ เรอ่ื ง แต่งตัง้ คณะกรรมกำรประจำศนู ย์อำนวยกำรกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน ในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเช้อื ไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) สพป.หนองบวั ลำภู เขต ๒ (ศกส.นภ.๒) ........................................................ ตามที่ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ไดด้ าเนินการทดลองจัดการเรียนการสอนด้วย เทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ในวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ถึงวนั ที่ ๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ น้นั ดงั นั้น เพือ่ ให้โรงเรยี นในสังกัด มคี วามพรอ้ มในการจัดการเรียนการสอน และสามารถนาแนวทางการจัดการ เรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ของสพฐ. ไปใช้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและบรรลวุ ัตถุประสงค์ จึงแตง่ ตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน ดงั นี้ ๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ประกอบด้วย ๑. นายกัมปนาท ศรีเชอื้ ผอ.สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ ประธานกรรมการ ๒. นายบญุ ชู สทิ ธสิ อน รอง ผอ.สพป.หนองบวั ลาภู เขต ๒ รองประธานกรรมการ ๓. นายเจนภพ ชยั วรรณ รอง ผอ.สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ รองประธานกรรมการ ๔. นางประภาภรณ์ ภูขาว รอง ผอ.สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ รองประธานกรรมการ ๕. นายพทิ ักษ์ รนั รตั ิยา ผอ.กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลฯ กรรมการ ๖. นายประภาส พลไชย ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ ผอ.กลุ่มส่งเสรมิ การศึกษาทางไกลฯ กรรมการ ๗. นางยวนใจ พันตรี ผอ.หน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ ๘. นางนิรมล อินทรเ์ พชร ผอ.กลมุ่ บริหารการเงินและสินทรัพย์ กรรมการ ๙. นายชุมพล จงรัตน์กลาง ผอ.กลมุ่ บริหารงานบคุ คล กรรมการ ๑๐. นายไพลวนั เรอื งฤทธ์ิ ผอ.กลุ่มส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษา กรรมการ ๑๑. นางทองเหลียน ประนันทงั นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ผอ.กลุ่มพัฒนาครแู ละบุคลากรฯ กรรมการ ๑๒. น.ส.ลักษมี สามิตร นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ปฏบิ ัติหน้าที่ ผอ.กลมุ่ นโยบายและแผน กรรมการ ๑๓. นายศุภชาญ พันธโ์ สภณ นิติกร ปฏบิ ัติหน้าที่ ผอ.กล่มุ กฎหมายและคดี กรรมการ ๑๔. นางนวพร สมบัตธิ ีระ ผอ.กลมุ่ อานวยการ กรรมการ ๑๕. นายศรที น นนทะแสง ผอ.รร.บา้ นเกา่ กลอยกดุ กระสู้ กรรมการ ๑๖. นายวทิ วัส พัดไธสง ผอ.รร.บา้ นกกค้อกกโพธิ์ กรรมการ ๑๗. นายอดุ ม ถาโคตร ผอ.รร.บ้านภพู ระโนนผกั หวาน กรรมการ ๑๘. นายสมบตั ิ จิตเจรญิ ผอ.รร.บา้ นก่าน กรรมการ

๑๙. นายวชิ ชั ละเอียดออ่ ง ผอ.รร.บ้านอาบชา้ ง กรรมการ ๒๐. นายวรี ะยศ สิมลี ผอ.รร.อนุบาลสวุ รรณคหู า กรรมการ ๒๑. นายบญุ คง ไชยชว่ ย ผอ.รร.ชมุ ชนหนองบวั นอ้ ยโนนชาตหิ นองเห็นฯ กรรมการ ๒๒. นายบุญธง ทับจนั ทร์ ผอ.รร.บา้ นโคกทงุ่ น้อย กรรมการ ๒๓. นายอคั รเดช จันทยทุ ธ ผอ.รร.บา้ นหินฮาวน้ากงวทิ ยา กรรมการ ๒๔. นายจารุพัฒน์ อว้ นมะโฮง ผอ.รร.ชุมชนโปรง่ วังม่วง กรรมการ ๒๕. นายจอม ทาวงษ์ ผอ.รร.บา้ นวังสาราญ กรรมการ ๒๖. นางศภุ ภัทร สังวงศ์ ผอ.รร.บ้านโคกสะอาดหนองหัวช้าง กรรมการ ๒๗. นายจารพุ ัฒน์ อ้วนมะโฮง ผอ.รร.ชมุ ชนโปรง่ วงั มว่ ง กรรมการ ๒๘. นายอดิศร โคตรนรินทร์ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ/เลขานุการ มีหน้าท่ใี หค้ าปรกึ ษา แนะนา ชว่ ยเหลือใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทียม (DLTV) ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ของโรงเรยี นในสงั กัด มคี วามพร้อมดา้ นอุปกรณ์ การส่อื สาร และการดแู ลชว่ ยเหลอื สามารถจดั การเรยี นการสอนได้เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรยี น เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ๒. คณะกรรมกำรหน่วยเคล่ือนท่ีเรว็ (Roving Team) ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ ๒.๑ คณะกรรมจัดหนว่ ยเคล่ือนที่เร็ว (Roving Team) อาเภอนากลาง กรรมการ ๒.๑.๑ นางประภาภรณ์ ภูขาว รอง ผอ.สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ กรรมการ ๒.๑.๒ นายประภาส พลไชย ผอ.กลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ กรรมการ กรรมการ ๒.๑.๓ นายอดิศร โคตรนรนิ ทร์ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ ๒.๑.๔ นายเจียมพล บญุ ประคม ศึกษานิเทศก์ กรรมการ ๒.๑.๕ นางสาวเตือนใจ แสนนา ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ/เลขานุการ ๒.๑.๖ นายวสันต์ วงษไ์ ชยา ครู โรงเรยี นบา้ นหนองด่าน กรรมการ/ผชู้ ่วยเลขานุการ ๒.๑.๗ นายณัฐกติ ติ์ นันดี ครู โรงเรียนบา้ นก่าน ประธานกรรมการ ๒.๑.๘ นางปาริชาติ ปติ ิพัฒน์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ ๒.๑.๙ นายอธิวฒั น์ สายสิงห์ เจา้ หน้าที่ ICT สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ กรรมการ ๒.๒ คณะกรรมจัดหน่วยเคลอื่ นท่เี ร็ว (Roving Team) อาเภอนาวงั กรรมการ ๒.๒.๑ นายบุญชู สิทธิสอน รอง ผอ.สพป.หนองบัวลาภู เขต ๒ กรรมการ กรรมการ ๒.๒.๒ นายประภาส พลไชย ผอ.กลุม่ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ กรรมการ ๒.๒.๓ นายอดศิ ร โคตรนรนิ ทร์ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ/เลขานุการ ๒.๒.๔ นางปารชิ าติ ปิตพิ ัฒน์ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานกุ าร ๒.๒.๕ นางสาวเตอื นใจ แสนนา ศกึ ษานิเทศก์ ๒.๒.๖ นายสงคราม ชมภูพาน ครู โรงเรียนบ้านวังสาราญ ๒.๒.๗ นายธนากร มาตรา เจา้ หน้าท่ธี รุ การ โรงเรียนบา้ นผาวงั ๒.๒.๗ นายเจยี มพล บุญประคม ศกึ ษานเิ ทศก์ ๒.๒.๘ นายอธิวัฒน์ สายสิงห์ เจ้าหน้าท่ี ICT สพป.หนองบวั ลาภู เขต ๒

๒.๓ คณะกรรมจัดหน่วยเคล่อื นทเี่ รว็ (Roving Team) อาเภอสุวรรณคหู า ๒.๓.๑ นายเจนภพ ชยั วรรณ รอง ผอ.สพป.หนองบวั ลาภู เขต ๒ ประธานกรรมการ ๒.๓.๒ นายประภาส พลไชย ผอ.กลุ่มเทคโนโลยสี ารสนเทศฯ กรรมการ ๒.๓.๓ นางปาริชาติ ปิตพิ ัฒน์ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ ๒.๓.๔ นายเจียมพล บญุ ประคม ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ ๒.๓.๕ นางสาวเตือนใจ แสนนา ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ ๒.๓.๖ นายทนงศักด์ิ พยุวงศ์ ครู โรงเรียนบ้านโคกทงุ่ นอ้ ย กรรมการ ๒.๓.๗ นายอดิศร โคตรนรนิ ทร์ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ/เลขานกุ าร ๒.๓.๘ นายอธิวัฒน์ สายสงิ ห์ เจา้ หนา้ ท่ี ICT สพป.หนองบวั ลาภู เขต ๒ กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานกุ าร มีหน้าทใ่ี ห้คาปรกึ ษา แนะนา ชว่ ยเหลอื ด้านโครงสร้าง อปุ กรณ์ และเทคนคิ การใชอ้ ปุ กรณใ์ นการจัดการเรยี น การสอนดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ๓. คณะกรรมกำรนิเทศ ตดิ ตำม ประกอบดว้ ย ๓.๑ ศูนยเ์ ครือข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษานากลาง ๑ ๓.๑.๑ นางสาวพีรญา วาดวงศ์ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ ๓.๒ ศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง ๒ กรรมการ ๓.๒.๑ นางสาวไพพยอม พิมพ์พาเรือ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ กรรมการ ๓.๓ ศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานากลาง ๓ กรรมการ ๓.๓.๑ นางนิรมล บุญเยน็ ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ ๓.๓.๒ นางสาวเตอื นใจ แสนนา ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ ๓.๔ ศนู ย์เครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษานากลาง ๔ กรรมการ ๓.๔.๑ นางปาริชาติ ปติ ิพฒั น์ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ ๓.๕ ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานากลาง ๕ กรรมการ ๓.๑.๑ นางสาวกฤตยา ตระกลู วงศ์ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ ๓.๖ ศูนย์เครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษานาวัง ๑ กรรมการ กรรมการ ๓.๖.๑ นางสาวโสภา พันธ์พรหม ศึกษานิเทศก์ ๓.๗ ศนู ย์เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานาวงั ๒ ๓.๗.๑ นายวรี ะ ศลิ า ศกึ ษานเิ ทศก์ ๓.๗.๒ นางณชิ าภัทร เหตุเกตุ ศึกษานเิ ทศก์ ๓.๘ ศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษานาวงั ๓ ๓.๘.๑ นายเจียมพล บญุ ประคม ศึกษานเิ ทศก์ ๓.๙ ศนู ยเ์ ครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาสุวรรณคหู า ๑ ๓.๙.๑ นายอดิศร โคตรนรนิ ทร์ ศึกษานิเทศก์ ๓.๑๐ ศูนย์เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาสุวรรณคหู า ๒ ๓.๑๐.๑ นายพัฐจักร วันทวี ศึกษานิเทศก์ ๓.๑๐.๒ นางกมลวลี บญุ แสนแผน ศึกษานเิ ทศก์

๓.๑๑ ศูนย์เครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสุวรรณคหู า ๓ ๓.๑๑.๑ นางสภุ าภร สิมลี ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ ๓.๑๑.๒ นายภมู ิทศั น์ เหลา่ บรุ ินทร์ นกั วิชาการศกึ ษา กรรมการ ๓.๑๒ ศูนยเ์ ครือข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษาสุวรรณคหู า ๔ ๓.๑๒.๑ นายพิทกั ษ์ รันรัตยิ า ศึกษานิเทศก์ กรรมการ มหี น้าท่ใี หค้ าปรึกษา แนะนา ชว่ ยเหลอื ให้การจดั การเรียนการสอนดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ให้เปน็ ไปดว้ ยความ เรยี บร้อย ๔. คณะกรรมกำรสรปุ รำยงำน และประเมินผล ประกอบด้วย ๔.๑ นายประภาส พลไชย ผอ.กลุม่ เทคโนโลยสี ารสนเทศฯ ประธานกรรมการ ๔.๒ นายอดิศร โคตรนรนิ ทร์ ศกึ ษานเิ ทศก์ รองประธานกรรมการ ๔.๓ นางสาวเตือนใจ แสนนา ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ ๔.๔ นายทนงศักดิ์ พยุวงศ์ ครู โรงเรียนบา้ นโคกทงุ่ นอ้ ย กรรมการ ๔.๕ นายสงคราม ชมภพู าน ครู โรงเรียนบา้ นวงั สาราญ กรรมการ ๔.๖ นายวสันต์ วงษไ์ ชยา ครู โรงเรยี นบ้านหนองดา่ น กรรมการ ๔.๗ นางปาริชาติ ปิตพิ ฒั น์ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ/เลขานุการ ๔.๘ นายเจียมพล บญุ ประคม ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ/เลขานกุ าร ๔.๙ นายอธิวฒั น์ สายสิงห์ เจ้าหนา้ ที่ ICT กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานกุ าร มีหนา้ ที่สรุป รายงาน และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอนด้วยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย ๕. คณะกรรมกำรฝำ่ ยกำรเงิน ประกอบด้วย ๕.๑ นางนิรมล อนิ ทร์เพชร ผอ.กล่มุ บรหิ ารงานการเงินและสนิ ทรพั ย์ ประธานกรรมการ ๕.๒ นางณตั ยา คาพิศาล นักวิชาการพสั ดุ กรรมการ ๕.๓ นางสาวสรญั ญา สพุ รหมอินทร์ นักวชิ าการพัสดุ กรรมการ ๕.๔ นางสาวจิตรลดา ศิรวิ งศ์ เจ้าหน้าที่การเงิน กรรมการ ๕.๕ นางปาริชาติ ปิตพิ ัฒน์ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ ๕.๖ นายเจยี มพล บุญประคม ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ มหี นา้ ท่ี เบกิ – จ่ายงบประมาณ จดั ทาเอกสารส่งใชเ้ งนิ ยมื ทดรองราชการให้เรียบรอ้ ย ถูกต้องตามระเบียบ การเงิน ทัง้ นี้ให้กรรมการท่ไี ดร้ ับแต่งตง้ั ปฏบิ ัตหิ น้าทีท่ ่ีได้รบั มอบหมายให้บรรลุผลสาเร็จและบังเกดิ ประโยชน์สูงสุด แก่ทางราชการ ตั้งแต่บดั น้เี ปน็ ต้นไป สงั่ ณ วนั ที่ ๑๕ เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายกัมปนาท ศรีเชอ้ื ) ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต ๒

คณะทาํ งาน สาํ นกั งานเขตพืนทีการศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาํ ภู เขต 2 กล่มุ งานส่งเสริม พัฒนา สือ นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา กลมุ่ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาทางไกล รวบรวม เรยี บเรียง และออกแบบโดย นายประภาส พลไชย ตาํ แหนง ผอู าํ นวยการกลุมสงเสรมิ การจัดการศกึ ษาทางไกล นายอดศิ ร โคตรนรนิ ทร ตาํ แหนง ศกึ ษานิเทศก นายเจยี มพล บุญประคม ตําแหนง ศึกษานเิ ทศก นางปารชิ าติ ปติพฒั น ตําแหนง ศกึ ษานิเทศก นายอธิวฒั น สายสิงห ตาํ แหนง เจา หนา ที่ ICT


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook