การออกแบบ นวัตกรรมหลักสตู ร รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ
การออกแบบ นวตั กรรมหลักสูตร รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล พิมพ์เผยแพร่ออนไลน์ มกราคม 2562 แหลง่ เผยแพร่ ศนู ยผ์ นู้ านวัตกรรมหลกั สูตรและการเรียนรู้ www.curriculumandlearning.com พมิ พ์ท่ี ศูนย์ผนู้ านวัตกรรมหลกั สตู รและการเรยี นรู้, กรุงเทพมหานคร หนังสือเล่มนไ้ี มม่ ีลิขสทิ ธิ์ จัดพิมพ์เพือ่ ส่งเสริมสังคมแห่งการเรยี นรแู้ ละการแบง่ ปนั
คานา หนังสือ “การออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู ร” เลม่ น้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอภาพรวมของ กระบวนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งมีเนื้อหาสาระประกอบด้วย แนวคิดหลักการ ออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู ร จุดมงุ่ หมายของการออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร การคดิ เชิงนวตั กรรมกับการ ออกแบบนวัตกรรมหลกั สูตร ระบบการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสตู ร การออกแบบนวัตกรรม หลักสูตรประเภทตา่ งๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสอื เลม่ นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ ่ีเก่ียวข้องกับงานพัฒนาหลักสูตรได้ พอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พฒั ผล
สารบญั 1 2 1. แนวคดิ หลักการออกแบบนวตั กรรมหลักสตู ร 2 2. จุดมุ่งหมายของการออกแบบนวตั กรรมหลกั สูตร 4 3. การคดิ เชงิ นวัตกรรมกบั การออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู ร 7 4. ระบบการออกแบบและพฒั นานวตั กรรมหลกั สูตร 15 5. การออกแบบนวตั กรรมหลกั สูตรประเภทตา่ งๆ 16 6. บทสรุป บรรณานุกรม
บญั ชีภาพประกอบ 3 1. วงจรการสร้างสรรคน์ วตั กรรมบนฐานการคดิ เชิงนวัตกรรม
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 1 การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร 1. แนวคิดหลักการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร (innovative curriculum design) เป็นการกาหนด แนวความคิด (ideation) สาหรับการพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรท่ีจะนาไปสู่ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร ต่อไป โดยที่การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรน้ันหมายความรวมถึงการวางแผนหรือจัดระบบหลักสูตร การตัดสนิ ใจเกยี่ วกบั ลกั ษณะของหลกั สตู ร แนวการจัดการเรียนรู้และการประเมนิ ผล และยงั หมายความ รวมถงึ การยกร่างหลักสตู รในภาพกวา้ งอกี ดว้ ย แนวคิดหลักของการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร คือ การท่ีจะพัฒนาหลักสูตรให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน (demand side) ให้เกิดการเรียนร้ไู ด้มากทีส่ ุด โดยท่ีหลกั สูตรมีความ สอดคล้องกับสภาพการทางสังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี ภายใต้เงื่อนไขหรือ ข้อจากัดต่างๆ ซึ่งเป็นโจทย์ที่สาคัญท่ีสุดของนักพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรจะต้องศึกษาค้นคว้า วิจัย คดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ค่า และทส่ี าคญั ทสี่ ดุ คอื การมีการคดิ สรา้ งสรรค์ สาหรับหลักการออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู รทจี่ ะทาให้หลักสูตรตอบโจทย์ความต้องการของ ผ้เู รียนไดน้ ั้นมีดังตอ่ ไปนี้ 1. ออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับธรรมชาติและความ ต้องการของกลุ่มเป้าหมายรวมท้ังบริบทต่างๆ โดยเฉพาะบริบททางสังคมวัฒนธรรมและเทคโนโลยีที่มี ความเปน็ พลวัต 2. ออกแบบการดาเนินการพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรที่เป็นระบบ อย่างน้อย 3 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบการร่างหลกั สตู ร ระบบการบรหิ ารหลักสตู ร และระบบการประเมินหลักสูตร โดยให้ ความสาคญั กบั ระบบการบรหิ ารหลกั สตู รทมี่ ีความยืดหยุ่นในดา้ นเวลา วธิ กี าร และสถานท่ีการเรียนรู้ 3. ออกแบบนวัตกรรมหลักสตู รใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงเป็นแนวเดียวกนั (alignment) ท้ังจุดมุ่งหมายของหลักสตู ร สาระและกิจกรรมของหลกั สูตร และการประเมินผลของหลักสูตร โดยสาระ ของหลกั สตู รมีความทันสมยั กิจกรรมและการประเมนิ มคี วามยดื หยุ่นและหลากหลาย 4. ออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรท่ีผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีมาสนับสนุน การเรียนรู้ มคี วามยืดหยุ่นสูง แต่สามารถเรียนรไู้ ด้ตรงตามจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รอย่างมีประสิทธิภาพ
2 การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 5. ใช้องค์ความรู้ทางวิชาการและผลการวิจัยต่างๆ ท่ีเป็นปัจจุบัน ตลอดจน แนวโน้มของสังคม ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี และมุมมองของผู้เช่ียวชาญในการตัดสินใจ ออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร 6. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร โดยเฉพาะ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ควรนามาวิเคราะห์และพิจารณาในการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร เป็นลาดบั แรก 2. จุดม่งุ หมายของการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายที่สาคัญท่ีสุด คือ การทาให้หลักสูตรสามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ รยี นไดส้ ูงสุด ตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ หรอื โลกท่ีมีความเป็นพลวัต ผู้เรียนเกิดใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดการเรียนรู้ตรงตาม จุดมุง่ หมายของหลกั สูตร และนาส่งิ ที่ได้เรยี นรู้ไปพัฒนาตนเองและสังคมอยา่ งต่อเนือ่ ง 3. การคิดเชงิ นวตั กรรมกับการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร การคิดเชิงนวัตกรรม (innovative thinking) หรือการคิดริเริ่ม เป็นการคิดท่ีแตกต่างไปจาก ความคิดเดิม เปดิ มมุ มอง แนวคิดใหมท่ ช่ี ่วยให้ไดผ้ ลลัพธ์ท่ีดขี ึ้น ช่วยแก้ปัญหา หรือนาไปสกู่ ารสร้างสรรค์ นวัตกรรมตา่ งๆ (ราชบัณฑติ ยสถาน. 2555: 287, Visser. 2006) ซ่งึ ในกระบวนการคดิ นจ้ี ะมีการออกแบบ (design) ผสมผสานอย่ใู นกระบวนการคิดซ่ึงประกอบด้วยข้ันตอนต่างๆ ที่เช่ือมโยงกนั ซึง่ ทาใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ จากการคดิ เปน็ นวัตกรรมท่ีอยู่ในความคิด และพรอ้ มทจ่ี ะลงมือปฏิบัติใหเ้ กิดนวัตกรรมขึ้นจรงิ (Robson. 2002) กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมประกอบด้วยข้นั ตอนท่ีเชื่อมโยงกันเปน็ วงจร 5 ข้ันตอน ซ่ึงเป็น รากฐานของรูปแบบการพฒั นานวตั กรรมหลักสตู ร ไดแ้ ก่ ขั้นที่ 1 การสังเกตและรับรปู้ ญั หา ข้ันท่ี 2 การระบุจดุ เน้นของนวตั กรรมท่ีต้องการ ขั้นท่ี 3 การก่อร่างแนวความคดิ ขน้ั ที่ 4 การสรา้ งต้นแบบนวตั กรรม ขน้ั ที่ 5 การทดสอบนวตั กรรมและสรปุ ผล
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 3 5. การทดสอบ 1. การสังเกต นวตั กรรม และรับรู้ปญั หา 2. การระบุจดุ เน้น ของนวตั กรรมทต่ี อ้ งการ 4. การสร้างต้นแบบ 3. การกอ่ รา่ ง นวตั กรรม แนวความคดิ แผนภาพ 1 วงจรการสร้างสรรคน์ วตั กรรมบนฐานการคิดเชงิ นวตั กรรม การคิดเชิงนวัตกรรมเป็นทกั ษะสาคัญของนกั พฒั นานวัตกรรมหลักสูตรใหส้ ามารถตอบสนอง ความต้องการของผู้เรียน Horth และ Buchner (2014) ได้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับการคิดเชิงนวัตกรรม ไว้ว่าเป็นการคิดที่จาเป็นสาหรับผู้นาเชิงนวัตกรรม (innovative leadership) ท่ีทาให้องค์กรเกิดการ พัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น มีนวัตกรรมและศักยภาพในการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา ท่ามกลางความ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี ตลอดจนความซับซ้อนของปัญหาและสภาพการณ์ต่างๆ ที่เพิ่ม สงู ขึน้ การคิดเชิงนวัตกรรมมีลกั ษณะของวิธีการคิด (ways of thinking) หลายประการดังนี้ Horth และ Buchner (2014: 7) 1. รเิ ริ่มส่งิ ใหม่ๆ 2. คาดการณจ์ ากการสังเกต 3. ต้งั คาถามวา่ “จะเกดิ อะไรขึน้ ...ถา้ ...” 4. ลบเงอ่ื นไขและข้อจากัดในอดีต 5. หาทางเลือกที่หลากหลาย 6. หาวธิ ีการท่ดี กี วา่ อยู่เสมอ 7. ตง้ั คาถามหรือข้อสงสัยอยู่เสมอ 8. ให้ความสาคญั กบั วิธีการมากกว่าคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งเพยี งคาตอบเดยี ว
4 การออกแบบนวัตกรรมหลกั สูตร การคิดเชิงนวัตกรรมท้ัง 8 วิธีการคิดดังกล่าว เป็นจุดเริ่มต้นของนวัตกรรมหลักสูตรต่างๆ ที่จะต้องผ่านกระบวนการออกแบบและการพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรให้เกิดขึ้นจริงต่อไป ด้วยเหตุน้ี นกั พัฒนานวตั กรรมหลกั สูตรท่ดี ีจงึ จาเปน็ ต้องเปน็ ผ้ทู ่ีมกี ารคดิ เชิงนวัตกรรมอยเู่ สมอ โดยพยายามคดิ ริเรมิ่ สิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างจากเดิม ท่ีอาศัยกระบวนการสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงทา งสังคม เทคโนโลยี สภาพการณ์ต่างๆ หรืออาจจะตั้งคาถามว่า “จะเกิดอะไรข้ึน...ถ้า...” ก็สามารถเป็นจุดเร่ิมต้นของ นวัตกรรมหลักสูตรที่ดีและน่าสนใจ พยายามลบเงื่อนไขหรือข้อจากัดออกไปจากการคิดของเราก่อน เพราะถ้าคดิ อยูภ่ ายใตข้ ้อจากัดเสียแล้ว ความคดิ จะไม่แลน่ หาส่งิ ใหมไ่ ม่เจอเพราะตดิ กรอบ นอกจากนีใ้ นกระบวนการคดิ ควรแสวงหาทางเลอื กทหี่ ลากหลาย มีความยืดหยนุ่ ทางความคิด อย่าคิดวา่ ผดิ หรือถกู แตใ่ ห้คิดวา่ ดีกวา่ เดมิ หรอื ไม่ อะไรท่ดี ีกว่าเดิม พยายามมองหาวิธีการที่ดีกว่า หรอื สง่ิ ทด่ี กี ว่าอย่เู สมอ อย่าคิดวา่ หลกั สูตรหรือการจัดการเรยี นรู้นนั้ ประสบความสาเรจ็ แลว้ เพราะเมอ่ื คิดอย่างน้ี จะไม่คิดพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม แต่ให้ตั้งข้อสงสัยอยู่เสมอว่าหลักสตู รและการจัดการเรียนร้ใู นปัจจุบนั มสี ิ่งทีจ่ ะตอ้ งปรบั ปรงุ และพฒั นาในเรอื่ งใด เพอ่ื ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของผเู้ รียนและสภาพการณ์ไดด้ ี มากข้นึ หา้ มคิดว่า “ดแี ลว้ ” แต่ให้คดิ วา่ “ยังตอ้ งปรบั ปรงุ และพฒั นาให้ดีขึ้น” และให้เปดิ ใจกวา้ งยอมรับ แนวคดิ ใหมๆ่ แล้วหาช่องทางท่จี ะต่อยอดใหเ้ ปน็ นวตั กรรมท่เี กดิ ขน้ึ จรงิ แทนการพยายามตัดสนิ ในทันทีวา่ แนวคิดนัน้ ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ เหล่านคี้ อื การคดิ ท่ีนาไปสกู่ ารออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 4. ระบบการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลกั สูตร ระบบการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสูตร หมายถึง วงจรการพัฒนาหลักสูตร ท่ีมีข้ันตอนต่างๆ ที่เช่ือมโยงกันอย่างมเี หตุมีผลและสามารถนาไปส่กู ารสร้างสรรค์นวัตกรรมหลักสูตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเน้ือหาระบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler, Taba, Saylor & Alexander, Oliva และวิชัย วงษ์ใหญ่ ได้เคยนาเสนอไว้ในเอกสารประกอบการสอนรายวิชา ลส 701 กระบวน ทัศน์ใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร ซ่ึงนามาให้นิสิตได้ศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นสาคัญที่นาไปสู่การ ออกแบบนวตั กรรมหลักสตู รตอ่ ไป ระบบการพัฒนาหลกั สตู รของ Tyler ระบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler มีแนวคิดหลักท่ีสาคัญ คือ “เป้าหมายและวิธีการ” (ends and mean approach) และจากแนวคดิ ดงั กล่าวทาให้ Tyler ไดน้ าเสนอ หลักการและเหตุผล
การออกแบบนวัตกรรมหลักสตู ร 5 สาหรับการสรา้ งสูตร เรียกว่า “Tyler’s rationale” ซ่ึงใช้เป็นหลกั การสาหรบั การพัฒนาหลักสตู ร ดังนี้ (Tyler. 1949: 1) 1. จดุ มุง่ หมายทางการศึกษาท่ีโรงเรยี นควรบรรลุคอื อะไร 2. มีประสบการณ์ทางการศึกษาอะไรทสี่ ามารถทาให้บรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย 3. ประสบการณ์ทางการศึกษาเหลา่ นส้ี ามารถจัดให้มีประสิทธิภาพอย่างไร 4. เราจะสามารถทราบไดอ้ ย่างไรวา่ บรรลุจดุ มงุ่ หมายทีก่ าหนดไว้ Tyler ระบุว่านักพัฒนาหลักสูตรควรตอบคาถามท้ัง 4 ข้อน้ี ให้ชัดเจนตามลาดับ เพอื่ ใหก้ าร ดาเนินการพัฒนาหลักสตู รมีประสิทธิภาพ ซึ่งการกาหนดจดุ ม่งุ หมายทางการศึกษาท่ชี ัดเจนจะทาให้ง่าย ในการคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีตอบสนองจุดมุ่งหมาย รวมท้ังส่งผลต่อการจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การพัฒนาหลักสูตรของ Tyler ให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานท่ีสาคัญและ จาเป็นสาหรับการกาหนดจดุ มุ่งหมายทางการศึกษา ได้แก่ การศึกษาผู้เรยี น การศึกษาสังคม การศึกษา แนวคิดของนักวิชาการ ตลอดจนปรัชญาสังคม และปรัชญาการศึกษา เพื่อนามาสังเคราะห์กาหนดเป็น จดุ มงุ่ หมายทางการศึกษาช่วั คราว เมื่อได้จุดมุ่งหมายชัว่ คราวแล้วยงั ตอ้ งนาทฤษฎีการเรยี นรู้ ปรัชญาสงั คม และปรชั ญาการศกึ ษา มากล่ันกรองจดุ มงุ่ หมายชวั่ คราวนน้ั ใหเ้ ปน็ จุดมุ่งหมายทางการศกึ ษาท่แี ทจ้ รงิ นอกจากนี้ Tyler ยังได้ให้ความสาคัญกับการศึกษาผู้เรียนเป็นอย่างมาก และมีแนวคิดว่า การศึกษาคือการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน ทั้งด้านการคิด การปฏิบัติ และด้านเจตคติโดยระบุ เหตุผลความจาเป็นของการศึกษาความต้องการของผู้เรียน ว่าผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและชมุ ชน การทราบชอ่ งว่างระดับพฒั นาการของผเู้ รยี นในปัจจุบนั กับมาตรฐานทั่วไปจะชว่ ยแนะแนวทางการกาหนด วัตถุประสงค์การศึกษาได้ถูกต้อง ส่วนวิธีการศึกษาความต้องการของผ้เู รียน การสารวจความสนใจของ ผู้เรียน มีหลากหลายวิธีการ เช่น การสัมภาษณ์ การสอบถาม การสังเกตพฤติกรรม เป็นต้น ซึ่งการให้ ความสาคัญกับการศึกษาความสนใจของผู้เรียนน้ี สอดคล้องกับแนวทางการศึกษาพิพัฒนาการนิยม (progressivism education) ทม่ี จี ดุ เน้นว่า การจัดการศึกษาที่ดตี ้องเปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นไดป้ ฏิบตั กิ ิจกรรม ทางการศึกษาที่สอดคล้องกับธรรมชาติและศักยภาพผู้เรียน การเรยี นรู้เกดิ จากการได้มีปฏิสัมพันธก์ บั ส่ิง ต่างๆ รอบตัว และเรียนรู้จากการประสบความสาเรจ็ รวมทั้งมีสทิ ธิและเสรีภาพ ตลอดจนมคี วามสขุ ในการ เรียนรู้ ความซับซ้อนทางสังคมที่ทาให้การดารงชีวิตทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงเกดิ ข้ึนอย่างรวดเรว็ และตอ่ เน่ือง จึงมีความจาเป็นอยา่ งยิ่งทีก่ ารพฒั นาหลกั สูตรจะต้องมีการศกึ ษาสงั คม และนามาพจิ ารณาในการพัฒนา
6 การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร หลักสูตร เช่น สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมีความหลากหลายท้ังด้านเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ความเช่ือ ค่านิยม นอกจากนยี้ ังมีลักษณะเป็นสงั คมเมอื ง สังคมก่งึ เมือง สงั คมชนบท สงั คมท่ีเปน็ อุตสาหกรรม สังคม ธุรกิจ สังคมเกษตรกรรม และที่สาคัญคือ สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งความหลากหลายต่างๆ เหล่าน้ี จะต้องถูก นามาวิเคราะห์และนามาใชใ้ นการพฒั นาหลักสตู ร เพ่ือให้หลักสูตรมีความสอดคลอ้ งกับบริบทของสงั คม ส่วนการศึกษาแนวคิดของนักวิชาการ เกี่ยวกับคุณภาพของผู้เรียนจะช่วยให้นักพัฒนา หลักสูตรสามารถกาหนดจุดมุ่งหมายทางการศึกษาได้เปน็ อย่างดี การใช้ข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญเป็น วิธีการที่ใช้กันโดยทั่วไปสาหรับการกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ส่วนการศึกษาปรัชญาสังคมและ ปรัชญาการศึกษาช่วยทาให้เห็นจุดเน้นและเป้าหมายของพัฒนาคนและการจัดการศึกษาของแต่ละ ปรัชญา ซึ่งจะนาไปสู่การกาหนดจดุ มุง่ หมายการศึกษา ส่วนการศกึ ษาจิตวิทยาการเรยี นรู้ จะใช้ในการ กล่ันกรองจุดมุ่งหมายการศึกษาให้มีความเหมาะสมกับธรรมชาติและศักยภาพของผู้เรียน ในด้านการ เรียนรู้ Tyler ระบุว่าประสบการณ์การเรียนรู้ (learning experiences) น้ันไม่ได้หมายถึงเนื้อหาสาระ (content) ที่อยู่ในหลักสูตร หรือกิจกรรมที่ผู้สอนให้ผู้เรียนปฏิบัติ แต่การเรียนรู้เป็นปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผูเ้ รียนกบั สภาพแวดลอ้ มหรือกจิ กรรมทผ่ี ู้สอนจัดขน้ึ ดงั น้ันประสบการณ์การเรยี นรู้ จึงเปน็ สิ่งที่ตอ้ งพจิ ารณาคดั เลอื กอย่างดที ี่สดุ ซง่ึ Tyler ไดร้ ะบุหลกั การไว้ดังน้ี (Tyler. 1949: 65 – 81) 1. ผู้เรยี นต้องไดเ้ รียนรู้อย่างสอดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2. กิจกรรมและประสบการณ์การเรยี นรตู้ ้องทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ 3. กจิ กรรมและประสบการณ์การเรียนรเู้ ป็นสิง่ ทผ่ี ู้เรยี นสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ 4. กจิ กรรมและประสบการณก์ ารเรียนรหู้ ลายอยา่ งอาจนาไปสกู่ ารบรรลจุ ดุ ประสงค์ 5. กจิ กรรมและประสบการณ์การเรยี นรู้อย่างเดยี วนาไปสกู่ ารบรรลจุ ดุ ประสงคห์ ลายขอ้ 6. กิจกรรมและประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดีจะสนับสนุนผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ ด้านตา่ งๆ เชน่ ทกั ษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เจตคติทดี่ ีต่อสงั คม ความสนใจ และแรงจงู ใจ นอกจากนี้ Tyler ใหค้ วามสาคญั กับการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์การเรยี นร้วู า่ ต้องมคี วาม ต่อเน่ืองทั้งในด้านเวลาต่อเวลาและเน้ือหาต่อเน้ือหาหรือเรียกว่า ความสัมพันธ์แบบแนวต้ัง ( vertical) และความสมั พันธ์แบบแนวนอน (horizontal) (Tyler. 1949: 84) ซ่ึงมีหลกั เกณฑ์ดงั น้ี (Tyler. 1949: 84 - 86) 1. ความต่อเนื่อง (continuity) หมายถึง ความสัมพันธ์ในแนวตั้งของการจัดกิจกรรม และประสบการณ์การเรยี นรู้ จากระดบั หนึง่ ไปยงั อกี ระดบั หนึง่ ท่ีสงู ขน้ึ
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 7 2. ลาดบั (sequence) มีความเก่ยี วขอ้ งกบั เกณฑ์ความตอ่ เน่ือง หมายถงึ ความสัมพนั ธ์ แนวตง้ั ของการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์การเรยี นรู้ จากสงิ่ ทไ่ี มซ่ บั ซ้อนไปส่สู งิ่ ที่มีความซับซ้อน 3. บูรณาการ (integration) หมายถึง ความสัมพันธ์แนวนอนของการจัดกิจกรรมและ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ที่เชอ่ื มโยงความคิดรวบยอดต่างๆ เขา้ ด้วยกนั สาหรับการประเมินผล Tyler มีแนวคิดที่สาคัญว่าเป็นการตรวจสอบการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์การเรียนรู้ ว่าสามารถทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ ซ่ึงการประเมินหลกั สูตรถอื ว่าเปน็ สงิ่ สาคัญมากของการพัฒนาหลักสูตร (Tyler. 1949: 104) การประเมินผลในมุมมองของ Tyler เน้นไปที่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในตัวผู้เรียน การประเมินผลจึงควรใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลายและมีความเหมาะสมกับพฤติกรรมท่ีต้องการ ประเมิน โดยท่ีการประเมนิ ผลมีขน้ั ตอนดงั น้ี (Tyler. 1949: 110 – 125) 1. การกาหนดพฤติกรรมสอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. การกาหนดสถานการณ์สงิ่ เรา้ ให้ผูเ้ รียนแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 3. การพัฒนาเคร่ืองมือทใี่ ชส้ าหรบั การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4. การตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 4.1 ความเปน็ ปรนยั (objectivity) 4.2 ความถูกตอ้ ง (validity) 4.3 ความเชอื่ ม่ัน (reliability) 5. การประเมินผลและนาผลการประเมินมาใช้สาหรับการอธิบายผลการเรียนรู้ ของผเู้ รยี นท้งั ท่เี ปน็ รายบุคคลและเปน็ กล่มุ ตลอดจนการอธบิ ายจดุ ดแี ละจดุ ท่ตี อ้ งปรับปรงุ แก้ไขหลักสตู ร 5. การออกแบบนวัตกรรมหลักสตู รประเภทต่างๆ การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรเราอาจแบ่งกลุ่มของการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรได้ หลายประเภท โดยที่การออกแบบนวตั กรรมหลักสูตรในแตล่ ะลักษณะจะมขี ั้นตอนในภาพรวมทเ่ี หมอื นกนั คือ ขนั้ ที่ 1 การศึกษาข้อมลู พนื้ ฐาน ข้นั ที่ 2 การยกรา่ งหลักสูตร ขัน้ ท่ี 3 การนาหลักสูตรไปใช้ และข้นั ท่ี 4 การประเมินหลักสูตร แต่อย่างไรก็ตามการออกแบบหลักสูตรแต่ละประเภทมีจุดเน้นท่ีแตกต่างกันดัง รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
8 การออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู ร 1) การออกแบบนวตั กรรมหลักสตู รทีเ่ นน้ เน้ือหาสาระ (subject – centered designs) ลักษณะเฉพาะของหลักสูตร เป็นหลกั สตู รทใี่ หค้ วามสาคญั กับเนอ้ื หาสาระ (content) ที่ต้องการให้ผ้เู รยี น มคี วามรคู้ วามเข้าใจ โดยที่เนอ้ื หาสาระของหลกั สูตรได้รับการจดั ระบบหรือการจัดหมวดหม่ไู วอ้ ย่างชดั เจน ในรูปแบบของรายวิชาต่างๆ (บางคร้ังเรียกว่าหลักสูตรรายวิชา) และกาหนดไว้ว่าผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ เนือ้ หาสาระตา่ งๆ ในช่วงเวลาใดของการเรียนในหลักสูตร หลักสตู รท่ีเนน้ เนื้อหาสาระสามารถตอบสนอง ความต้องการด้านการถา่ ยทอดองค์ความรู้ตา่ งๆ ใหก้ บั ผู้เรยี นที่มีเนอื้ หาสาระจานวนมากไดด้ ี จดุ เนน้ ของการออกแบบหลกั สตู ร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหาสาระมุ่งเน้นการวิเคราะห์ เน้ือหาสาระต่างๆ ที่มีอยู่จานวนมากแล้วสังเคราะห์จัดระบบเน้ือหาสาระเหลา่ นั้นเป็นรายวิชาซ่ึงแตล่ ะ รายวชิ าเหลา่ น้นั มีความสมั พนั ธซ์ ึ่งกันและกนั และจัดระบบช่วงเวลาในการจดั การเรียนการสอนของแต่ละ รายวิชาอยา่ งเหมาะสม ข้ันตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสตู ร 1. วเิ คราะห์เนอ้ื หาสาระทผี่ ู้เรยี นจะต้องเรียนรู้ 2. สงั เคราะห์เนอื้ หาสาระเปน็ concept 3. จดั กล่มุ concept ต่างๆ และต้ังชื่อรายวชิ า 4. จัดลาดับรายวชิ าทจ่ี ะตอ้ งเรยี น 5. จดั การเรยี นรโู้ ดยใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรูเ้ นอ้ื หาสาระอยา่ งครบถ้วน 6. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระทกี่ าหนดไว้ 2) การออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู รท่เี นน้ ผู้เรยี น (learner – centered designs) ลกั ษณะเฉพาะของหลกั สตู ร เป็นหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับธรรมชาติและความต้องการของผู้เรียน ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและระดบั ความสามารถของผ้เู รียน มีความยืดหยุ่นในด้านเนอ้ื หา สาระและการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพของตนเองจนบรรลุจุดมุ่งหมายของ หลกั สูตรในท่สี ดุ
การออกแบบนวัตกรรมหลักสตู ร 9 จดุ เน้นของการออกแบบหลักสูตร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนมุ่งการวิเคราะห์ธรรมชาติ ความตอ้ งการ และความสนใจของผู้เรียนเป็นตวั ตั้ง แล้วนามาวเิ คราะห์สาระ กิจกรรม และประสบการณ์ การเรยี นรู้ทีต่ อบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งผเู้ รยี นรายบคุ คล เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นสามารถใช้กระบวนการ เรียนรู้ของตนเองได้อยา่ งหลากหลาย มคี วามยืดหยนุ่ ด้านเวลาและสถานท่ีในการเรยี นรู้ ข้นั ตอนเฉพาะของการออกแบบหลกั สตู ร 1. วิเคราะห์ผ้เู รยี นในดา้ นธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจ และอน่ื ๆ 2. สังเคราะห์ให้เหน็ ธรรมชาติ ความตอ้ งการ ความสนใจของผเู้ รยี น 3. วเิ คราะห์ concept ทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ ความต้องการ ความสนใจ 4. จัดระบบ concept ทนี่ าไปสู่การจดั การเรยี นรู้ 5. จดั การเรยี นรู้ทส่ี อดคลอ้ งกับธรรมชาติ ความตอ้ งการ ความสนใจ ของผ้เู รียน 6. ประเมินผลการเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาผู้เรยี นรายบุคคล 3) การออกแบบนวตั กรรมหลักสตู รท่เี น้นปญั หา (problem – centered designs) ลักษณะเฉพาะของหลักสตู ร เป็นหลักสูตรทีใ่ ห้ความสาคัญกับสภาพปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศ และโลก ซ่ึงเป็นปัญหาที่สังคมให้ความสนใจและรับรรู้ ่วมกันว่าจะต้องดาเนินการแก้ไข ปัญหาดงั กลา่ วเพื่อนาไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลักษณะของปัญหาท่ีนามาจดั ทาเปน็ หลกั สูตรมคี วาม เหมาะสมกบั สภาพสงั คมและชมุ ชนของผเู้ รียนเพือ่ ใหเ้ รียนรูจ้ ากปญั หาใกล้ตัวและลงมือแกไ้ ขปัญหา จุดเนน้ ของการออกแบบหลักสูตร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรที่เน้นปัญหา มุ่งเน้นการนาประเด็นปญั หา ท่ีเกิดข้ึนจริงมาให้ผู้เรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกับเพ่ือน ผู้สอน สมาชิก ในครอบครัว ชุมชน หรือสังคม ทาให้เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นาไปสู่การแก้ปัญหา อยา่ งย่ังยืน โดยในหลักสูตรหนึ่งๆ อาจจะนาประเด็นปัญหาหลายประเดน็ มาจัดการเรยี นร้กู ไ็ ด้
10 การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร ขัน้ ตอนเฉพาะของการออกแบบหลกั สูตร 1. วิเคราะห์สภาพปัญหาทีเ่ กิดข้นึ จรงิ ในชุมชนและสังคม 2. สังเคราะห์ประเด็นปญั หาที่ต้องการบรรจุไวใ้ นหลกั สูตร 3. จดั ลาดับประเดน็ ปัญหาทีจ่ ะดาเนินการจัดการเรียนรู้ 4. จัดการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู กป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ 5. ประเมินผลการเรยี นรู้เนน้ ความสามารถในการแก้ปญั หา 4) การออกแบบนวัตกรรมหลกั สตู รแกน (core – curriculum design) ลกั ษณะเฉพาะของหลกั สตู ร เป็นหลักสูตรท่ีให้ความสาคัญกับการพัฒนาผู้เรียนท้ังหลายให้มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมาตรฐานดังกล่าวถูกกาหนดไว้เป็นมาตรฐานกลางๆ ท่ีคาดหวังว่าผู้เรยี นทกุ คนจาเปน็ ต้องมีเพอ่ื การเรยี นรูแ้ ละการดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนเปน็ ทักษะในการประกอบอาชพี ตา่ งๆ ในอนาคต จุดเนน้ ของการออกแบบหลักสตู ร การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู รแกน จะมีการศึกษาวิเคราะหข์ ้อมลู พื้นฐาน อย่างรอบด้านทง้ั จากเอกสารวิชาการและงานวิจัย แล้วนามาวิเคราะหส์ งั เคราะห์เป็นความรู้ ทักษะ และ คณุ ลักษณะของผู้เรยี น ทีจ่ ะไดร้ บั การพัฒนาตลอดระยะเวลาการศกึ ษาในหลักสตู ร และมคี วามคาดหวังว่า ผู้เรียนทกุ คนไม่ว่าจะมีความสนใจ ความถนัด หรือความสามารถระดับใด จะสามารถเรยี นรู้ไดจ้ นประสบ ความสาเร็จ ขัน้ ตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสตู ร 1. วิเคราะห์ความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะทผี่ เู้ รยี นทกุ คนจาเปน็ ต้องมี 2. สังเคราะห์เปน็ ความรู้ ทกั ษะ และคุณลักษณะบรรจไุ วใ้ นหลกั สูตร 3. จัดลาดบั ความรู้และทกั ษะท่จี ะจัดการเรยี นรู้บูรณาการคณุ ลักษณะ 4. จดั การเรียนรูโ้ ดยบรู ณาการความรู้ ทักษะ และคุณลกั ษณะ 5. ประเมินผลเนน้ ที่การมีความรู้ ทกั ษะ และคุณลกั ษณะของผ้เู รียน
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร 11 5) การออกแบบนวัตกรรมหลักสตู รสมรรถนะ (competency – centered designs) ลักษณะเฉพาะของหลกั สูตร เป็นหลักสตู รท่ใี ห้ความสาคัญกบั สมรรถนะ มีความต้องการพัฒนาใหผ้ ู้เรยี น มีสมรรถนะ (ความรู้ ความสามารถ และคุณลักษะ) ท่ีจาเป็นต้องมีในการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหน่ึง ซ่ึงหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะโดยท่ัวไปจะพัฒนาผู้เรียนทั้งสมรรถนะหลัก (core competency) และ สมรรถนะตามตาแหนง่ งาน (functional competency) จุดเนน้ ของการออกแบบหลักสตู ร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรสมรรถนะ มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถพร้อมท่ีจะปฏิบัติงานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลในทันทเี ม่ือสาเร็จการศึกษา ดังนั้นจุดสาคัญของการออกแบบหลักสูตรจึงอยู่ที่การกาหนดสมรรถนะท่ีเป็นปัจจุบันและรองรับ สมรรถนะใหม่ท่ีจาเป็นต้องมีในอนาคตอันใกล้ หลักสตู รสมรรถนะสามารถตอบโจทย์ความต้องการของ โลกอาชีพไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ขัน้ ตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสูตร 1. วเิ คราะห์สมรรถนะในงานอาชพี ท่ผี ้เู รยี นจะต้องมี 2. สังเคราะห์สมรรถนะหลัก และสมรรถนะตามตาแหนง่ งาน 3. เรียงลาดบั สมรรถนะและกาหนดกจิ กรรมการฝกึ สมรรถนะ 4. จัดการเรียนรโู้ ดยเนน้ การลงมือปฏิบตั ิตรงตามสมรรถนะ 5. ประเมินผลเน้นทก่ี ารมีสมรรถนะตามที่กาหนดไว้ 6) การออกแบบนวัตกรรมหลกั สูตรเนน้ การสรา้ งสรรค์ (creation – centered designs) ลกั ษณะเฉพาะของหลกั สตู ร เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ท่ี ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด ส ร้า ง ส ร ร ค์ และการสร้างสรรค์ผลงานหรือนวัตกรรมของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสร้างสรรค์ และนวัตกรรมซึ่งเป็นทักษะท่ีสาคัญและจาเป็นในโลกปัจจุบันและอนาคต ควบคู่ไปกับการมีความรู้ ในเน้ือหาสาระ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ จากการท่ีได้ลงมือสร้างสรรค์ผลงานหรือนวัตกรรม ของตนเอง
12 การออกแบบนวัตกรรมหลกั สูตร จุดเนน้ ของการออกแบบหลกั สตู ร การออกแบบนวตั กรรมหลักสตู รเน้นการสร้างสรรค์ จะมกี ารวิเคราะหท์ ักษะ การสร้างสรรค์และนวัตกรรมทผ่ี ูเ้ รียนในแต่ละระดับจาเปน็ ต้องมี พร้อมทั้งวิเคราะหล์ ักษณะของผลงาน หรือนวัตกรรมที่มีความเหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียน ตลอดจนวิเคราะห์เนื้อหาสาระ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคท์ ี่จะกาหนดไว้ในหลักสตู ร ข้นั ตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสูตร 1. วเิ คราะห์ทักษะการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรมที่ผู้เรยี นจะไดร้ บั การพฒั นา 2. วเิ คราะห์ลักษณะของผลงานหรือนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกบั ผู้เรียน 3. วิเคราะห์เนอ้ื หาสาระและคณุ ลกั ษณะเชอ่ื มโยงกบั ผลงานหรือนวตั กรรม 4. จดั ลาดับการสรา้ งสรรค์ผลงานหรอื นวัตกรรม 5. จดั การเรยี นรูโ้ ดยให้ผเู้ รียนได้ลงมอื สรา้ งสรรค์ผลงานหรือนวตั กรรม เชือ่ มโยงกับเน้ือหาสาระและคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 6. ประเมินผลเน้นท่กี ารมีทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม การเชื่อมโยงความรู้ในเน้อื หาสาระ และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 7) การออกแบบนวตั กรรมหลักสูตรเนน้ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม (ethics–centered designs) ลกั ษณะเฉพาะของหลกั สูตร เป็นหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของ ผู้เรียน รวมไปถึงคุณลักษณะและค่านยิ มอันพึงประสงค์ เพ่ือให้ผู้เรียนมีระดับความสามารถเชิงคุณธรรม (morality quotient: MQ) รู้จักแยกแยะสิ่งท่ถี ูกต้องดีงามและสิ่งทไี่ ม่ถูกต้องไม่ดีงาม ตัดสินใจประพฤติ และปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจรยิ ธรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถควบคุมตนเองในการปฏบิ ตั ิ ตามกรอบคุณธรรมและจรยิ ธรรม รวมท้ังการมคี วามกล้าหาญเชิงจริยธรรม จดุ เน้นของการออกแบบหลกั สตู ร การออกแบบนวัตกรรมหลกั สูตรเน้นคุณธรรมจริยธรรมนั้น มุ่งออกแบบให้ ผู้เรียนได้ประพฤติและปฏบิ ัติในคณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ีต้องการพฒั นา ซึง่ ผเู้ รียนจะเกิดการเรยี นรูไ้ ปพรอ้ มๆ กบั การปฏบิ ัติในคณุ ธรรมจริยธรรมของตนเอง โดยมีกระบวนการคิดใคร่ครวญ ไตร่ตรอง การแลกเปลยี่ น เรียนรู้ การช่ืนชมและเห็นคุณค่า ตลอดจนการถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความตระหนัก
การออกแบบนวตั กรรมหลักสตู ร 13 ในคุณค่าของการประพฤติและปฏิบตั ิในคุณธรรมจริยธรรม และมีกระบวนการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรม อย่างตอ่ เนื่องและเชอื่ มโยงกบั วิถีชวี ิตของผูเ้ รียนทเี่ ป็นกลมุ่ เปา้ หมายของหลักสูตร ขั้นตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสูตร 1. วิเคราะห์คุณธรรมและจรยิ ธรรมทต่ี อบสนองความต้องการของสังคม 2. สังเคราะห์คุณธรรมและจริยธรรมที่ตอ้ งการพฒั นาให้กับผูเ้ รยี น 3. ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้บูรณาการคุณธรรมและจริยธรรม 4. จดั การเรยี นรูโ้ ดยให้ผเู้ รยี นได้ปฏบิ ัตใิ นคณุ ธรรมและจริยธรรม 5. ให้ผู้เรียนคดิ ใครค่ รวญ ไตรต่ รอง ถอดบทเรยี น 6. แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอ่ื สร้างการเห็นคณุ คา่ ของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 7. ประเมนิ การมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมของผูเ้ รียนโดยการสังเกตพฤตกิ รรม 8) การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรเน้นทักษะเทคโนโลยี (technology–centered designs) ลกั ษณะเฉพาะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรท่ีต้องการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีที่เป็นปัจจุบันหรืออนาคต ใหก้ ับผู้เรยี น หลกั สูตรมลี กั ษณะให้ผูเ้ รยี นฝกึ ทักษะเทคโนโลยตี า่ งๆ จากสถานการณ์จาลองหรืออาจจะใช้ การฝึกจากสถานการณ์จริงขึ้นอยู่กับบริบทและเง่ือนไขของการเรียนรู้ ผู้เรียนท่ีสาเร็จการศึกษาจาก หลักสูตรเน้นทักษะเทคโนโลยีจะมีทักษะเทคโนโลยีท่ีทันสมัยและสามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธภิ าพในทันที จุดเนน้ ของการออกแบบหลกั สูตร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรเน้นทักษะเทคโนโลยี จะมีการวิเคราะห์ ให้ได้คาตอบก่อนว่าผู้เรียนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาทกั ษะเทคโนโลยีอะไรบา้ ง แล้วนาทักษะเหล่านัน้ มาออกแบบหลักสูตรเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นฝึกปฏบิ ัติทกั ษะเทคโนโลยีดงั กลา่ วในสถานการณ์ทหี่ ลากหลาย ข้ันตอนเฉพาะของการออกแบบหลักสตู ร 1. วเิ คราะห์ทกั ษะเทคโนโลยที ่จี าเปน็ ในปัจจุบนั และอนาคต 2. สังเคราะห์ทักษะเทคโนโลยีใหเ้ ป็นหมวดหม่ทู ่ีสัมพันธ์กัน
14 การออกแบบนวตั กรรมหลักสูตร 3. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ทเ่ี น้นการฝกึ ปฏบิ ัติทกั ษะเทคโนโลยี 4. เตรยี มความพรอ้ มดา้ นวัสดุ เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ทางเทคโนโลยี 5. จดั การเรียนรโู้ ดยให้ผู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ักษะเทคโนโลยี 6. ผเู้ รียนแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละพัฒนาทกั ษะของตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง 7. ประเมินการมีทักษะเทคโนโลยีโดยการสงั เกตและตรวจสอบผลงาน 9) การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู รเน้นชุมชนเป็นฐาน (community–centered designs) ลกั ษณะเฉพาะของหลักสูตร เป็นหลกั สตู รที่มุ่งเน้นการจดั การศึกษาทเี่ ชื่อมโยงกบั ชุมชนในมิติต่างๆ เชน่ สภาพภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม ศิลปะ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเช่อื อาชพี ภูมิปัญญา สุขภาพ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและประเด็นอ่ืนๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ในลักษณะบูรณาการองค์ความรู้ กระบวนการเรยี นรู้ และคณุ ลักษณะต่างๆ จากทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ในชุมชน จดุ เนน้ ของการออกแบบหลักสตู ร การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรเน้นชุมชนเป็นฐานจะมีการวิเคราะห์ ทรัพยากรที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ซึ่งมีอยู่ในชุมชนในด้านต่างๆ ตลอดจนสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้น ในชุมชน เชื่อมโยงกับองค์ความรูต้ ่างๆ ในลักษณะสหวิทยาการ (interdisciplinary) แล้วจัดเปน็ รายวชิ า หรือหน่วยการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ลักษณะการจัดการเรยี นการสอนอาจจะให้ ผู้เรียนเข้าไปศกึ ษาเรียนรูใ้ นชมุ ชนหรอื นาประเด็นปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ในชมุ ชนเข้ามาเรียนรู้ในชน้ั เรียน ขัน้ ตอนเฉพาะของการออกแบบหลกั สูตร 1. วเิ คราะห์ทรพั ยากรการเรยี นร้ทู ่ีมอี ยใู่ นชมุ ชน 2. วิเคราะหเ์ ชื่อมโยงทรัพยากรการเรยี นรูใ้ นชมุ ชนกับเน้ือหาสาระ 3. สร้างและจดั ระบบหน่วยการเรียนรทู้ ่เี นน้ ชุมชนเป็นฐาน 4. เตรียมทรัพยากรทใี่ ชใ้ นการจดั การเรียนรู้ให้พร้อม 5. จดั การเรยี นรโู้ ดยเนน้ ให้ผูเ้ รยี นออกไปเรยี นรูใ้ นชุมชนหรอื นาประเดน็ ที่นา่ สนใจในชุมชนมาเรียนรใู้ นชนั้ เรียน 6. นาสิ่งท่เี รยี นรู้กลบั คืนไปสรา้ งประโยชนใ์ ห้กบั ชมุ ชน 7. แลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่างผเู้ รียนและชมุ ชน 8. ประเมินการเรียนรเู้ น้นการเชือ่ มโยงความรู้เชิงวิชาการ กับสภาพความเปน็ จรงิ ของชุมชน
การออกแบบนวตั กรรมหลักสตู ร 15 6. บทสรุป จากที่ได้กล่าวถึงเน้ือหาสาระในบทท่ี 5 การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร สรุปสาระสาคัญ ดังตอ่ ไปน้ี การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร (innovative curriculum design) เป็นการกาหนด แนวความคิด (ideation) สาหรับการพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรท่ีจะนาไปสู่ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร ต่อไป โดยท่ีการออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรน้ันหมายความรวมถึงการวางแผนหรือจัดระบบหลักสูตร การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ลักษณะของหลักสตู ร แนวการจัดการเรียนรู้และการประเมินผล การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรมีจดุ มุ่งหมายที่สาคัญที่สุด คือ การทาให้หลักสูตรสามารถ ตอบสนองความต้องการของผเู้ รียนไดส้ งู สุด ตอบสนองความต้องการของชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ หรอื โลกที่มีความเป็นพลวตั กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมประกอบด้วยข้ันตอนที่เชื่อมโยงกันเป็นวงจร 5 ข้ันตอน ซึ่งเปน็ รากฐานของรปู แบบการพฒั นานวตั กรรมหลักสูตร ได้แก่ ขนั้ ที่ 1 การสงั เกตและรับรูป้ ัญหา ขน้ั ท่ี 2 การระบุจดุ เนน้ ของนวตั กรรมทตี่ ้องการ ขั้นที่ 3 การก่อรา่ งแนวความคิด ขั้นท่ี 4 การสร้างตน้ แบบนวัตกรรม ข้นั ที่ 5 การทดสอบนวตั กรรมและสรุปผล ระบบการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสูตร หมายถึง วงจรการพัฒนาหลักสูตรท่ีมี ข้นั ตอนต่างๆ ทเ่ี ชื่อมโยงกนั อย่างมีเหตุมีผลและสามารถนาไปสกู่ ารสร้างสรรคน์ วัตกรรมหลกั สูตรได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตรในแต่ละลักษณะจะมีข้ันตอนในภาพรวมที่เหมือนกัน คือ ขั้นท่ี 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ข้ันท่ี 2 การยกร่างหลักสูตร ข้ันที่ 3 การนาหลักสูตรไปใช้ และขั้นที่ 4 การประเมนิ หลกั สูตร แต่การออกแบบหลกั สูตรแตล่ ะลกั ษณะมีจดุ เนน้ ของการออกแบบทแ่ี ตกตา่ งกนั
16 การออกแบบนวตั กรรมหลกั สตู ร บรรณานุกรม มารุต พัฒผล. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ลส701 กระบวนทัศนใ์ หมก่ ารพัฒนาหลกั สูตร. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์คร้ังที่ 1). กรุงเทพฯ: อรณุ การพมิ พ์ วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. (พิมพ์ครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: อาร์ แอนด์ ปรนิ ท์ จากัด. Armstrong. D. G. (2003). Curriculum Today. New Jersey: Merrill Prentice Hall. Dewey, J. (1910). How We Think. Boston: D.C. Health & co., Publishers. Frankelius, P. (2009). Questioning Two Myths in Innovation Literature. Journal of High Technology Management Research, 20(1), 40–51. Henson, K. T. (2001). Curriculum Planning: Integrating Multiculturalism, Constructivism, and Education Reform (2nded.). New York: McGraw - Hill. Horth, D. & Buchner, D. (2014). Innovative Leadership: How to Use Innovation to Lead Effectively, Work Collaboratively, and Drive Results. Greensboro: Center for Creative Leadership: Lawton, D. et al. (1978). Theory and Practice of Curriculum Studies. London: Routledge & Kagan Paul. Maryville, S. (1992). Entrepreneurship in the Business Curriculum. Journal of Education for Business, 68(1), 27–31. McKeown, M. (2008). The Truth about Innovation. London, UK: Prentice Hall. Nicholls, A. & Nicholls, A. H. (1978). Developing a Curriculum: A Practical Guide (2nded.). London: George Allen & Unwin. OECD. (1997). The Oslo Manual: Proposed Guidelines for Collecting and Interpreting Technological Innovation Data. Paris: Organization for Economic Cooperation and Development. Oliva, P. F. (2009). Developing the Curriculum. (7thed.). Boston: Allyn and Bacon. Print, M. (19793). Curriculum Development and Design (2nded.). Crows Nest NSW: Allen & Unwin. Skilbeck, M. (1976). School–Based Curriculum Development and Teacher Education. Mimeograph, OECD.
การออกแบบนวัตกรรมหลักสตู ร 17 Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York: Harcourt Brace Jovanovich. Tanner, D. & Tanner, Laurel N. (1980). Curriculum Development: Theory into Practice. (2nded.). New York: Macmillan Publishing. Tarde G. (1903). The Laws of Imitation. New York: H. Holt & Co. Tyler, Ralph W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: The university of Chicago Press. Visser, W. (2006). The Cognitive Artifacts of Designing. Lawrence Erlbaum Associates. Wheeler, D. K. (1967). Curriculum Process. London: University of London Press. Wiles, J. W. (2009). Leading Curriculum Development. California: Corwin Press. Wiles, J. W. & Bondi, C. Joseph. (2011). Curriculum Development a Guide to Practice (8thed.). Boston: Pearson.
การออกแบบนวัตกรรมหลักสูตร มีจุดมงุ่ หมายที่สาคญั ทสี่ ดุ คอื การทาให้หลักสูตรสามารถตอบสนองความ ตอ้ งการของผเู้ รียนไดส้ ูงสุด
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: