Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Active Learning_1568067777

Active Learning_1568067777

Published by ปาริชาติ ปิติพัฒน์, 2019-09-15 01:20:44

Description: Active Learning_1568067777

Search

Read the Text Version

การเรยี นรู้อย่างจรงิ จังและตง้ั ใจ Active Deep Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ

การเรยี นรู้อยา่ งจริงจง้ั และตั้งใจ Active Deep Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การเรยี นรอู้ ย่างจริงจงั และต้ังใจ Active Deep Learning รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล พมิ พเ์ ผยแพร่ออนไลน์ กันยายน 2562 แหล่งเผยแพร่ ศูนย์ผู้นานวตั กรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ www.curriculumandlearning.com พิมพ์ที่ ศนู ย์ผูน้ านวตั กรรมหลักสตู รและการเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร หนังสือเลม่ นี้ไมม่ ีลขิ สทิ ธิ์ จัดพมิ พ์เพ่ือส่งเสริมสงั คมแหง่ การเรยี นรู้และการแบง่ ปนั

คานา หนังสือ “การเรยี นรอู้ ย่างจริงจังและต้ังใจ Active Deep Learning” เล่มน้ี เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวคิด เกี่ยวกับการจัดการเรยี นรู้ให้ผู้เรียนใช้ความมุ่งมั่นพยายามในการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดความรู้ท่ีถูกต้อง รู้จริง รู้ชัด ซ่ึงเป็นพื้นฐานของการเชื่อมต่อ ความรไู้ ปส่กู ารสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า ห นั ง สื อ เ ล่ ม น้ี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่อผูท้ เ่ี กย่ี วขอ้ งได้มากพอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล

สารบัญ 1. บทนา 1 2. การเรยี นรูอ้ ย่างจริงจังและต้งั ใจ 1 3. การเรียนรู้แบบจบั จดจะไม่เกดิ Deep learning 2 4. การเรยี นรูอ้ ย่างจรงิ จังและตง้ั ใจสนู่ วตั กรรม 4 5. จาก Active learning สู่ Deep learning ตอ่ ยอดการเรยี นรู้ 6 ไปสกู่ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม 7 6. การสรา้ งความจรงิ จังและต้ังใจในการเรียนรู้ 9 7. บทสรุป 10 บรรณานุกรม

1 การเรยี นรู้อยา่ งจริงจงั และตั้งใจ Active Deep Learning 1. บทนา การเรียนรู้ท่ีจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้เชิงลึก (Deep knowledge) ท่ีสามารถนาไปเช่ือมโยงกับความรู้เชิงลึกอ่ืนๆ เกดิ เป็น การเรียนรู้เชิงลึก (Deep learning) และต่อยอดเป็นแนวคิด (Idea) ไปสกู่ ารสรา้ งสรรค์นวัตกรรมนนั้ มาจากการที่ผู้เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ิกจิ กรรม เรียนรู้อยา่ งจรงิ จัง ตัง้ ใจ โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการแก้ปญั หา ดว้ ยความอุตสาหพยายาม 2. การเรียนร้อู ยา่ งจริงจังและตงั้ ใจ การเรียนรู้อย่างจริงจังและต้ังใจ หมายถึง การปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่าง มีเป้าหมายของตนเอง มีแรงบันดาลใจ (passion) ในการปฏิบัติกิจกรรมน้ันให้แล้วเสร็จ อดทน มุ่งม่ัน พยายาม ใช้กระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่าง หลากหลาย ฟันฝ่าอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนอย่างไม่ได้คาดหมาย แก้ปัญหา เหลา่ นัน้ อยา่ งสร้างสรรค์ และมคี วามสุขในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

2 3. การเรยี นรแู้ บบจับจดจะไม่เกดิ Deep learning การเรียนรู้แบบจับจด คือ การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี ลักษณะทาไม่จริงจงั ไม่มีจิตใจจดจ่อในสิง่ ท่เี รยี น เ กิ ด จ า ก ผู้ ส อ น เ ป ลี่ ย น กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เ ร็ ว เ กิ น ไ ป และกิจกรรมการเรียนรู้ไม่ดึงดูดความสนใจระยะยาวของผู้เรียน เช่น ให้ปฏิบัติกิจกรรม 4 กิจกรรมในการจัดการเรียนรู้ 1 ชั่วโมง โดยแบ่งเวลาออกเป็นกิจกรรมละ 15 นาที และกิจกรรมเหล่าน้ัน ไมไ่ ดเ้ ป็นกิจกรรมท่ีตอ่ เน่อื งกนั ของ Concept of Learning ด้วยเหตุน้ี ทาให้ผู้เรียนรีบเร่งปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ให้เสร็จ โดยไม่ได้ให้ความเอาใจใส่ ถ้าผู้เรียนพบปัญหาในการเรียนรู้ จะปล่อยผ่านไป โดยไม่คิดแกไ้ ข เน่ืองจากจะมีกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ ตามมาในเวลาอนั ใกล้ สถานการณ์ในชั้นเรียนเช่นน้ี ไม่เป็นผลดีต่อผู้เรียน เพราะ ทาให้ไม่เกิดการเรียนรูเ้ ชิงลึก (Deep knowledge) คอื รู้ไม่จริง รู้ไม่ชัด ในสิ่งท่ีเรียน ส่งผลกระทบให้ไม่สามารถเชื่อมโยง Concept ได้ ท้ายที่สุดผู้เรียนจะไม่สามารถสังเคราะห์ Idea ของการสร้างสรรค์ นวัตกรรมได้ เปน็ “ความสญู เปล่าทางการศึกษา” ท่นี ่าเสียดายมาก

3 เวลา 1 – 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมที่ 1 ผูเ้ รยี น กิจกรรมที่ 2 รีบเรง่ กิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมที่ 4 ผ้เู รียน กิจกรรมท่ี ... รบี เรง่ ผ้เู รียน รีบเรง่ ผูเ้ รยี น รบี เรง่ ภาพประกอบ 1 การเรียนรแู้ บบจบั จดไม่เกดิ Deep learning

4 4. การเรยี นรอู้ ยา่ งจรงิ จังและตัง้ ใจสู่นวตั กรรม ธรรมชาติประการหน่ึงของผู้เรียนบางคน คือ ชอบกิจกรรม การเรียนรู้ที่ง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก ไม่ต้องใช้พลังทางความคิด ไม่ต้องทา กิจกรรมอะไรมากมาย ผู้สอนต้องปรับ Mindset ของผู้เรียนกลุ่มนี้ ให้ เปน็ Growth mindset เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรู้อยา่ งจริงจงั ด้วยเหตุนี้จึงทาให้ผู้เรียนกลุ่มน้ีชอบเรียนรู้ด้วยการฟัง บรรยาย และถา้ ผูส้ อนบรรยายเกง่ ผเู้ รียนจะยง่ิ รสู้ กึ ว่าตนเองเกิดการ เรยี นรไู้ ด้มากกวา่ การลงมอื ปฏบิ ัตกิ ารจรงิ มีรายงานการวิจัยพบว่า ผู้เรียนรู้สึกไปเองว่าตนเองเกิดการ เรียนรู้จากการฟังบรรยายมากกว่าการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ โดยแท้ที่จริงแล้วผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติเกิดการเรียนรู้ และทกั ษะสูงกวา่ การฟังบรรยาย จากงานวิจัยดังกล่าว ทาให้เห็นว่า การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ ผู้เรียนรู้สึกว่าสบายๆ ง่ายๆ ไม่ต้องทาอะไร น่าจะไม่เป็นผลดีต่อ ผู้เรียน ซึ่งแตกต่างจากการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง จะเป็นประโยชน์ต่อ ผ้เู รยี นในระยะยาว

เรียนรู้แบบไม่จริงจัง 5 ไม่ชอบส่ิงยาก ไมจ่ ริงจังตั้งใจ เรยี นรู้แบบจรงิ จัง เหมือนจะสบาย มองส่งิ ยากว่าท้าทาย รู้สึกวา่ ไดค้ วามรู้ จริงจงั และตั้งใจ จรงิ ๆ แล้วไม่ไดอ้ ะไร มีความสุขในการเรียน ได้ความรู้จริง ตอ่ ยอดนวัตกรรมได้ ภาพประกอบ 2 การเรียนรู้แบบงา่ ยๆ และการเรยี นร้แู บบจรงิ จัง

6 5. จาก Active learning สู่ Deep learning ต่อยอดการเรยี นรู้ไปสกู่ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม การเรียนรู้แบบ Active learning คือ การปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยความกระตือรือร้น เกิดความรู้ความเข้าใจและ ความสามารถ พัฒนาไปสู่การเรียนรู้เชิงลึก หรือ Deep learning ท่ีผู้เรียนนาความรู้ความเข้าใจและความสามารถด้านต่างๆ มาเช่ือมต่อ เขา้ ด้วยกนั และนาไปประยกุ ต์ใช้ หรอื สร้างสรรค์นวตั กรรม Active learning DDeeDepeepekpnkonkwonwolewldelgdeegdege DDDeeeeepeppklenkanorownwilnelgeddgege Creative innovation ภาพประกอบ 3 จาก Active learning สู่ Deep learning

7 6. การสร้างความจริงจงั และต้งั ใจในการเรยี นรู้ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ไ ม่ ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ เ ป ล่ี ย น กิ จ ก ร ร ม อย่างรวดเร็ว ทาให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้แบบจัดจด ไม่เป็น ผลดีต่อผู้เรียน เพราะจะทาให้ไม่เกิด Deep knowledge และ Deep learning การสร้างสมาธิจดจ่อในกิจกรรมการเรียนรู้น้ัน ผู้สอนควร ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีดึงดูดความสนใจระยะยาวของผู้เรียน โดยนาธรรมชาติ ความสนใจ ความถนัด และความต้องการ ของผู้เรียนเป็นตัวต้ังในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีความ ตอ่ เน่ืองสมั พนั ธ์กัน และมีลกั ษณะท้าทายความสามารถ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดึงดูดความสนใจ จะทาให้ผู้เรียน มีสมาธิจดจ่อ มุ่งมั่น พยายาม ใช้กระบวนการเรยี นร้อู ย่างหลากหลาย แกป้ ญั หาและฟันฝ่าอปุ สรรคแบบกัดไมป่ ล่อย ผู้เรียนมีประสบการณ์เชิงลึก (Deep experiences) พัฒนาไปเป็นความรู้เชิงลึก (Deep knowledge) และเชื่อมโยงกับ ความรู้เชงิ ลึกอืน่ ๆ เกิดเป็นการเรียนร้เู ชิงลึก (Deep learning) ทเี่ ป็น รากฐานของการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมตอ่ ไป

8 ธรรมชาติผเู้ รียน Concept of learning ความสนใจ คุณลกั ษณะ สมรรถนะ ความถนัด ความต้องการ ออกแบบกจิ กรรม การเรียนรู้ ตอ่ เนื่อง สัมพันธ์กัน ทา้ ทายความสามารถ ผูเ้ รียนมีสมาธิจดจ่อ ไมเ่ รง่ รบี เกิด Deep knowledge เช่อื มต่อเป็น Deep learning ภาพประกอบ 4 การสร้างสมาธจิ ดจอ่ ในกิจกรรมการเรียนรู้

9 7. บทสรุป การเรียนรู้อยา่ งจริงจังและต้งั ใจ ทาให้ผู้เรียนมีความรเู้ ชงิ ลกึ เชื่อมต่อกับความรู้เชิงลึกอื่นๆ เป็นการเรียนรู้เชิงลึก และต่อยอดไปสู่ การสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้สอนควรปรับ Mindset ของผู้เรียนที่มี พฤติกรรมการเรียนแบบจับจด ไม่เอาจริงเอาจัง ไม่ต้ังใจ มาเป็น Growth mindset ที่จริงจัง ต้ังใจในการเรียนรู้ โดยการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ตอบสนองธรรมชาติ ความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียน แล้วขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ จาก Active learning ไปสู่ Deep learning

10 บรรณานุกรม Harvard University. (2019). Lesson in Learning. Retrieved September, 9, 2019 from https://news.harvard.edu /gazette/story/2019/09/study-shows-that-students- learn-more-when-taking-part-in-classrooms-that- employ-active-learning-strategies/ Washburn, K. D. (2012). How Effort Empowers Learning. Retrieved September, 9, 2019 from https://www.howtolearn.com. /2012/11/how-effort-empowers-learning/

การเรยี นรู้เชงิ ลกึ หรอื Deep learning ผ้เู รยี นนำควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมสำมำรถดำ้ นตำ่ งๆ มำเชื่อมตอ่ เขา้ ดว้ ยกนั นำไปประยกุ ต์ใช้ และสรา้ งสรรค์นวตั กรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook