Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเทพศิรินทร์ 2564 ( E-book )

คู่มือเทพศิรินทร์ 2564 ( E-book )

Published by arachi_x-man, 2021-12-01 05:17:57

Description: คู่มือเทพศิรินทร์ 2564 ( E-book )

Search

Read the Text Version

บทกลอนรอ้ งส�ำหรับโรงเรียนเทพศริ ินทร์ เป็นลักษณะ “สยามวิเชียรฉันท์ 8” แต่งเป็นท�ำนองฝรั่ง ซ่ึงพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่น พทิ ยาลงกรณ์ (พระองคเ์ จา้ รชั นแี จม่ จรสั ) ทรงนพิ นธ์ ประทานใหต้ ั้งแต่ วนั ที่ 27 ตลุ าคม 2474 และ โปรดให้หลวงประสานบรรณวทิ ย์มาเปน็ ผ้ฝู กึ หัดนักเรียนในชนั้ ต่างๆ ร้องจนกว่าจะถูกต้องดตี ง้ั แต่วันท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2474 ตามค�ำรายงานของพระยาจรลั ชวนะเพท บทรอ้ งสำ� หรับโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ สยามวิเชียรฉนั ท์ 8 1. อ โห กุ มาร ส ถาน สิ ขา ณ เทพ ศิ รนิ ทร์ ระ บิน ระ บอื ส�ำ เนียง จำ� โนษ อุ โฆษ ก็ คือ ดรุณสยามมิขามวชิ าฯ 2. ส มญั ญ เลิศ จะ เกดิ ไฉน จะ เกดิ ณ เมอื่ อะ เคื้อ สิ ขา จะ เกดิ ณ คราว อะ ครา้ ว วิ ชา วิ ปกั ษะ ขาม ส ยาม วิ ชัยฯ 3. วิ ถี ส�ำ รวย บ่ งวย บ่ งง วิ ถี สำ� เริง บ่ เหลิง ห ทยั วิ ถี สำ� ราญ บ่ ซาน จะ ไป วิ ถี อ บาย บ่ หมาย จ�ำ นงฯ 4. วิ ชา วิ บุลย์ ด รุณ จะ เรียน ปะ เกยี รต์ิ จะ เกิด ประ เสริฐ ประ สงค์ ประ เทศ จะ งาม ส ยาม จะ ยง จะ สดุ วิ เศษ ก็ เหตุ เพราะ เพยี รฯ 5. อ โห ด รุณ จะ ครนุ่ สิ ขา อ โห กุ มาร จะ อา่ น จะ เขยี น วิ ชา จะ เทียบ จะ เปรยี บ วิ เชยี ร วิ เชยี ร ก็ ชู บ่ สู้ วิ ชาฯ 6. วชิ า ฤ แลง้ ณ แหล่งสยาม ห ทัย ะ ทัย จะ ไตร จะ ตรา ห ทัย ะ ทยั จะ ใฝ่ วชิ า วิ ชา ฤ แล้ง ณ แหล่ง สยาม 7. ณ เทพ ศิ รนิ ทร์ ณ เทพ ศิ รนิ ทร ์ ส ถาน สิ ขา สง่า พระ นาม สำ� นัก กิ ฬา ส งา่ ส นาม ณ เทพ ศิ รินทร์ ณ เทพ ศิ รินทร์ ช โย ช โย ช โย ค�ำแปลบทกลอนร้องส�ำหรับโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ 1. เดก็ ชายทั้งหลายซึง่ อยใู่ นสถานศกึ ษาแหง่ นี้ ทน่ี ี่ ทเ่ี ทพศิรินทร์ ทมี่ ชี ื่อเสยี งเป็นที่เลอื่ งลือ เสยี งทก่ี ล่าวขาน อยา่ งกกึ กอ้ งนัน้ คือเดก็ ชายชาวสยามไม่เคยย่อท้อต่อการศกึ ษาเล่าเรยี น 2. เหตใุ ดเล่าสมญานามท่ีดงี ามเช่นนจี้ งึ เกิดไดเ้ กดิ ข้นึ ไดเ้ พราะความเจรญิ งอกงามทางการศึกษาเกดิ ขึน้ เพราะ ได้การศึกษาที่นา่ ภาคภูมใิ จ เด็กชายชาวสยามจะสามารถเอาชนะคแู่ ข่งทางการศกึ ษาไดเ้ สมอจนเป็นทเี่ กรงขาม 3. มไิ ดล้ มุ่ หลงอย่กู ับความโออ่ ่า มไิ ดม้ ัวเพลินอยู่กับงการรรื่นเรงิ มิไดป้ รารถนาจะไปส่หู นทางแห่งความสุขสำ� ราญ ไม่เคยหลงผดิ ทจี่ ะสู่หนทางแหง่ ความเสอ่ื ม 4. วชิ าความรู้เทา่ น้นั ที่เราใส่ใจ เราจะสร้างเกียรตยิ ศชอ่ื เสียงใหเ้ ป็นทป่ี รากฏ ประเทศชาตจิ ะดงี ามม่ันคงและ เจริญรุ่งเรอื งได้กด็ ้วยพวกเราพากเพยี รในการศกึ ษา 5. เดก็ ชายชาวสยามจะใฝ่ใจในการศกึ ษา เราจะเพยี รเรยี นเขียนอา่ น หากจะนำ� วิชาความรูม้ าเทียบกบั เพชร เพชรกม็ ิอาจเทยี บได้กับคณุ คา่ ของความรู้ 6. เม่อื รคู้ ณุ ค่าของความรู้เช่นนี้แล้ว และเม่อื ดวงใจทกุ ดวงจดจอ่ ในการศึกษาเช่นนี้แลว้ มีหรอื ทวี่ ิชาความรู้ จะสูญสิ้นไปจากแดนสยาม 7. ทเี่ ทพศิรินทร์ ท่ีเทพศริ ินทร์แห่งน้ี สถานศกึ ษาที่เชิดชูพระนามว่าเทพศิรนิ ทร์ เป็นท่ียอมรบั ยิง่ ขึ้น สถานศกึ ษา ท่ีสร้างนกั กฬี าที่องอาจในสนามแข่งขนั ทน่ี ีเ่ ทพศริ นิ ทรท์ เี่ ทพศริ นิ ทรแ์ หง่ น้ี ขอจงรุง่ เรือง...สบื ไป หมายเหต ุ 1. ลักษณะของบทประพันธ์ คือ สยามวิเชียรฉันท์ 8 แรกเดิมท�ำนองร้องเป็นจังหวะวอลล์ ต่อมาภายหลังไดน้ ิยมร้องในจังหวะสโลว์ 2. จากบทรอ้ งนี้ เดมิ ใชค้ �ำว่า “เทพศริ ินธร์” (ตามเอกสารหนงั สอื 100 ปี เทพศิรนิ ทร์) ตอ่ มาได้มกี ารแปลงเป็น “เทพศริ ินทร”์ ตามลายพระหตั ถ์ทีพ่ ระมหาสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสได้มีถึงเจ้าพระยาสมเด็จสเุ รนทราธิบดี เสนาบดี กระทรวงกรรมการในขณะนน้ั ท้งั น้ี เพื่อใหม้ ีความหมาย พระมเหสขี องพระจอมเกลา้ แหง่ เทวดา

ค�ำนำ� คูม่ อื นกั เรียนและผปู้ กครอง ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 ฉบบั น้ี โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ร่มเกลา้ ได้จัดท�ำขนึ้ เพ่อื ใหผ้ ู้ปกครองและนักเรยี น ตลอดจนผ้ทู ่ีเกยี่ วข้องไดร้ บั ทราบขอ้ มูลเกย่ี วกับโรงเรยี น นกั เรยี นได้เรยี นรู้ ทำ� ความเขา้ ใจถงึ กฎระเบยี บข้อบังคับ และแนวปฏบิ ัตดิ า้ นการสอน รวมถึงระบบ การจดั การศึกษา หลักสตู รสถานศึกษา ขอบขา่ ยการดำ� เนนิ งานของกลมุ่ บริหารวิชาการ กลุม่ บรหิ าร งานบุคคล กลุ่มบริหารงบประมาณ และกลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในการใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติตนทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสมในโรงเรียน โรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทำ� เอกสารคูม่ อื นกั เรียนและผ้ปู กครองทกุ ท่าน ตลอดจน คณะกรรมการทีป่ รกึ ษาทท่ี �ำใหเ้ อกสารเลม่ นม้ี เี น้อื หาสมบูรณ์ (นายพทิ ักษ์ เอน็ ด)ู ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นเทพศิรินทร์รม่ เกลา้ คมู่ ือนักเรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกลา้ 1

สารบญั คำ� นำ� ประวัตโิ รงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า....................................................................................................5 ขอ้ มูลสถานศกึ ษา...............................................................................................................................6 วสิ ัยทศั น์ อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค.์.......................................................................7 แผนผงั โรงเรียน...................................................................................................................................9 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเทพศริ ินทร์รม่ เกลา้ ..................................................................... 10 ท�ำเนียบผ้บู ริหารโรงเรยี น................................................................................................................ 12 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน.............................................................................................. 13 ท�ำเนยี บฝ่ายบรหิ าร......................................................................................................................... 14 ทำ� เนยี บครแู ละบุคลากร.................................................................................................................. 15 ระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลการเรียน.......................................................................................... 27 แนวปฏิบัติวา่ ดว้ ยการวัดประเมนิ ผลการเรยี นร.ู้ .............................................................................. 28 งานทะเบียนนกั เรียน........................................................................................................................ 31 หอ้ งสมดุ โรงเรียน............................................................................................................................. 32 ห้องพยาบาล.................................................................................................................................... 33 งานแนะแนว.................................................................................................................................... 35 กลุ่มบริหารงบประมาณ................................................................................................................... 36 ระเบยี บวา่ ด้วยการไว้ทรงผมของนักเรยี น........................................................................................ 38 ระเบียบวา่ ดว้ ยเครอื่ งแบบและการแตง่ กายของนักเรยี น................................................................. 40 ตัวอยา่ งเครอื่ งแบบการแต่งกายและทรงผม.................................................................................... 45 ระเบยี บวา่ ด้วยความผดิ และการลงโทษนักเรียน.............................................................................. 49 ระเบียบว่าดว้ ยการกำ� หนดความประพฤติของนกั เรยี น.................................................................... 58 ระเบยี บวา่ ด้วยการปฏิบตั ิตนของนกั เรยี น....................................................................................... 60 โครงสร้างหลกั สตู รระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ............................................................................. 69 โครงสรา้ งหลกั สูตรระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย......................................................................... 93 ค�ำสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดทำ� คูม่ ือนกั เรยี น.. ............................................................................. 135 2 คูม่ ือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ม่ เกล้า

คค่มู มู่ ือือนนกั กั เรเรียยี นนแแลละะผผ้ปู ูป้ กกคครรอองงโรโรงงเรเรยี ยี นนเทเทพพศศริ ริ ินินททรรร์ ์รม่ ม่ เกเกลลา้ ้า 33

4 คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า

ประวัติโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ร่มเกล้า สถานท่ีตัง้ โรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์รม่ เกล้า เปน็ โรงเรียนมัธยมศกึ ษาขนาดใหญพ่ ิเศษ เปิดท�ำการเรยี นการสอน ในระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-6 (ม.1-ม.6) สังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร (ศธจ.กรุงเทพฯ) ส�ำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีเน้อื ที่ 26 ไร่ 29 ตารางวา ต้ังอยูเ่ ลขที่ 2 ซอย ไอ ซี ดี 8 แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบงั กรงุ เทพมหานคร 10520 โทร 0-2737-8918-20 โทรสาร 0-2360-9287 Website : www.dsr.ac.th การก่อต้งั โรงเรียน เม่ือวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2521 มผี ู้ทำ� หนงั สอื แสดงความจำ� นงผา่ น ฯพณฯ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ศึกษาธิการเพ่ือจะบริจาคท่ีดินจ�ำนวน 15 ไร่ ให้แก่กระทรวงศึกษาธิการเพ่ือใช้เป็นสถานท่ีต้ังโรงเรียน เทพศิรินทรแ์ ห่งที่ 2 กรมสามญั ศกึ ษา โดยคณุ หญิงบุญเลือ่ น เครอื ตาชู อธิบดีกรมสามญั ศึกษาในขณะนั้น ไดต้ อบรบั ทด่ี ินดังกล่าวตามหนังสอื ที่ ศธ.0807/33236 ลงวันที่ 21 กันยายน 2521 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดป้ ระกาศตัง้ โรงเรียนขน้ึ โดยใช้ช่ือวา่ โรงเรยี นเทพศิรินทรอ์ นุสรณอ์ ักษรยอ่ คือ ท.ศ.อ. และมเี ลขที่ประจำ� โรงเรียนท่ี ศธ.0807133 เมอ่ื วันที่ 26 มนี าคม 2522 และเม่อื วนั ท่ี 25 ธนั วาคม 2522 กรมสามัญศกึ ษามีคำ� สงั่ ท่ี 5700/2522 แต่งตงั้ นางสาวผอ่ งศรี บวั ประชุม ตำ� แหนง่ อาจารย์ 2 ระดับ 5 โรงเรียนเทพศิรินทร์ ให้ไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารคนแรกของโรงเรียนเทพศิรินทร์อนุสรณ์ ต่อมาได้เปล่ยี นชอ่ื เป็นโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกล้า อกั ษรยอ่ “ท.ศ.ร.” เป็นโรงเรยี นในเครือข่ายโรงเรียน เทพศริ นิ ทร์ (ALL DEB IN ONE) จึงถอื เอาวนั ท่ี 26 มีนาคม 2522 เป็นวนั สถาปนาโรงเรียน สาเหตกุ ารย้ายที่ตง้ั โรงเรียน ตามท่ีผู้แจ้งความจ�ำนงบริจาคที่ดินให้กระทรวงศึกษาธิการเพื่อจัดต้ังโรงเรียนเทพศิรินทร์อนุสรณ์ นน้ั ปรากฏวา่ ทางกรมสามญั ศึกษาไม่สามารถที่จะนำ� งบประมาณการกอ่ สร้างเข้าไปได้ เน่ืองจากไมม่ ีถนน เขา้ - ออก ถึงบริเวณทดี่ ินแต่การด�ำเนินการก่อสร้างอาคารเรยี น จะตอ้ งด�ำเนนิ การใหท้ ันปงี บประมาณ 2523 ไมเ่ ชน่ น้นั แล้วงบประมาณทไ่ี ด้มาจะถกู เรยี กคืน ดงั น้ันเมอ่ื วันท่ี 27 กรกฎาคม 2523 นางเนยี น ชื่นชม ผูซ้ ึ่งเห็นใจต่อปัญหาของโรงเรียนเปน็ อย่างมาก ทา่ นจงึ มีกศุ ลจติ มาแสดงความจำ� นงผ่านโรงเรียน เทพศิรนิ ทรอ์ นสุ รณ์ บรจิ าคทดี่ นิ จ�ำนวน 10 ไร่ (ทต่ี ง้ั โรงเรยี นในปจั จบุ ัน) ให้กบั กรมสามญั ศึกษาเพื่อ จัดสรา้ งโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์อนุสรณเ์ ทา่ นนั้ และทางกรมสามญั ศกึ ษาก็ไดต้ อบรบั ท่ีดินดังกลา่ วตามหนงั สอื ท่ี ศธ.0807/28100 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2523 ทด่ี ินสว่ นท่ีเหลือกย็ นิ ดีจะขายให้กบั โรงเรยี นเพอ่ื ขยาย บริเวณในราคาถูก คู่มือนักเรียนและผูป้ กครองโรงเรียนเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกลา้ 5

ข้อมูลสถานศกึ ษา 1. ชอ่ื โรงเรยี น เทพศริ ินทร์ร่มเกลา้ 2. อักษรย่อ ท.ศ.ร. 3. สถานทีต่ ้ัง 2 ซอย ไอ ซี ดี 8 แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 โทรศัพท์ 02 737 8919 – 20 โทรสาร 02 360 9287 โทรศัพท์ 02 737 8914 กลุม่ บรหิ ารวิชาการ โทรศัพท์ 02 737 8915 กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล (งานปกครอง ) โทรศัพท์ 02 737 8918 งานประชาสมั พนั ธ์โรงเรยี น โทรศัพท์ 02 360 9287 กล่มุ บรหิ ารทว่ั ไป 4. ประเภทโรงเรยี น สหศกึ ษา 5. สงั กัด สำ� นักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 กระทรวงศึกษาธกิ าร 6. วันสถาปนา 26 มีนาคม 2522 7. พระพุทธรปู ประจำ� โรงเรียน พระพุทธมงคลศึกษาประชานารถ 8. สีประจำ� โรงเรยี น สี เขียว เหลอื ง - สเี ขยี ว หมายถึง สขี องใบรำ� เพย เป็นสปี ระจำ� วนั พฤหัสบดี ตามตำ� ราพิชัยสงคราม - สีเหลอื ง หมายถงึ สีของดอกรำ� เพย 9. ตน้ ไมป้ ระจ�ำโรงเรยี น ต้นร�ำเพย 10. ค�ำขวัญโรงเรยี น บุคลกิ ภาพดี มีน�ำ้ ใจ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนใผ่รู้ เชิดชูสถาบนั 11. ปรัชญาของโรงเรียน “ สโุ ข ปญญฺ าปฏิลาโภ ” การได้ความรู้เป็นเหตุนำ� สขุ มาให ้ 12. คตพิ จนป์ ระจำ� โรงเรียน “ น สิยา โลกวฑฺฒโน” ไม่ควรเป็นคนรกโลก 13. สัญลักษณ์ประจ�ำโรงเรียน - ดวงอาทติ ยท์ อแสง หมายถึง “ภานุรังษี” หรือแปลว่าแสงตะวนั อันเปน็ พระนามของ สมเดจ็ พระราชปติ ลุ าฯ ซึง่ ทรงมสี ่วนในการ ก�ำเนิดตกึ แม้น - อักษร ม. หมายถึง “แม้น” นามของหมอ่ มในสมเด็จพระราชปิตลุ าฯ ไดอ้ ทุ ศิ กุศลแก่หมอ่ มแมน้ - ช่อดอกรำ� เพย หมายถงึ “พระนามของสมเดจ็ พระเทพศริ ินทรา บรมราชิน”ี ( พระนางเจ้ารำ� เพย ภมราภิรมย์ ) สมเดจ็ พระบรมราชินี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั - รวงข้าว หมายถึงโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกล้า ได้มาตั้งอยบู่ นผืนที่นา ของนางเนยี น ช่นื ชม ผบู้ รจิ าคที่ดินให้แกโ่ รงเรยี น 14. ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น นายพิทักษ์ เอน็ ดู 6 ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ม่ เกล้า

วิสยั ทัศน์ : โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกลา้ จดั การศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เป็นสากล บนพนื้ ฐาน ความเปน็ ไทย ภายในปี 2566 อตั ลักษณ์ : แต่งกายด ี มมี ารยาทงาม เอกลกั ษณ์ : โรงเรียนคณุ ธรรม พนั ธกจิ 1. ส่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรียนใหม้ คี วามเป็นเลศิ ตามความถนดั เต็มตามศักยภาพของผู้เรยี น 2. พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาและจัดการเรียน การสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำ� คญั 3. สง่ เสริมให้ผู้เรยี นเป็นผ้ปู ระพฤติดี มีความรู้ ทกั ษะ กระบวนการและสมรรถนะส�ำคญั ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 4. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และรกั ษ์ความเป็นไทย 5. ส่งเสรมิ ครูให้มีการผลติ และใช้สือ่ เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน เทยี บเคยี ง มาตรฐานสากล 6. สง่ เสรมิ ครแู ละบุคลากรใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม และประพฤติปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชพี 7. พฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ าร และจดั การศกึ ษาดว้ ยระบบคณุ ภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล 8. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีความหลากหลาย และตอบสนอง ต่อการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น เปา้ ประสงคข์ องโรงเรยี น 1. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การสง่ เสริมความเปน็ เลิศตอบสนองต่อความถนดั เตม็ ตามศักยภาพ 2. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และสมรรถนะส�ำคญั ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและ เทียบเคยี ง มาตรฐานสากล 3. ผู้เรียนมคี วามรบั ผิดชอบ มีวนิ ยั มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4. ครจู ัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำ� คญั ผลติ สอ่ื เทคโนโลยีที่เอือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรู้ เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล 5. ครูและบุคลากรมคี ุณธรรม จริยธรรม และประพฤติปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 6. สถานศึกษามีการบรหิ ารจดั การศกึ ษาด้วยระบบคุณภาพ มีการกระจายอ�ำนาจ และการมีสว่ นรว่ ม 7. สถานศึกษาพัฒนาส่ือ เทคโนโลยแี ละแหลง่ เรียนรู้ ทเ่ี ออ้ื ต่อการพฒั นาผูเ้ รยี น คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า 7

กลยทุ ธ์ กลยุทธท์ ่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอน โดยเน้นผ้เู รียนเปน็ สำ� คัญเทยี บเคยี ง มาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นให้มีระเบยี บวินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และค่านยิ มของโรงเรียน กลยทุ ธ์ท่ี 3 พฒั นาส่ือและเทคโนโลยี สารสนเทศ เพอ่ื การเรยี นรู้ กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาศักยภาพครแู ละบุคลากรเทียบเคยี งมาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาคณุ ภาพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การตามหลักธรรมาภิบาล ด้วยการกระจายอำ� นาจและการมสี ว่ นร่วม กลยุทธท์ ี่ 6 พัฒนาอาคารสถานท่ี สภาพแวดลอ้ มให้เป็นแหลง่ เรียนรทู้ ส่ี �ำคัญต่อการพัฒนาคณุ ภาพ ของผู้เรียน 8 คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า

แผนผังโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกล้า คู่มอื นกั เรยี นและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกลา้ 9

10 คู่มอื นักเรียนและผูป้ กครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ่มเกลา้

ทำ� เนียบผ้บู ริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ท�ำเนยี บฝ่ายบรหิ าร ทำ� เนียบครูและบคุ ลากร คมู่ ือนกั เรียนและผ้ปู กครองโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกล้า 11

ทำ� เนียบผูบ้ ริหาร โรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ม่ เกล้า นางสาวผอ่ งศรี บวั ประชมุ นายอำ� นวย ทวั่ ทพิ ย์ นายบุญเลิศ อุดมพันธ์ พ.ศ.2522 - พ.ศ.2533 พ.ศ.2533 - พ.ศ.2535 พ.ศ.2535 - พ.ศ.2536 นายเกรียงศักด์ิ กำ� เนิดเหมาะ นายประทุม นวลเขียว นายมโน อภินเิ วศ พ.ศ.2536 - พ.ศ.2540 พ.ศ.2540 - พ.ศ.2541 พ.ศ.2541 - พ.ศ.2542 นางออ่ งจิต เมธยะประภาส นายนิพนธ์ นุตพงษ์ นายวศิ ลั ย์ โกมุทพงศ์ พ.ศ.2542 - พ.ศ.2542 พ.ศ.2542 - พ.ศ.2543 พ.ศ.2543 - พ.ศ.2545 นายโกศล พละกลาง นายคณสิ ร เยน็ ใจ นายธงชยั นยิ โมสถ พ.ศ.2545 - พ.ศ.2549 พ.ศ.2549 - พ.ศ.2552 พ.ศ.2552 - พ.ศ.2557 นายมงคล ชูวงษว์ ัฒนะ นายประสงค์ สบุ รรณพงษ์ นายพทิ กั ษ์ เอ็นดู พ.ศ.2557 - พ.ศ.2559 พ.ศ.2559 - 2561 พ.ศ.2561 - ปัจจุบัน 12 คูม่ อื นกั เรียนและผ้ปู กครองโรงเรยี นเทพศิรินทร์ร่มเกลา้

คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานโรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์รม่ เกล้า นายมงั กร กลุ วานิช ประธานกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน นายประทมุ นวลเขียว นายสุรพล พาลี นายวรี ะศกั ด์ิ ศรีสังข์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ นายโสภณ ผลสขุ การ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์จันจริ า นายบญั ชา เหลา่ อดุ มกลุ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ (จิตตะวริ ิยะพงษ)์ จันทรเ์ จรญิ สุข ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ นายสะอาด ยดิ นรดิน นายแอ อุดมสนิ นายสรรพวัต ขาวสบาย นายธนะสิทธ์ิ เมธพนั ธเ์ มอื ง ผู้แทนองคก์ รศาสนา กรรมการ ผแู้ ทนองค์กรศาสนา กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ ผู้แทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กรรมการ จ่าสบิ เอก หญงิ แสงเดอื น วิเลสตู ร นายประสาน บญุ รัตน์ นายกฤตภพ ทับทิมพัชรากร นายพทิ กั ษ์ เอน็ ดู ผู้แทนศิษยเ์ ก่า กรรมการ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ ผูแ้ ทนครู กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยกกรารรมโกรงาเรรแียลนะเเทลพขศานิรนิกุ ทารร์รม่ เกล้า คูม่ ือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ่มเกล้า 13

ทำ� เนยี บฝ่ายบริหาร นายพทิ ักษ์ เอ็นดู ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นเทพศิรนิ ทรร์ ม่ เกลา้ นางสาวอนงคน์ าฏ ชนู ันทธ์ นศักดิ์ นางสาวปราณี นลิ เหม นายวจิ กั ษ์ ดษิ ฐใจเย็น รองผูอ้ ำ� นวยการสถานศึกษา รองผูอ้ �ำนวยการสถานศึกษา รองผอู้ �ำนวยการสถานศึกษา 14 คมู่ ือนักเรยี นและผ้ปู กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกลา้

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย นางประไพ คนติ านนท์ นางทัศนยี ์ ดาหาญ นางน้อมนุช ประเสรฐิ โกศลกลุ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย นางกองเงิน จันทาทมุ นางสาวสุกานดา สายวารี นางนิธวิ รรณ ชรากาหมดุ นางสาวภัสสร หมัน่ ตะคุ นางสาวภารดี ปัญญาใส นางสาวอัมรินทร์ เขียววงศใ์ หญ่ นางสาวนิศารตั น์ พันธโ์ สรี นางสาวสุภาลกั ษณ์ ต่อปี นางสาวปารวี วนิ ทะไชย์ นางสาวศริ ินารถ พรหมลา นางสาวสุนสิ า แกว้ พินิจ นางสาวสุวนันท์ ถนอมดำ� รงศกั ดิ์ คมู่ อื นักเรยี นและผ้ปู กครองโรงเรยี นเทพศิรินทร์ร่มเกล้า 15

กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ นางสาวธิดารตั น์ ตาปราบ นางถริ นนั ท์ ภูถอดใจ นางสาวตวงพร พมุ่ เสนาะ นางปาณีต บุญเหลือง หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ นายสากล คำ� ทมุ นางสาวฉตั รวไิ ล เป่ียมทอง นางสาวสมใจ จันทรังษี นางสาวนรสิ า สมราชา นายพัฒนพงษ์ ลมิ้ ชวลิต นางสาววรารัตน์ แสงสุข นายสมบุญ กาเมอื ง นางสาวพัชรี สุขสำ� ราญ นายมนเฑยี ร บญุ ประเสริฐ นางสาวลฎาภา รอไธสง นางมณนี ุช คชพันธ์ นางสาวรัตนา สารชาติ นางสาวนพรตั น์ สงวนทรัพย์ นางสาวภณั ฑิรา หมน่ั เหมาะ นายโรมรนั เพลิศฤทธิ์ นายวรวิช ก�ำจร นางสาวสุนารี เปลง่ นอก นางณฏั ฐาภรณ์ มหาพรม 16 คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาวปณั ฑติ า น้อยผาติ นายไชยจติ ร ศรมี ลุ นางสาวสุภทั ราภรณ์ เบ็ญจวรรณ์ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ นายทยากร สุขขวญั นายวิศิษฏ์ หนาแน่น นางเมธาวี สขุ ขวัญ นายพงศกร นาคไทย นายณฐั พล สิทธิกุล นายธติ ณิ ัฐ แก้วบญุ เรอื ง นางสาวสกุ ญั ญา คามวัลย์ นางสาวสภุ าพร รักดว้ ง นางสาวชลธิชา ศรเี อ่ียม นางสาวกฤษณา นอ้ ยอามาตย์ นายนพรตั น์ สุนทรชรี ะวทิ ย์ นางจิดาภา สพุ รรณชนะบุรี คู่มือนักเรียนและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ม่ เกลา้ 17

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายทิวากร แกน่ ษา นายฐาปกรณ์ ศรียะนยั นางสาวพรรวินท์ บุญมพี พิ ิธ นางสาวสภุ าดา เจยี นงาม นางสาวพรพมิ ล ภูสไี ม้ นายวิศรุต พ่วงแสงสขุ นางสาวเพญ็ นภา เพ็งบญุ โสม นางสุภาพร กิจวานิชชัย นางสายชล ธนานวุ งศ์ นางสาวลัดดาวัลย์ พพิ ธิ กุล นางสาวพรเพญ็ ตตยิ สกุลเลศิ นางยภุ าพร บษุ ยเหม นางสาวสุจนิ ดา คุ้มตลอด วา่ ท่ีร.ต.มหาดไทย บุษยเหม นางสาวรตั นมณี แสงอรณุ นางสาวอภัสรา อตุ ระธยิ างค์ 18 คู่มอื นกั เรียนและผูป้ กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า

กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม นางสาวดวงใจ เพชรสารพรม นางใกล้รงุ่ สิรมิ ีนนนั ท์ นางสาวธดิ ารัตน์ มีเพียร นางสาวสพุ ินิจ อตั มาตร หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นายกฤษฎา สงั วรณ์ นายชาตรี โพธิ์ดก นางสาวชชั รวี ธรรมเกษตรศรี นายพชร สายรตั น์ นายทวีพล สารินทรานนท์ นายกันตพงศ์ ก้อนนาค นางสาวชนกนาถ สมสอาด นายฐาปนศักดิ์ อภบิ าล นางวันดี สมพทิ ยาธร นางสาวสุภรศั ม์ิ สืบกระพนั ธ์ นางสาวกติ ิยวดี อุทรกั ษ์ นายวรี ะพงษ์ กนั ภยั นายอาซวู นั บากา นางสาวญาณภา ผู้มีธรรมธนโชติ คมู่ ือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า 19

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นายวนั ชัย ดเี สมอ นายสวุ ทิ ย์ รจนาสันห์ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา นางนิสาชล เอ้กันหา นายกฤตภพ ทบั ทมิ พัชรากร นางสวี ลฟี าตีมา จนั ทรท์ อง ว่าท่ีร.ต.หญิงสายไหม เอือ้ เฟือ้ นางสาววันวิสาข์ วงศพ์ ยัคฆ์ นายศิรวทิ ย์ เชอ้ื สูง นายวฒุ ิไกร ขนั แก้ว นายคุณานนต์ ตนั เจริญสขุ นายชนะชล ศรมี ีชัย 20 คมู่ ือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกล้า

กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี นางสาวอารียอ์ ร ขนั สาคร นายสะอาด ยดิ นรดิน นางสาวประทิน ตรีถัน หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี นายสุพจน์ ดีคาร นางรตั นาภรณ์ วชริ ญานนท์ นางวฒั นา เหมโยธนิ วัฒนา นางสาวเขมจิรา รววี ารษ์ นางสาวลินิน แสนปลม้ื นายเกยี รตศิ กั ด์ิ โคกลอื ชา นางสาวชตุ ิมา จะบัง นางสาวยพุ าภรณ์ สีวกิ ะ นางสาวธิตพิ ร นลิ สาขา คู่มือนกั เรยี นและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ม่ เกลา้ 21

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ นายศักดิ์ชยั ชรากาหมดุ นายค�ำรพ ผลถาวร หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ นายสันติ วิชาเดช นางนุชรยี ์พร วชิ าเดช นางวิรลั รุ้ง ไชยเลิศ นายภัทรพงษ์ จิตบรรจง นางสาวญาดา โพธสิ าขา นางสาววณิชวรรณ รตั นจารพุ ทิ ักษ์ นางสาวภคมน นิธศิ วรดา นายสรุ เกยี รติ สโรบล นายปองพล ทพิ ย์สันเท๊ยี ะ 22 ค่มู อื นกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกลา้

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ นางสาวกรณก์ นั ต์ คล่องแคล่ว นางสาวนนั ทนา นนั ทภทั รพานชิ นางศุกนั ญา หาญเสนา หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ นายอนุชิต ผิวขำ� นายสรศักดิ์ เจรญิ การคา้ นางสาวสริ พิ ร เฉลิมชตุ ิเดช นางสาวพชิ านี ภควโิ รจน์กุล นายวรี ะพงษ์ วรรณยศ นางสาวชนกานต์ ศิรนิ กิ ร นางสาวณธั นันฌ์ ธนฉตั รญรตั น์ นางสาวรุง่ นภา ตันหราพนั ธ์ุ นางสาวดรณุ ี แพงพิมาย นางสาวอภญิ ญา อตุ มะชะ นางสาวสพุ รรณี หนูประโคน นางสาวนสุ บา นพศริ ิ นางสาวลาวัณย์ แสงเย็นพนั ธ์ุ นายสรร เจษฎาโชคอุดม นางสาวธนัญชนก พลาวุธ นางสาวณัชชา วิริขิตกุล นางสาวทพิ าพร บางทราย นางสาวภัชรี เกตุชาติ คมู่ ือนักเรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรินทร์รม่ เกล้า 23

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น นายพชร สายรัตน์ นางสาวเพียงใจ ดีคาร นางศรโี สภา พลธนู หัวหนา้ กล่มุ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น นางกมลทพิ ย์ ทวีชัยนกุ ูลกจิ นางสาวภัทรชนน คมุ้ ครอง นางสาวกนกวรรณ เรอ่ื สีจนั ทร์ ส�ำนักงาน นางสาวสมลกั ษณ์ พลอยสงั วาลย์ นางสาวกฤษณา เจยี มกิจรงุ่ นางสาวกนษิ ฐา ปานสงั ข์ นางสาวพิรานันท์ สถานทรัพย์ นางสาวศริ ิวรรณ งามดอกไม้ 24 คมู่ ือนกั เรยี นและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ร่มเกล้า

ครอู ตั ราจ้าง นายเกรยี งไกร ปะโมทาติ นางสาวณฐั ชาวรนิ ทร์ บุสำ� โรง เจ้าหน้าท่สี �ำนักงาน นางสาวประภัสสร จตั ุรัส นางสาวกรวรี ์ วงศส์ วุ รรณ นางสาวไอสุรีย์ สขุ พรหม นายอทิ ธิวฒั น์ ปัดทุม นางฌาฐกิ าญจน์ แสงไวโรจน์ นางสาวกญั ญารัตน์ พงษส์ นิท นางคทั ยะวรรณ เสมาสงู เนนิ นางสาวพนิดา ไตรสิกขา นางสาวมนั ญารตั น์ บญุ พันธ์ นางสาวอภปิ ภา สเี นหันหา คู่มอื นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ ินทร์รม่ เกลา้ 25

ลูกจ้างประจำ� (นักการภารโรง) นายชาญ แตงหอม นางสมเวียง สริ วิ รพนั ธ์ ลกู จา้ งชวั่ คราว นายหวนั เจียกขจร นางบุญสม ศรีสงคราม นายหมนุ ชนุ สาย นางสาวจินตนา จริ วฒั น์วาทนิ นางสาวสมจิตต์ เจยี กขจร นางสาวอไุ ร ดรพลก้อม นางจำ� ปา สขุ นางบุญเทอื น เกดิ แกว้ นายธงชยั จานโต นายชลินธุ บญุ จนั ทร์ นายยอดรกั จ้ยุ ลี นายศรายทุ ธ์ เม้ยนรทา นายอภริ ักษ์ ร่ืนกล่ิน นายกก การภกั ดี นายปะณี ชน่ื จนั ทร์ นางปราณี เจียกขจร นางก๋องคำ� แกว้ ปญั ญา นางสาวบรรจง กลบี พฒุ นางทองสา สกลุ ตรวจมรรคา นางสาวมณฑา นม่ิ แสง 26 คู่มอื นักเรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ร่มเกล้า

ระเบียบการวดั และประเมนิ ผลการเรียน เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1) ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพน้ื ฐานและเพิ่มเติม โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน 66 หน่วยกติ และรายวชิ า เพิม่ เตมิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำ� หนด 2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพม่ิ เติมไมน่ ้อยกวา่ 11 หน่วยกติ 3) ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี สถานศึกษาก�ำหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษา 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษาก�ำหนด เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1) ผเู้ รียนเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานและเพม่ิ เตมิ โดยเป็นรายวิชาพน้ื ฐาน 41 หน่วยกติ และรายวิชา เพ่ิมเติมตามที่สถานศึกษากำ� หนด 2) ผู้เรยี นตอ้ งไดห้ น่วยกติ ตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า 77 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพนื้ ฐาน 41 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมไมน่ ้อยกวา่ 36 หนว่ ยกติ 3) ผู้เรยี นมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศึกษากำ� หนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก�ำหนด 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษาก�ำหนด คูม่ ือนักเรียนและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า 27

แนวปฏิบัติว่าดว้ ยการวดั ประเมินผลการเรียนรู้ ตามระเบยี บการวัดและการประเมนิ ผล การเรียนรู้ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเทพศริ ินทรร์ ่มเกลา้ 1. สัดส่วนคะแนนระหวา่ งเรยี นกับคะแนนปลายภาค - กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย สงั คมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และภาษาตา่ งประเทศ มสี ดั สว่ นคะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค เปน็ 80 : 20 - กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และสุขศึกษาและพลศึกษา มีสัดส่วน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค เป็น 90 : 10 2. สดั สว่ นคะแนนระหวา่ งเรยี น/ปลายภาค กลมุ่ สาระการเร ยี นร ู้ สคอะบแกนลนากงภ่อนาค ระคหกะลแวานา่ งนงภสเารอคยีบน คสะอแบนกนลสาองบภหาลคงั ปลายภาค คะ(แ1น0น0เ)ตม็ ภาษาไทย 30 20 30 20 100 คณติ ศาสตร์ 30 20 30 20 100 วทิ ยาศาสตร์ 30 20 30 20 100 ภาษาต่างประเทศ 30 20 30 20 100 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 30 20 30 20 100 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 50 - 40 10 100 ศิลปะ 50 - 40 10 100 การงานอาชีพและเทคโนโลย ี 50 - 40 10 100 3. ค่าเปา้ หมายคะแนนระหว่างเรยี นที่นกั เรียนควรทำ� ได้ กลมุ่ สาระการเร ยี นร ู้ ส คอ ะ บ แก น ลน า กง ภอ่ นา ค รคะกะหลแวานงนา่ ภสงาอเครบยี น คสะอแบนกนล สาองบภหาลค งั รเวปมา้ คหะมแานยน ภาษาไทย 21 10 21 52 คณติ ศาสตร ์ 21 10 21 52 วิทยาศาสตร ์ 21 10 21 52 ภาษาต่างประเทศ 21 10 21 52 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 21 10 21 52 สุขศึกษาและพลศึกษา 35 - 28 63 ศิลปะ 35 - 28 63 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 35 - 28 63 28 คูม่ ือนักเรยี นและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า

4. การประเมนิ ทบทวนคะแนนระหว่างเรียน - กรณนี ักเรยี นทำ� คะแนนระหวา่ งเรยี นตามตวั ชวี้ ัดได้ไมถ่ ึง 70% ของคะแนนตวั ชว้ี ดั นั้น นักเรียน สามารถด�ำเนนิ การร้องขอ ให้มกี ารวัดและประเมนิ ผลตามตวั ชว้ี ดั ท่ีไมถ่ ึง 70% นัน้ ได้ไมเ่ กนิ 1 ครัง้ - ถา้ นกั เรยี นท�ำคะแนนระหว่างเรยี นตามตวั ชี้วดั ไดไ้ ม่ถงึ 70% ของคะแนนตวั ชี้วัดน้ัน ครผู ูส้ อน สามารถแกไ้ ขคะแนนระหว่างเรยี นได้เลย - คะแนนสอบกลางภาค ถา้ นกั เรยี นทำ� คะแนนการสอบกลางภาค ได้ไม่ถึงคร่ึงหนง่ึ ของคะแนนเต็ม ครผู ูส้ อนสามารถซ่อมเสรมิ ปรับคะแนนได้ไมเ่ กิน 50% การสอนซอ่ มเสรมิ ระหวา่ งเรียน กรณีนกั เรียนมีผลการประเมนิ ตวั ชวี้ ัด/มาตรฐานการเรียนรู้ ไม่ผา่ น 50% ของคะแนนตวั ช้ีวดั นน้ั ครูผู้สอนต้องสอนซอ่ มเสริมตวั ช้ีวัดนัน้ และใหผ้ เู้ รยี นประเมินผลการเรียนใหม่ การแจ้งคะแนนระหว่างเรยี นใหผ้ ู้ปกครองรบั ทราบ เป็นหนา้ ทคี่ รูผูส้ อนต้องแจ้งคะแนนระหว่างเรียนรวมของนักเรยี นให้ผ้ปู กครองรับทราบ ดงั นี้ ครง้ั ท่ี 1 แจง้ คะแนนระหวา่ งเรยี นรวมกอ่ นการสอบและกลางภาค อยา่ งน้อย 1 สปั ดาห์ ครง้ั ท่ี 2 แจง้ คะแนนสอบกลางภาค (5 กลุม่ สาระการเรยี นรูห้ ลัก) หลังสอบกลางภาค 1 สปั ดาห์ ครงั้ ท่ี 3 แจ้งคะแนนระหวา่ งเรยี นรวมกอ่ นสอบปลายภาค อยา่ งนอ้ ย 1 สัปดาห ์ วธิ ีการแจ้งคะแนน มดี งั น้ี 1. หนงั สอื แจง้ ผ้ปู กครอง 2. จดหมายลงทะเบียน (EMS) 3. ทางระบบอนิ เตอรเ์ น็ต การควบคมุ คุณภาพขอ้ สอบ 1. ก�ำหนดหัวขอ้ ความของแบบทดสอบ ใหเ้ ป็นรปู แบบเดยี วกนั ตามที่โรงเรียนกำ� หนดและระบุตวั ชวี้ ัดให้ชัดเจน 2. ให้ครูประจ�ำวิชาผู้ออกข้อสอบต้องมีคณะกรรมการตรวจ/ทาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้น้ัน ๆ ลงลายมือชอื่ รับรองอยา่ งนอ้ ย 3 คน 3. ใหส้ ง่ แบบทดสอบก่อนการสอบกลางภาค/ปลายภาค 3 สัปดาห์ เพ่ือใหค้ ณะกรรมการจัดท�ำ ข้อสอบ กลมุ่ บรหิ ารวิชาการด�ำเนนิ การตรวจ/พิจารณาก่อนดำ� เนนิ การอดั สำ� เนา 4. ข้อสอบให้เนน้ การคดิ วิเคราะห์ การประกาศผลสอบปลายภาค - หลังจากครูประจ�ำวิชากรอกคะแนนสอบใน SGS เสร็จแล้ว ก�ำหนดให้ตรวจทานและแก้ไข คะแนนให้เสรจ็ ภายใน 2 วัน โดยใชห้ อประชมุ อเนกประสงค์ คู่มือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ่มเกล้า 29

การเปลยี่ นแปลงผลการเรยี น 0 1. ครผู ู้สอนตอ้ งสอนซอ่ มเสรมิ ในตวั ช้ีวดั ทผ่ี เู้ รียนสอบไม่ผา่ นแลว้ จงึ สอบแกต้ ัว 2. การสอบแก้ตวั ใหส้ อบได้ไมเ่ กนิ 2 คร้ัง 3. ถา้ สอบแกต้ วั ครบ 2 ครั้ง ยังไดผ้ ลการเรยี น 0 โรงเรียนจัดต้ังคณะกรรมการพจิ ารณา 3.1 ถ้าเปน็ รายวิชาพืน้ ฐานใหเ้ รียนซ�ำ้ รายวิชานัน้ 3.2 ถ้าเป็นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ใหเ้ รียนซำ�้ รายวิชาน้นั หรือเปล่ยี นรายวชิ าใหม่ การให้ผลการเรียน “ร” และการเปลีย่ นผลการเรียน ร” “ร” หมายถงึ รอการตัดสินหรือยงั ตดั สินผลการเรียนไมไ่ ด้ ดว้ ยสาเหตุ 2 ประการ คอื 1. ไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรียน/ปลายภาคเรียน 2. ไมไ่ ดส้ ่งงานที่มอบหมายให้ทำ� ซ่ึงงานนั้นเป็นส่วนหนึง่ ของการตัดสินผลการเรียน * ใหผ้ ู้เรยี นดำ� เนินการแก้ “ร” ตามสาเหตุ เม่อื ผู้เรียนแก้ไข “ร” เสรจ็ แลว้ ใหไ้ ดร้ ะดับผลการเรยี น ตามปกติ (ต้ังแต่ 0 – 4 ) * ถ้าผูเ้ รียนไมด่ ำ� เนนิ การแก้ไข “ร” กรณที ี่สง่ งานไมค่ รบแตม่ ีผลการประเมนิ ระหวา่ งภาคเรียนและ ปลายภาค ใหผ้ ูเ้ รียนน�ำข้อมลู ท่มี อี ยตู่ ดั สินผลการเรยี น ยกเว้นมเี หตุสดุ วิสยั ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษา ทจ่ี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรยี น สำ� หรับภาคเรยี นท่ี 2 ตอ้ งดำ� เนนิ การให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศกึ ษานน้ั เมอ่ื พน้ กำ� หนดนี้แลว้ ให้เรยี นซำ�้ หากผลการเรยี นเป็น “0” ให้ดำ� เนินการแกไ้ ข ตามหลกั เกณฑ์ มาตรการการป้องกันการติด “ร” * กรณีทนี่ ักเรียนไม่ได้วัดผลระหว่างภาคเรยี นหรือไม่ส่งงาน ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายโรงเรยี นจะมกี ารแจ้ง คะแนนเกบ็ ก่อนการสอบ 2 สปั ดาหใ์ หผ้ ้ปู กครองทราบ เพอ่ื นกั เรียนจะได้ดำ� เนินการแกไ้ ขก่อนการสอบ กลางภาค /ปลายภาค การใหผ้ ลการเรียน “มส” และการเปล่ยี นผลการเรียน “มส” - ครผู ูส้ อนตอ้ งเชค็ ชื่อนักเรียนทุกคร้งั ทเี่ ขา้ สอน ถ้ามกี ารขาดเรยี นเกนิ 3 ครงั้ ใน 1 สปั ดาห์ และ 7 วนั ใน 1 เดือน ตอ้ งแจง้ ให้ผู้ปกครองทราบและมีหนงั สอื เชญิ ผู้ปกครองใหม้ าพบ - กรณเี วลาเรยี นถงึ 60% แตไ่ มถ่ ึง 80% ให้ครผู สู้ อนสอนเพ่ิมเตมิ ให้ถงึ 80% ในชั่วโมงซอ่ มเสริม หรือเวลาว่างหรอื มอบหมายงานให้ทำ� จนมเี วลาครบตามที่กำ� หนดไว้ส�ำหรับรายวชิ าน้ัน จงึ ให้วดั ผลปลาย ภาคเป็นกรณพี เิ ศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดบั ผลการเรยี นไมเ่ กนิ “1” การแก้ “มส” กรณนี ใี้ หก้ ระทำ� ใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานน้ั ถา้ ผู้เรียนไม่มาด�ำเนนิ การแก้ “มส” ตามระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไวใ้ ห้เรียนซ้ำ� ยกเวน้ มเี หตุสตุ วิสัยให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาที่จะ ขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอกี ไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน แต่เมื่อพน้ ก�ำหนดนี้แล้วให้ปฏบิ ัติดงั น้ี 30 คมู่ ือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทรร์ ่มเกลา้

1. ถ้าเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน ให้เรยี นซ้�ำรายวชิ านั้น 2. ถา้ เปน็ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษา ให้เรยี นซ�ำ้ หรือเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ 3. กรณผี ้เู รียนได้ผลการเรยี น “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรยี นทั้งหมด ใหส้ ถานศกึ ษาด�ำเนนิ การดงั นี้ 3.1 ถ้าเป็นรายวิชาพน้ื ฐานให้เรียนซ้ำ� รายวชิ านน้ั 3.2 ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาให้เรียนซ�้ำหรือเปล่ียนรายวิชา เรียนใหม่ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียน วา่ เรยี น แทนรายวชิ าใด การเรยี นซ�้ำรายวชิ าหากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและ สอบแก้ตัว 2 คร้ังแล้วไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้เรียนซ�้ำรายวิชานั้นทั้งนี้ให้อยู่ใน ดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดให้เรียนซ้�ำ ในช่วงใดช่วงหน่ึงท่ีสถานศึกษาเห็นว่า เหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วนั หยดุ ช่ัวโมงหลังเลกิ เรยี น เปน็ ต้น การใหผ้ ลการเรยี น “มผ” และการเปล่ยี นผลการเรียน “มผ” - กรณเี วลาเรยี นถงึ 80% ให้ครผู ู้สอนสอนเพ่มิ เติมใหถ้ ึง 80% ในช่วั โมงซอ่ มเสรมิ หรือเวลาวา่ ง หรอื มอบหมายงานใหท้ �ำ จนมเี วลาครบตามทก่ี �ำหนดไวส้ �ำหรบั รายวชิ านนั้ จึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณี พเิ ศษ ผลการแก้ “มผ” เปน็ “ผ” - กรณีทนี่ กั เรยี นทำ� กิจกรรมใดไม่ผา่ นใหด้ ำ� เนินการแก้ตามกจิ กรรมนั้น การแก้ “มผ” กรณีนี้ให้กระท�ำให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาด�ำเนินการ แก้ “มผ” ตามระยะเวลาทก่ี ำ� หนดไวใ้ หเ้ รยี นซ�ำ้ ยกเว้นมเี หตสุ ตุ วสิ ัยให้อยใู่ นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาที่ จะขยายเวลาการแก้ “มผ” ออกไปอีกไมเ่ กิน 1 ภาคเรยี น ส�ำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำ� เนนิ การให้เสร็จส้นิ ภายในปกี ารศึกษานนั้ งานทะเบียนนักเรยี น ระเบยี บการขอเอกสารหลักฐานทางการศกึ ษา 1. เขียนใบค�ำร้องขอหลกั ฐานทางการศึกษา 2. แนบรูปถ่ายครึง่ ตัว หนา้ ตรง ถ่ายไมเ่ กนิ 6 เดอื น ขนาด 1.5 น้วิ หรือ 2 นวิ้ 2.1 ผทู้ ่ีจบการศึกษาแล้ว ใช้รปู ถา่ ยปจั จบุ ัน สวมเส้อื เชิ้ตสขี าวคอปก ไม่มลี วดลาย และไมส่ วม เครอ่ื งประดบั 2.2 นักเรยี นปจั จุบนั ใช้รูปถา่ ยสวมเครอื่ งแบบนกั เรียนท่ีถกู ต้อง ตามกฎระเบยี บของโรงเรียน 3. รบั เอกสาร/หลกั ฐานภายหลังวันทย่ี นื่ คำ� รอ้ ง ตามเวลา ดังน้ี 3.1 เอกสารภาษาไทย 3 วนั ท�ำการ (ไม่รวมเสาร์ อาทติ ย์ และวนั หยุดนกั ขตั ฤกษ)์ 3.2 เอกสารภาษาอังกฤษ 7 วนั ทำ� การ (ไมร่ วมเสาร์ อาทติ ย์ และวันหยดุ นกั ขตั ฤกษ)์ 3.3 เอกสารกรณวี ฒุ กิ ารศึกษาหาย 7-14 วันท�ำการ (ไม่รวมเสาร์ อาทิตย์ และวนั หยดุ นกั ขัตฤกษ)์ ***ระยะเวลาอาจเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม กรณุ าตดิ ต่อก่อนเข้ารบั เอกสาร *** ค่มู อื นกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรนิ ทรร์ ่มเกล้า 31

1. ขอลาออก 1.1 ผปู้ กครองต้องเปน็ ผู้ย่นื ค�ำรอ้ ง 1.2 แนบรปู ถา่ ยชดุ นักเรยี นขนาด 1.5 น้ิว จ�ำนวน 2 รปู 2. ขอใบ ปพ.1และ ปพ.7 2.1 นักเรยี น ยนื่ คำ� ร้อง 2.2 แนบรปู ถา่ ยชดุ นกั เรียนขนาด 1.5 นว้ิ ต่อเอกสาร 1 ใบ 3. พกั การเรียน 3.1 ผปู้ กครองเป็นผยู้ น่ื คำ� ร้อง 3.2 แสดงหลกั ฐาน หรอื เหตุผลทข่ี อพกั การเรยี น 4. ขอวฒุ กิ ารศึกษา กรณีวฒุ ิหาย 4.1 ผูข้ อย่ืนใบคำ� ร้อง 4.2 แนบใบแจง้ ความ และรูปถา่ ย จำ� นวน 2 รูป ***รูปขนาด1.5 น้วิ กรณจี บการศกึ ษา ตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2550*** ***รปู ขนาด 2 นิว้ กรณจี บการศกึ ษา ก่อนปีการศึกษา 2549** 5. ขอแกไ้ ข วนั เดอื นปี เกดิ 5.1 ยื่นค�ำร้องขอแก้ไขขอ้ มลู 5.2 แนบหลกั ฐานสูตบิ ัตร 5.3 แนบสำ� เนาทะเบียนบา้ น ทม่ี ีการแกไ้ ขวัน เดอื นปี เกิด 6.ขอเปลยี่ น ช่อื -นามสกลุ 6.1 ย่นื คำ� รอ้ ง 6.2 แนบหลกั ฐานการเปลีย่ นชื่อ -นามสกลุ 6.3 แนบส�ำเนาทะเบยี นบา้ น สำ� เนาบัตรประชาชน ท่มี กี ารเปลี่ยน ชือ่ -นามสกลุ แล้ว ระเบยี บการใช้บรกิ าร หอ้ งสมุดโรงเรียน สถานที่ตั้ง ชัน้ 1 หอประชมุ อเนกประสงค์ เวลาทำ� การ เวลา 06:30 – 16:30 น. ผมู้ ีสิทธิเข้าใชห้ อ้ งสมดุ ครู-อาจารย์ นักเรียนปัจจุบัน ศษิ ยเ์ กา่ และผู้ปกครองนักเรียน การบรกิ าร 1. บริการอ่าน และบริการชว่ ยคน้ คว้า 2. บรกิ ารยืม – คนื หนังสือ แก่นกั เรียน ครู บคุ ลากรภายในโรงเรยี นและผู้ปกครองนักเรยี น 32 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ่มเกล้า

3. บรกิ ารสบื ค้นสารสนเทศภายในหอ้ งสมดุ 4. บรกิ ารห้องสมุดอิเลก็ ทรอนิกส์ ระเบยี บการยืม-คนื 1. นักเรียนตอ้ งแสดงบัตรนกั เรียนก่อนยืมหนังสือทกุ ครงั้ 2. นักเรียนมัธยมตน้ ยมื 3 เลม่ /7วัน 3. นักเรยี นมธั ยมปลาย ยมื 3 เล่ม/7วนั 4. หนงั สือส่งคืนช้ากวา่ กำ� หนด ปรบั วันละ 1 บาท/เล่ม 5. หนังสอื สญู หายหรอื ช�ำรดุ ต้องชดใชต้ ามราคาทีห่ ้องสมดุ ก�ำหนด 6. นกั เรียนทไี่ ม่คนื หนงั สือก่อนส้นิ ภาคเรยี น จะไมไ่ ด้รับใบ ปพ. ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการใชห้ อ้ งสมุด 1. นักเรยี นต้องแตง่ กายเคร่ืองแบบนกั เรียน หรอื แต่งกายสภุ าพ 2. ห้ามนำ� ถุง กระเป๋า แฟ้มเขา้ ห้องสมุด ใหฝ้ ากในต้เู กบ็ ของหนา้ หอ้ งสมุด 3. หา้ มนำ� อาหารและเครอื่ งดม่ื เขา้ มาในห้องสมุด 4. วาสารและหนังสือพมิ พอ์ า่ นแลว้ เก็บเขา้ ที่ให้เรียบรอ้ ย 5. ใช้วสั ดุสิง่ พิมพ์ด้วยความระมดั ระวงั ไม่ตดั ฉกี หรือทำ� ลาย 6. ไมเ่ ล่นหรอื ส่งเสยี งดงั ในหอ้ งสมุด 7. ใหเ้ จา้ หน้าทีต่ รวจหนงั สอื หรือส่งิ ของทุกครั้งทีอ่ อกจากหอ้ งสมุด ระเบยี บการใชบ้ รกิ าร ห้องพยาบาล 1. เปิดบรกิ าร 07.30 – 16.00 น. 2. ผปู้ ว่ ยตอ้ งมาตดิ ตอ่ เพอ่ื รบั ยาหรือรบั การปฐมพยาบาล เพอื่ สอบถามขอ้ มลู เบ้อื งตน้ 3. นกั เรียนท่มี าเปน็ เพ่ือนให้รอขา้ งนอกหอ้ ง 4. หากอาการเจ็บป่วยไม่มาก รับประทานยาแล้วกลับเข้าห้องเรียน ถ้าเรียนไม่ไหว ให้นอนพัก 2 คาบ หากอาการไม่ดีขึ้น ติดตอ่ ผู้ปกครอง เพ่อื รบั กลบั ไปพกั ผ่อนที่บ้าน หรอื ไปพบแพทย์ตามเหน็ สมควร 5. นักเรียนท่ีมีอาการหนัก เช่น ไข้สูงเกิน 38.5 ข้ึนไป จะติดต่อผู้ปกครองให้มารับนักเรียน กลบั บา้ น ในระหว่างรอผูป้ กครองมารับ ใหน้ กั เรียนนอนพกั ผอ่ นก่อน 6. นกั เรยี นท่ปี ว่ ยเป็นประจำ� บ่อยครงั้ จะด�ำเนนิ การแจง้ ครทู ี่ปรกึ ษา เพอ่ื หาสาเหตตุ ่อไป 7. อุบตั เิ หตุมบี าดแผล ปฐมพยาบาลทันที บาดแผลเกา่ ทำ� ช่วงพกั คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ม่ เกล้า 33

กรณนี กั เรียนเกิดอบุ ตั เิ หตุ 1. นำ� นักเรียนทีเ่ กดิ อุบตั เิ หตมุ าห้องพยาบาล 2. ตรวจดูอาการเบ้ืองตน้ เพอ่ื ปฐมพยาบาล หรอื สง่ ตัวต่อยงั โรงพยาบาล 3. หากมบี าดแผลฉีกขาด ลกึ กว้าง กระดูกหัก น�ำสง่ โรงพยาบาล พร้อมติดตอ่ ผู้ปกครอง 4. การเคลมเงินประกันอบุ ตั เิ หตุ - เตรยี มใบรบั รองแพทยท์ ล่ี งความเห็นวา่ “อุบตั เิ หตุ” - ใช้ใบเสรจ็ รับเงินตัวจรงิ เท่านั้น - กรอกใบเคลมท่หี อ้ งพยาบาล - รบั เงินตามก�ำหนด - สามารถเข้ารับการรกั ษาได้ทุกโรงพยาบาล ทั้งรัฐบาลและเอกชน หรอื คลีนคิ หมายเหต ุ * บรษิ ทั ประกันอบุ ตั ิเหตุจ่ายคา่ รักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง แตไ่ ม่เกิน 10,000 บาท/เคส/ครั้ง * กรณเี สียชีวติ จากอุบัตเิ หตไุ ด้รับเงินชดเชย 10,000 บาท ขอ้ ปฏบิ ัติส�ำหรบั ผูป้ ่วยนอนพัก 1. เจบ็ ปว่ ยจรงิ 2. ไดร้ บั อนญุ าตให้นอนพกั เท่านั้น 3. วางรองเทา้ ตามหมายเลขเตยี งทนี่ อนพัก 4. หา้ มนอนบนผ้าแพรคลุมเตยี ง (พับและพาดไว้ท่รี าวเตียงปลายเท้า) 5. กอ่ นออกจากหอ้ งให้ - จัดเตียงนอนใหอ้ ยใู่ นสภาพเดิม - ท�ำความสะอาดและคืนอปุ กรณใ์ หเ้ รียบร้อย หมายเหต ุ หากไม่พบเจา้ หน้าที่ห้องพยาบาล กรณุ ารอสกั ครู่ 34 คูม่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์ร่มเกล้า

งานแนะแนว ท่ีตงั้ อาคารภาณรุ งั สี ห้อง 616 บคุ ลากร 1. นางสาวเพยี งใจ ดคี าร หัวหน้างานแนะแนว 2. นางศรโี สภา พลธนู 3. นางกมลทิพย์ ทวีชยั นุกูลกจิ 4. นางสาวภทั รชนน คุม้ ครอง 5. นางสาวกนกวรรณ เรื่อสจี ันทร์ 6. นายเกรยี งไกร ปะโมทาติ ขอบข่ายงานแนะแนว 1. จัดกิจกรรมแนะแนวเพอ่ื พฒั นานักเรียน 3 ด้านคอื ด้านการศกึ ษา ด้านอาชพี ด้านสว่ นตัว และสงั คม 2. จัดบรกิ ารแนะแนวตามภารกิจท้ัง 5 บรกิ าร คอื 2.1 บริการรวบรวมข้อมลู นักเรยี นเปน็ รายบคุ คล 2.2 การใหบ้ รกิ ารข้อสนเทศ ด้านการศกึ ษา ดา้ นอาชีพ ด้านส่วนตัวและสงั คม 2.3 การใหค้ ำ� ปรึกษา 2.4 บรกิ ารจัดวางตวั บคุ คล ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล - งานทุนการศกึ ษา ส�ำหรับนกั เรียนทขี่ าดแคลนทุนทรัพยแ์ ละมคี วามประพฤตดิ ี สมัคร ขอรับทุนการศึกษาได้ที่ คุณครูที่ปรึกษาตั้งแต่ต้นปีการศึกษา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนมถิ ุนายน ของทุกปีการศกึ ษา - โควตาการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี ูงขึ้นในสถาบันต่างๆ - งานกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ มื เพื่อการศึกษา (กยศ.) - ทนุ การศกึ ษาจากหนว่ ยงานภายนอกตา่ งๆ 2.5 การติดตามประเมนิ ผล การตดิ ตามผลโครงการตา่ งๆ ของงานแนะแนว การจดั ท�ำสถติ ิ ตดิ ตามนักเรยี นทจ่ี บการศกึ ษาทง้ั ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. การประสานงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น คู่มอื นักเรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ่มเกล้า 35

กลุม่ บริหารงบประมาณ หลักการและเหตผุ ล การบริหารงานของสถานศึกษาจะมุ่งจดั การศกึ ษาส่คู วามเปน็ เลศิ เป็นสากล กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ เป็นฝ่ายสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนตามแผนงาน/โครงการ ของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มบรหิ ารทั้ง 4 กล่มุ บรหิ ารและหนว่ ยงานต่าง ๆ การบริหารงบประมาณ จะยึดหลักการบรหิ ารมุง่ เนน้ ความเปน็ ระบบในการบรหิ ารจัดการท่มี ีความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ มุ่งเน้น ผลสัมฤทธ์ิและบรรลุตามเป้าประสงค์ เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษาและส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา เตม็ ตามศักยภาพ 1. การจ่ายเงนิ โครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐานสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จัดสรรงบประมาณใหก้ บั นกั เรยี นจนจบการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน ในรายการดังตอ่ ไปน้ี 1.1 คา่ หนังสือเรยี น จดั สรรให้นักเรยี นทุกคนมีหนงั สือเรยี นครบ โดยไมเ่ รยี กเกบ็ คนื 1 ปีการศึกษา โดยจะมอบใหน้ ักเรียนทกุ คนในตน้ ปีการศึกษา เมื่อเปดิ ภาคเรียนท่ี 1 1.2 ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียนที่นักเรียนสามารถจัดซื้อได้ เช่น สมุด ปากกา ดนิ สอ ยางลบ ไมบ้ รรทดั เครื่องมอื เรขาคณติ กระดาษ A4 ดนิ สอสี ส่ีน�้ำ กระเป๋านักเรยี นน ฯลฯ ในอัตราดังน้ี ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น จำ� นวนเงิน 210 บาท/คน/ภาคเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย จ�ำนวนเงิน 230 บาท/คน/ภาคเรียน หมายเหต ุ โรงเรยี นจ่ายเป็นเงนิ สดให้กบั นกั เรียนภาคเรียนละ 1 คร้งั เพื่อไปเลอื กซอ้ื อุปกรณก์ ารเรียน 1.3 ค่าเครื่องแบบนกั เรียน เครอ่ื งแบบนกั เรยี น ประกอบด้วยเสอ้ื /กางเกง/กระโปรง กรณีนกั เรยี นมชี ุดนกั เรยี นเพียงพอแลว้ สามารถซือ้ เขม็ ขดั รองเทา้ ถงุ เทา้ ชดุ ลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ ชุดพลศกึ ษาได้ในอตั ราดงั น้ี ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวนเงนิ 450 บาท/คน/ภาคเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำ� นวนเงนิ 500 บาท/คน/ภาคเรียน หมายเหตุ โรงเรยี นจ่ายเปน็ เงินสดให้กับนักเรยี นปลี ะ 1 ครัง้ เพอ่ื ไปเลอื กซ้อื เครื่องแบบนักเรยี น ถ้าชดุ นกั เรียนเพยี งพอสามารถซ้ือชดุ เครอ่ื งแบบอ่ืน ไดต้ ามความเหมาะสม เชน่ ชุดลกู เสือ ชุดพลศึกษา เป็นตน้ 1.4 ค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ประกอบดว้ ยกจิ กรรมตอ่ ไปน้ี 1.4.1 กิจกรรมวิชาการจัดเพ่มิ เติมจากเรยี นปกติในช้นั เรยี น ดำ� เนนิ การอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครงั้ 1.4.2 กจิ กรรมคุณธรรม กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ด�ำเนนิ การอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง 36 คมู่ อื นกั เรียนและผูป้ กครองโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกลา้

1.4.3 ทศั นศึกษา ด�ำเนนิ การอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 1.4.4 การบริการสารสนเทศ / ICT ด�ำเนินการอยา่ งน้อย 40 ชว่ั โมง/ป/ี คน โรงเรียนเปน็ ผ้ดู �ำเนินกิจกรรมซงึ่ มคี า่ ใชจ้ า่ ยดังตอ่ ไปน้ี ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จ�ำนวนเงิน 880 บาท/คน/ภาคเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จ�ำนวนเงิน 950 บาท/คน/ภาคเรียน หมายเหต ุ โรงเรียนเป็นผู้ด�ำเนนิ กิจกรรมใหน้ กั เรยี นทกุ รายการ 2. การรับเงินบรจิ าคโดยมวี ตั ถุประสงค์ ผบู้ ริจาคสามารถน�ำไปลดหยอ่ นภาษีได้ 2.1 เงนิ บริจาคเพื่อเป็นทนุ การศกึ ษา 2.2 เงินบรจิ าคเพอ่ื จัดซื้อวัสดุอปุ กรณ์ทางการศึกษา 3. หนงั สือรบั รองเพ่อื เบิกเงินบำ� รงุ การศกึ ษา กรณีที่ผู้ปกครองสามารถเบิกเงินบ�ำรุงการศึกษาได้ ติดต่อขอรับหนังสือรับรองได้ท่ีงานการเงิน สถานทีต่ ิดตอ่ กล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ (การเงนิ ) อาคารนวมราชานสุ รณ์ ช้นั 1 รถรับ-สง่ นักเรยี น โรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ม่ เกล้า ตารางการเดินรถ 06.30 น. – 08.00 น. ชว่ งเช้า ชว่ งเยน็ 15.10 น. – 17.00 น. ในชว่ งสถานการณ์ covid-19 ช่วงเชา้ 06.30 น. – 08.00 น. ช่วงเย็น 14.00 น. – 17.00 น. เส้นทางเดินรถรับ-สง่ นกั เรยี น โรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกล้า - ปากซอยรม่ เกลา้ 23 ปากซอยร่มเกล้า 23 - โรงเรียนเทพศิรินทรร์ ่มเกล้า คา่ บรกิ าร ฟรีส�ำหรับครู นักเรียน และผ้ปู กครองโรงเรียนเทพศริ นิ ทรร์ ม่ เกลา้ คู่มือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์รม่ เกลา้ 37

ระเบียบโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกลา้ ว่าด้วยท..ร..ง..ผ...ม..ข...อ...ง..น..กั...เ.ร..ยี...น....พ.....ศ. . 2564 ด้วยโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า ได้มีแนวปฏิบัติตนของนักเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า ในการไว้ทรงผมนักเรียน เพ่ือให้เกิดความเรียบร้อย แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถาบันอันมีการปฏิบัติ เป็นระยะเวลานาน โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุง ระเบียบการแต่งกายของนักเรียนให้สอดคล้องกับ ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2563 ด�ำเนินการโดยยึดหลักความเหมาะสม ในการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพท่ีดีของนักเรยี นและการมีสว่ นร่วมของนักเรียน สถานศึกษา ผปู้ กครองและชุมชน ท้องถิน่ จึงวางระเบยี บไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรยี กว่า “ระเบยี บโรงเรยี นเทพศิรินทร์ร่มเกล้าวา่ ด้วยทรงผมของนกั เรยี น พ.ศ. 2564” ข้อ 2 ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บงั คบั ตง้ั แตป่ กี ารศกึ ษา 2564 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 นักเรยี นต้องปฏบิ ัตติ นเก่ียวกับการไว้ทรงผม ดงั น้ี 1. นักเรียนชายจะไวผ้ มสน้ั หรือผมยาวกไ็ ด้ กรณีไว้ผมยาวดา้ นขา้ ง ด้านหลังตอ้ งยาวไมเ่ ลย ตีนผม ด้านหนา้ และกลางศรี ษะให้เปน็ ไปตามความเหมาะสมและมคี วามเรยี บร้อย 2. นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม และรวบใหเ้ รยี บร้อย ขอ้ 4 นักเรยี นต้องห้ามปฏิบัติตน ดังนี้ 1. ดัดผม ซอยผม 2. ย้อมสผี มใหผ้ ดิ ไปจากเดิม 3. ไว้หนวดหรอื เครา 4. การกระทำ� อนื่ ใดซ่งึ ไมเ่ หมาะสมกับสภาพการเป็นนกั เรยี น เชน่ การตดั แตง่ ทรงผมเป็น รูปทรงสัญลกั ษณห์ รือลวดลายตา่ ง ๆ ข้อ 5 นักเรียนที่มีเหตุผลในการปฏิบัติตามหลักศาสนาของตนหรือการด�ำเนินกิจกรรมของ สถานศกึ ษาใหผ้ อู้ �ำนวยการโรงเรียนเป็นผ้มู ีอ�ำนาจพิจารณาอนุญาต 38 คู่มือนักเรียนและผ้ปู กครองโรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ร่มเกลา้

ขอ้ 6 ใหร้ องผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ บรหิ ารทวั่ ไป รกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ีและใหม้ อี �ำนาจ ตีความและวนิ จิ ฉยั ปัญหาเก่ยี วกบั การปฏิบตั ิตามระเบียบนี้ ขอ้ ๘ หากไม่ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บดงั กล่าวขา้ งต้น กลมุ่ งานกจิ การนกั เรียนจะด�ำเนนิ การตักเตือน หากยงั ไม่แก้ไข จะดำ� เนินการตามระเบียบและขั้นตอนของโรงเรียนตอ่ ไป ท้งั นี้ ตง้ั แตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นายพทิ กั ษ ์ เอน็ ด)ู ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ร่มเกลา้ คมู่ ือนักเรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศิรนิ ทรร์ ่มเกลา้ 39

ระเบยี บโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกลา้ ว่าดว้ ยเครื่องแบบและการแตง่ กายของนักเรยี น พ.ศ. 2564 ..................................................... ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเคร่ืองแบบนักเรียนและนักศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ ร่มเกล้าได้ก�ำหนดระเบียบว่าด้วยเคร่ืองแบบและการแต่งกายของนักเรียน พ.ศ. 2564 เพื่อให้นักเรียน โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์รม่ เกลา้ แต่งกายเป็นระเบียบเรียบร้อยเหมาะสมกับสภาพความเป็นนกั เรียน จงึ กำ� หนด ระเบียบการแตง่ กายของนกั เรยี น ไว้ดังต่อไปน้ี 1. ระเบียบนเ้ี รยี กว่า “ระเบียบโรงเรยี นเทพศริ ินทร์ร่มเกล้า ว่าด้วยเครอ่ื งแบบและการแตง่ กาย ของนกั เรียน พ.ศ. 2564” 2. ระเบยี บนใ้ี ห้บงั คับใชต้ ้ังแตว่ นั ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เปน็ ต้นไป 3. ใหย้ กเลกิ ระเบยี บทใ่ี ช้มากอ่ นและขัดแยง้ กบั ระเบยี บน้ี ใหใ้ ช้ระเบยี บนีแ้ ทน 4. นักเรยี นโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ่มเกล้าทกุ คน ต้องปฏบิ ตั ิตามระเบยี บนี้อยา่ งเคร่งครัด 5. เครื่องแบบทีก่ �ำหนดให้ 5.1 เครื่องแบบนักเรยี นชาย (มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย) 5.1.1 กางเกงขาสนั้ เป็นผา้ โทเรสีกากี เปา้ ไม่ส้นั เกินไป เวลาสวมขอบกางเกงไม่ต่ำ� กว่า สะดือ ปลายขาไม่บานหรือคับจนเกนิ ไป ขนาดความกว้างประมาณ 8–10 ซม. ปลายขากางเกง เมอ่ื ยนื ตรง อยู่สูงกว่ากึง่ กลางเขา่ ไม่เกิน 5 ซม. ผา่ ตรงกลางมซี ปิ กระเปา๋ อยแู่ นวตะเขบ็ ขา้ ง ขา้ งละ 1 กระเปา๋ มีจีบข้างละ 2 จบี ไม่มีกระเป๋าหลงั ขอบเอวมีหู ขนาดกวา้ ง 1–1.5 ซม.จ�ำนวน 6-7 หู ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ช้ ผา้ เน้อื แข็ง ผ้าดิบ ผ้าเวสปอยส์ 5.1.2 เสือ้ เปน็ เส้อื เช้ิตคอตง้ั ผา้ โทเรสีขาวเกลยี้ ง ไม่มีลวดลาย ไม่บางเกินควร ห้ามใช้ ผา้ แพรหรอื ผา้ ทไ่ี ม่รักษารปู ทรงเอาไวไ้ ด้ ผ่าอกตลอด มสี าบหนา้ กว้าง 4 ซม. ใชก้ ระดุมสีขาวกลมแบน ขนาดเส้นผ้าศูนย์กลาง 1 ซม. ปลายแขนสูงเหนือศอก 3–5 ซม. แผ่นหลังเรียบไม่มีเกร็ดหรือมีจีบ มีกระเป๋าติดราวนมเบ้ืองซ้าย 1 กระเป๋า ขนาดกวา้ ง 8–12 ซม. ลกึ 10–15 ซม. พอเหมาะกับขนาดของ เสื้อ เวลาสวมกลัดกระดมุ ทุกเม็ด ยกเวน้ เม็ดแรกท่ีคอ และให้ทบั ชายเสอื้ ไว้ภายในขอบกางเกงโดยรอบตวั 5.1.2.1 เสือ้ นกั เรยี นระดับ ม.ต้น ปักอกั ษรยอ่ ท.ศ.ร. ทีห่ น้าอกเบอ้ื งขวา ปักเลข ประจ�ำตัวนักเรียนใต้อักษรย่อ ท.ศ.ร. ด้วยไหมสีน�้ำเงินตามแบบตัวอักษรและตัวเลขท่ีโรงเรียนก�ำหนด และปกั เครือ่ งหมายบอกระดับชน้ั ท่ีปกเสอื้ ดา้ นขวา 40 คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศิรินทร์ร่มเกลา้

5.1.2.2 เสื้อนักเรียนระดับ ม.ปลาย ปักอักษรย่อ ท.ศ.ร. ที่หน้าอกเบื้องขวา ปักเลขประจ�ำตัวนักเรียนใต้อักษรย่อ ท.ศ.ร. ด้วยไหมสีน้�ำเงินตามแบบตัวอักษรและตัวเลขท่ีโรงเรียน กำ� หนด ตดิ เขม็ เครือ่ งหมายโรงเรียนเหนืออักษรย่อ ท.ศ.ร. ประมาณ 1 ซม. และปกั เครื่องหมายบอกระดับ ชน้ั ที่ปกเสอ้ื ด้านขวา 5.1.3 เขม็ ขดั เปน็ เข็มขัดหนังสนี ้�ำตาลไม่มลี วดลาย ขนาดกวา้ ง 3–4 ซม. ความยาวตาม ขนาดตวั นักเรียน หัวเข็มขัดเปน็ โลหะสีทองเหลอื งรปู สี่เหลย่ี มผืนผ้า ชนดิ หวั กลัดมเี ขม็ สอดอันเดียวมมุ บน มีปลอกหนังสเี ดยี วกับเข็มขดั 1 ปลอก ขนาดกวา้ ง 1.5 ซม. สำ� หรบั สอดปลายเขม็ ขดั หา้ มตกแต่งดัดแปลง 5.1.4 รองเทา้ เปน็ รองเทา้ ผ้าใบสีน�้ำตาลหมุ้ ส้น ชนิดผูกเชือก ไม่มีลวดลาย หา้ มตกแตง่ ดดั แปลง และให้สวมห้มุ สน้ ตลอดเวลา 5.1.5 ถุงเทา้ เป็นถงุ เทา้ สีน�้ำตาล ไม่มลี วดลาย ไม่เป็นลูกฟูกหนาเวลาสวมไมพ่ ับหรอื ม้วน ขอบลง สวมแลว้ ขอบอยูป่ ระมาณ 1 ใน 3 ของน่อง 5.1.6 ทรงผม ยดึ ตามระเบยี บว่าด้วยการไวท้ รงผมนกั เรียน พ.ศ. 2564 5.1.7 กระเปา๋ เปน็ กระเปา๋ นกั เรียนหนงั สดี ำ� ชนดิ มีฝาปิดขนาด 16–17 น้ิว หรอื กระเป๋า เปข้ องโรงเรียน หา้ มตกแตง่ ดัดแปลง เขียนข้อความ หรือตดิ เคร่ืองหมายสติกเกอรใ์ ดๆ บนกระเป๋า 5.2 เคร่ืองแบบนักเรยี นหญิง 5.2.1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1, 2, 3) 5.2.1.1 กระโปรง เป็นกระโปรงสีกรมทา่ ผา้ โทเร มกี ระเป๋าตรงตะเขบ็ ดา้ นขวา 1 กระเป๋า ไม่มีซปิ หรือกระดุมตดิ ปากกระเป๋า ดา้ นหน้าและด้านหลังพบั จีบออกด้านนอกกวา้ ง 1 น้ิว ข้างละ 3 จีบ เย็บตะเข็บทับจีบใตข้ อบกระโปรงลงมา ประมาณ 3 นวิ้ ขอบกระโปรงกว้างไมเ่ กนิ 2 นวิ้ เวลาสวมต้องไม่ต่�ำกว่าสะดือ กระโปรงบานพอประมาณ ความยาวของกระโปรงวัดจากขากลางหัวเข่า ลงไป ไมน่ อ้ ยกว่า 5 ซม. 5.2.1.2 เส้อื เปน็ ผ้าโทเรสขี าวเกลี้ยง ไมบ่ างเกนิ ไป แบบคอพบั ในตัวปลายแขนจบี 6 จีบ แขนยาวเหนอื ศอก ขอบแขนพบั กว้างประมาณ 2-3 ซม. ความยาวของเสื้อวัดจากขอ้ มอื ขน้ึ มาเมอื่ ยืนตรง ประมาณ 10-15 ซม. ขนาดตัวเสื้อกวา้ งพอเหมาะสมกบั ล�ำตัว ริมขอบล่างดา้ นขวาติดกระเป๋า 1 ใบ กวา้ ง 10-12 ซม. ยาว 11-14 ซม. ชายเสือ้ ดา้ นล่างพบั ใหญไ่ มเ่ กนิ 3 ซม. ปกั อกั ษรย่อ ท.ศ.ร. ท่ีหน้าอกเบือ้ งขวา ปกั เลขประจ�ำตัวนักเรียนใต้อักษรย่อ ท.ศ.ร. ด้วยไหมสีน�ำ้ เงนิ ตามแบบตัวอกั ษรและ ตัวเลขท่ีโรงเรยี นกำ� หนด และปกั เครอ่ื งหมายบอกระดับชั้นท่ีปกเส้อื ดา้ นขวา นักเรยี นหญงิ ตอ้ งใส่เส้ือซับใน สีขาว ไมม่ ีลวดลาย 5.2.1.3 โบว์ (คอซอง) เป็นสกี รมทา่ ขนาดพอเหมาะ ไมเ่ ลก็ หรือ ใหญ่เกินไป ลกั ษณะการผูกให้ปมผูกโบว์ (คอซอง) อยตู่ รงปลายคอเส้อื บรรจบกนั 5.2.1.4 รองเท้า เป็นรองเทา้ สีด�ำ ไม่มลี วดลาย แบบหมุ้ สน้ หุ้มปลาย หัวมน มสี าย รดั หลงั เทา้ ส้นสงู ไมเ่ กนิ 3 ซม. คู่มอื นักเรยี นและผปู้ กครองโรงเรียนเทพศริ ินทร์ร่มเกล้า 41

5.2.1.5 ถงุ เท้า ใชถ้ งุ เท้าสขี าว ไม่มลี วดลาย ไม่เปน็ ลกู ฟกู พับขอบปลายขอบกวา้ ง 2 น้ิว เหนอื ตาตุม่ หา้ มสวมถุงน่องหรอื ไนล่อนยางและถุงเท้าสนั้ ห้ามม้วน 5.2.1.6 ทรงผม เป็นทรงผมที่มีความยาวเส้นผมในการตัด ให้ปลายของเส้นผม ต�่ำกว่าติ่งหูไมเ่ กิน 3 ซม. เป็นทรงพวงมาลัยรอบศีรษะ แสกผมดา้ นหนา้ ซ้ายหรือขวาตามถนดั ไมใ่ ห้ผม ปกหน้าหรอื ตดั ผมม้าปดิ คิว้ หา้ มดดั ผม หา้ มซอยผม หา้ มยอ้ มผม ห้ามโกรกผม ห้ามกดั สีผม หรือแต่งผม เป็นทรงอืน่ ๆ โดยไม่เหมาะกบั สภาพนกั เรยี น ไมใ่ ช้เครื่องส�ำอางหรือตกแตง่ ดว้ ยเคร่ืองประดับ 5.2.1.7 อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการรวบหรอื มัดผม จะต้องเป็นยางสดี ำ� ในกรณที ่ใี ช้โบว์ ผูกผม จะต้องมีขนาดกว้างไมเ่ กิน 1 นว้ิ สำ� หรับสใี หต้ ามระดบั ชั้นดงั นี้ ม.1 ใหใ้ ช้สีขาว ม.2 สีนำ้� เงนิ หรือ กรมทา่ ม.3 ใหใ้ ชส้ ดี �ำหรือน้�ำตาล และโบว์ทุกระดบั ชนั้ น้ันต้องไม่มลี วดลายใดๆ ถ้าจ�ำเป็นตอ้ งใช้กบิ๊ ให้ใช้ได้เฉพาะสดี ำ� เพียงสเี ดยี ว อุปกรณ์อ่ืนๆ นอกเหนอื จากนีห้ า้ มใช้เดด็ ขาด 5.2.1.8 กระเป๋า เป็นกระเป๋าหนงั สีด�ำ ชนิดมีฝาปดิ ขนาด 16-17 นิว้ หรือกระเปา๋ เปข้ องโรงเรียนห้ามตกแต่ง ดัดแปลง เขยี นข้อความ หรอื ติดเครอ่ื งหมายสตกิ เกอรใ์ ดๆ บนกระเป๋า 5.2.2 ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4, 5, 6) 5.2.2.1 กระโปรง ใชเ้ ช่นเดยี วกับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 5.2.2.2 เสอื้ ใชผ้ า้ โทเรสีขาวเกลยี้ ง ไมม่ ลี วดลายไม่บางเกนิ ไปห้ามใชผ้ า้ แพรหรอื ผ้าทีบ่ างไมส่ ามารถรักษารปู ทรงไว้ได้ ตวั เสอื้ เปน็ เส้ือเชิ้ตผ่าอกตลอด ทีอ่ กเส้อื ทำ� เป็นสาบตลบเขา้ ขา้ งใน ตลอด กว้าง 3 ซม. มกี ระดมุ สขี าว 5 เม็ด แขนเส้อื ยาว ไมเ่ กินศอก ปลายแขนจบี เล็กน้อย ปลายแขน พบั เขา้ ข้างในกวา้ ง 3 ซม. เวลาสวมชายเสื้อพับอยใู่ นกระโปรง สวมเสอ้ื ซบั ในสีขาว ไม่มลี วดลายทุกครงั้ ปักอกั ษรยอ่ ท.ศ.ร. ท่หี น้าอกเบอ้ื งขวา ปักอักษรยอ่ ท.ศ.ร. ทหี่ นา้ อกเบื้องขวาปักเลขประจำ� ตัวนักเรียน ใตอ้ กั ษรย่อ ท.ศ.ร. ดว้ ยไหมสีนำ�้ เงนิ ตามแบบตัวอกั ษรและตวั เลขทโี่ รงเรยี นกำ� หนด ตดิ เขม็ เครอ่ื งหมาย โรงเรียนเหนืออกั ษรย่อ ท.ศ.ร. ประมาณ 1 ซม. และปักเครื่องหมายบอกระดับชั้นทปี่ กเส้อื ดา้ นขวา 5.2.2.3 รองเท้า-ถงุ เทา้ ใชเ้ ช่นเดยี วกบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หญงิ 5.2.2.4 เขม็ ขัด เป็นเขม็ ขดั หนังสดี ำ� ไมม่ ีลวดลาย ขนาดกว้าง 3-4 ซม. ความยาว ตามขนาดตัวนกั เรียน หวั เขม็ ขดั เป็นรูปสี่เหล่ียมผนื ผ้าชนดิ หวั กลัดสีดำ� มเี ขม็ สอดอันเดียวมมุ มนมีปลอก หนงั สเี ดียวกบั เข็มขดั 1 ปลอก ขนาดกวา้ ง 1.5 ซม. สำ� หรับสอดปลายเข็มขดั ให้คาดเขม็ ขัดทบั ขอบ กระโปรง ไมด่ ึงเสื้อมาบงั เข็มขดั หรือคาดแบบหลวมๆ ให้หย่อนลงมา หา้ มตกแตง่ ดัดแปลง 5.2.2.5 ทรงผมนกั เรยี นหญงิ ใหป้ ฏบิ ตั ิตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการไว้ทรงผมของนักเรยี น พ.ศ. 2564 5.2.2.5.1 ตอ้ งรวบผมใหเ้ รยี บร้อย ห้ามซอยผม หา้ มดัดผมหา้ มย้อมผม ห้ามโกรกผม หา้ มกัดสีผม ไม่ยีผม ไม่ถกั เปีย ไมป่ ลอ่ ยสยาย เม่อื อย่ใู นเครื่องแบบนักเรียนทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียนไมว่ ่ากรณีใดๆ ยกเวน้ เมือ่ ต้องการหวหี รอื จัดผมในห้องน�ำ้ เท่าน้นั 5.2.2.5.2 อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการรวบหรอื มดั ผม จะตอ้ งเป็นยางสดี �ำ ในกรณี ท่ีใชโ้ บว์ผกู ผม จะต้องมขี นาดกว้างไมเ่ กนิ 1 น้วิ ส�ำหรับสีให้ตามระดบั ชั้นดงั นี้ ม.4 ใหใ้ ช้สีขาว ม.5 สนี �ำ้ เงิน 42 คมู่ ือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกลา้

หรอื กรมท่า ม.6 ใหใ้ ช้สีด�ำหรอื นำ�้ ตาล และโบว์ทุกระดับ ช้ันนนั้ ต้องไมม่ ีลวดลายใดๆ ถ้าจ�ำเป็นตอ้ งใชก้ ิ๊บ ใหใ้ ชไ้ ดเ้ ฉพาะสีด�ำเพยี งสเี ดียว อุปกรณอ์ น่ื ๆ นอกเหนอื จากน้ีหา้ มใช้เด็ดขาด 5.2.2.5.3 นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลายท่ซี อยผม ดดั ผม ยอ้ มสผี ม โกรกผม กดั สผี ม ต้องกลับไปแกไ้ ขให้ถกู ต้องตามระเบียบของโรงเรียน ถา้ ไม่สามารถดำ� เนินการแกไ้ ข ใหถ้ ูกต้องได้ นกั เรยี นจะถกู ลงโทษตามดุลพนิ จิ ของโรงเรยี น 5.2.2.6 กระเป๋า เป็นกระเปา๋ หนังสดี �ำ ชนิดมฝี าปดิ ขนาด 16-17 น้วิ หรอื กระเป๋า เป้ของโรงเรียน หา้ มตกแตง่ ดัดแปลง เขียนข้อความ หรือตดิ เคร่ืองหมาย สตกิ เกอรใ์ ดๆ บนกระเป๋า 5.3 เครอื่ งหมาย ให้มีอกั ษรยอ่ ของ ท.ศ.ร. ปกั ทอ่ี กเส้อื ด้านขวา ติดบนเนื้อผ้าด้วยไหมหรือดา้ ย สนี �้ำเงิน ปักเลขประจำ� ตัวนักเรยี น ขนาดตัวอักษรสงู 8 มม. ดว้ ยไหมหรือด้ายสเี ดยี วกนั ให้ปกั ตัวอกั ษร ท.ศ.ร. และปกั เครอ่ื งหมายระดับชั้นที่ปกเส้ือดา้ นขวา 5.4 เครอ่ื งแบบอน่ื ๆ ทโ่ี รงเรยี นก�ำหนดให้ใชต้ ามวัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม 5.4.1 เครื่องแบบชุดพลศึกษา ให้นักเรียนแต่งชุดพลศึกษาตามที่โรงเรียนก�ำหนดมา โรงเรียนในวนั ที่มีการเรยี นพลศึกษา ลักษณะการแตง่ กายเรยี บรอ้ ยถูกต้อง 5.4.1.1 ชดุ พลศกึ ษา (มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) เสื้อคอโปโลสเี ขียว มีตราโรงเรียนท่ี กระเปา๋ เส้ือตามแบบของโรงเรียน กางเกงวอรม์ สดี ำ� มขี ลบิ ด้านข้าง 2 เส้น สีเขียวและสีเหลือง รองเท้า นักเรยี นหญิงใช้รองเท้าผา้ ใบสขี าว นกั เรียนชายใช้รองเท้าผา้ ใบ สีนำ�้ ตาลโดยทัง้ 2 ชนดิ ตอ้ งเป็น ชนิดผกู เชือก ไม่มลี วดลาย ไม่มเี สน้ ท่ีขอบรองเทา้ เป็นสอี นื่ ไมด่ ัดแปลง ไม่ตกแตง่ ใชเ้ ฉพาะวันท่มี ีพลศกึ ษาเท่านน้ั 5.4.1.2 ชดุ พลศกึ ษา (มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) เสือ้ คอโปโลสีเหลอื ง มีตราโรงเรียน ที่ประเปา๋ เสือ้ ตามแบบของโรงเรยี น กางเกงวอร์มสีด�ำมีขลิบด้านข้าง 2 เสน้ สเี ขยี วและสีเหลือง รองเทา้ นักเรียนหญิงใช้รองเท้าผ้าใบสีขาว นักเรียนชายใช้รองเท้าผ้าใบสีน�้ำตาลโดยท้ัง 2 ชนิดต้องเป็นชนิด ผูกเชอื ก ไม่มีลวดลาย ไมม่ ีเส้นทีข่ อบรองเทา้ เปน็ สอี ื่น ไมด่ ดั แปลง ไมต่ กแตง่ ใช้เฉพาะวนั ที่มวี ิชาพลศึกษา เทา่ นั้น 5.4.1.3 ชุดคณะสี เสอ้ื คอโปโล ประจำ� คณะสี มีตราโรงเรียนท่ีกระเป๋า มตี ราโรงเรยี น ทปี่ ระเป๋าเสอ้ื ตามแบบของโรงเรยี น กางเกงวอร์มสีด�ำมขี ลิบด้านขา้ ง 2 เสน้ สเี ขียวและสีเหลอื ง รองเท้า นักเรยี นหญงิ ใชร้ องเทา้ ผา้ ใบสีขาว นกั เรียนชายใช้รองเท้าผ้าใบสนี ้ำ� ตาลโดยทั้ง 2 ชนดิ ตอ้ งเป็น ชนดิ ผูกเชือก ไมม่ ลี วดลาย ไม่มีเสน้ ท่ีขอบรองเท้าเปน็ สีอน่ื ไม่ดดั แปลง ไมต่ กแตง่ ใช้เฉพาะวันทมี่ ีกจิ กรรม คณะสเี ทา่ น้ัน 5.4.2 เคร่ืองแบบชุดลูกเสือ–เนตรนารี ใหน้ กั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ แตง่ เครื่องแบบ มาโรงเรียนในวันทีม่ ีกิจกรรมลกู เสือ–เนตรนารี ลักษณะการแตง่ กายเรยี บร้อย ถูกตอ้ งตามแบบทกี่ องลูกเสือ แห่งชาตกิ �ำหนด 5.4.3 เครือ่ งแบบชุดนักศึกษาวิชาทหาร ให้นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายท่ีเลอื กเรียน เป็นนักศึกษาวิชาทหาร แต่งเคร่ืองแบบมาโรงเรียนในวันที่มีกิจกรรมรักษาดินแดนลักษณะการแต่งกาย เรียบร้อย ถูกต้องตามแบบท่ีหน่วยบญั ชาการรักษาดนิ แดนกำ� หนด คู่มอื นกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ร่มเกล้า 43

การแต่งกายชดุ อ่ืนๆ มาโรงเรียน ตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากทางโรงเรยี นกอ่ นทุกครัง้ 5.5 อุปกรณส์ ง่ิ ของเครอ่ื งใช้ทจ่ี ำ� เป็นส�ำหรับนักเรยี นเฉพาะกรณี 5.5.1 แว่นตา ให้ใช้เฉพาะนักเรียนท่ีมีสายตาผิดปกติ ไม่ใช้กรอบแว่นแฟชั่น การใช้ คอนแทคเลนสใ์ หใ้ ช้เฉพาะสีขาวสเี ดยี วโดยตอ้ งมีใบรบั รองแพทยใ์ นการขออนุญาต 5.5.2 นาฬกิ า ใหใ้ ชไ้ ดต้ ามความเหมาะสมและความจำ� เป็น ใชเ้ พอ่ื ดเู วลาโดยไม่มีราคาแพง หรือใส่ตามสไตลแ์ ฟชน่ั 5.5.3 เครอ่ื งประดับเช่น แหวน ก�ำไล สร้อยคอมอื ตา่ งหูไมอ่ นุญาตให้ใส่อนญุ าตสายสรอ้ ย สแตนเลสหอ้ ยพระได้ตามสมควรโดยมีเสือ้ ปกปดิ ห้ามใชเ้ คร่ืองประดับกายทุกชนิดทีท่ �ำดว้ ยเงนิ ทอง นาค หรืออยา่ งอ่ืนในชุดเคร่อื งแบบนักเรียน หา้ มเจาะ หา้ มสกั ตามสว่ นหนงึ่ ส่วนใดของรา่ งกายโดยเด็ดขาด 5.5.4 เคร่อื งสำ� อาง ห้ามแตง่ กาย เขียนคว้ิ ทาปาก เขียนตา แตง่ ทาเล็บ ไว้เลบ็ ยาวหรือ แตง่ หน้าด้วยแปง้ ฝนุ่ สีตา่ งๆ หรอื แต่งทรงผมด้วยวิธดี ัด ซอย ยอ้ มสผี ม ใส่น้ำ� มนั หรือเยล 5.5.5 อุปกรณก์ ารเรยี นใหใ้ ช้อปุ กรณต์ า่ งๆ ได้ตามสภาพของนักเรยี นงดใช้อุปกรณ์ที่มคี วามคม หรือแหลมเสยี่ งต่อการใชเ้ ป็นอาวุธ 5.5.6 กระเปา๋ แบบอื่นๆ โรงเรยี นไม่อนุญาตให้นกั เรียนน�ำมาใชใ้ นวนั ที่มกี ารเรยี นการสอน แบบปกติ 6. ระเบียบโรงเรียนเทพศริ ินทร์รม่ เกลา้ “ว่าดว้ ยเคร่ืองแบบและการแตง่ กายของนักเรยี น พ.ศ. 2564” 6.1 นักเรียนฝ่าฝืนจะได้รับโทษตามระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนของโรงเรียน เทพศิรินทรร์ ม่ เกลา้ 6.2 อปุ กรณห์ รอื สิ่งของท่เี ปน็ อาวธุ หรอื เทยี มอาวธุ เม่อื โรงเรยี นตรวจพบจะยึดไว้และจะติดตอ่ ผปู้ กครองมาพบทโี่ รงเรียนทันที ทงั้ น้ี ตัง้ แตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นายพทิ กั ษ์ เอน็ ดู) ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นเทพศริ นิ ทรร์ ่มเกลา้ 44 คูม่ อื นกั เรยี นและผูป้ กครองโรงเรยี นเทพศิรินทรร์ ม่ เกล้า

ตวั อย่างเคร่อื งแบบการแตง่ กายและทรงผม นักเรยี นชายช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ คูม่ ือนกั เรียนและผู้ปกครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ่มเกล้า 45

ตัวอยา่ งเคร่ืองแบบการแตง่ กายและทรงผม นกั เรยี นหญงิ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 46 คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ ินทร์ร่มเกลา้

ตวั อย่างเครือ่ งแบบการแตง่ กายและทรงผม นักเรียนชายชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย คู่มือนกั เรียนและผปู้ กครองโรงเรยี นเทพศริ ินทรร์ ม่ เกลา้ 47

ตัวอย่างเครือ่ งแบบการแตง่ กายและทรงผม นกั เรยี นหญิงชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 48 คู่มือนักเรยี นและผู้ปกครองโรงเรียนเทพศริ นิ ทร์รม่ เกล้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook