งานก่ออฐิ นายพงษช์ นะ เขยี วขา
เนอื้ หาการสอน สัปดาหท์ ่ี หน้าที่ 1 1 รหสั และชือ่ วชิ า : 20106 - 1003 พ้นื ฐานงานปนู วนั ท่ี : เวลา แผนกวชิ า : ชา่ งกอ่ สร้าง ชือ่ สถานศกึ ษา : พ้นื ฐานงานปนู (Basic Masonry Work ) คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั หลกั การก่ออิฐ ฉาบปูน การใช้เครื่องมือ การปฏิบัติงานตามขน้ั ตอนการ เตรยี มงานผสมปนู งานทาแนวระดับสาหรับงานกาแพงก่ออฐิ ครงึ่ แผน่ กาแพงอิฐกอ่ ฉากหนง่ึ มมุ คร่งึ แผน่ กาแพงก่ออิฐสองมุมครงึ่ แผน่ กาแพงก่ออฐิ คร่งึ แผน่ บอ่ น้า กาแพงอิฐก่อเต็มแผน่ กาแพงอิฐหน่งึ แผ่น คร่งึ แผน่ เสาอิฐก่อรปู ส่เี หลยี่ ม หกเหลีย่ มและแปดเหล่ยี ม เสาและกาแพงอิฐก่อ ก่อกาแพงคอนกรีตบลอ็ ก เทคนิคการแตง่ แนวก่อ ท้ังแนวระดับและแนวดงิ่ ก่อฉาบอิฐมวลเบา จดุ มุง่ หมายรายวชิ า เม่อื นกั ศึกษาได้เรยี นวิชา 20106 - 1003 พนื้ ฐานงานปูน จะมคี วามสามารถดังต่อไปน้ี 1. มีความเข้าใจหลกั การก่ออิฐและฉาบปนู ในรปู แบบตา่ ง ๆ 2. สามารถก่ออฐิ และฉาบปนู ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ 3. มีกจิ นสิ ัยในการทางานอยา่ งมีวนิ ัย ประณีต รอบคอบ ความปลอดภยั และอนุรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม ตาราประกอบการเรียนการสอน 1. ดาเนิน คงพาลา, “ งานกอ่ อิฐและฉาบปนู (ภาคปฏิบตั ิ) “ , สานกั พมิ พ์ ส.ส.ท. , 2548 2. พิภพ สนุ ทรสมยั , “ ช่างปูนก่อสรา้ ง “ , สานักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2526 การวดั ผล 10 % - การทดสอบ 20 % - จติ พสิ ยั 70 % - การฝกึ ปฏบิ ัติจากใบงานที่มอบหมาย 100 % รวม
เนอื้ หาการสอน สปั ดาห์ท่ี หน้าที่ 1 2 รหสั และชื่อวชิ า : 20106 - 1003 พน้ื ฐานงานปูน วนั ที่ : เวลา แผนกวิชา : ชา่ งก่อสรา้ ง ชอ่ื สถานศึกษา : เครื่องมอื และวัสดุทีใ่ ช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปนู 1. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการกอ่ อิฐฉาบปนู 1.1 เกรียงเหล็กขนาดกลาง (Trowels) ทาดว้ ยแผ่นเหลก็ เหนียวขนาดกว้าง 77 มลิ ลเิ มตร ยาว 150 มลิ ลเิ มตร มีรูปร่างคลา้ ยใบโพธ์ิ แตส่ ่วนปลายโคง้ มน ความหนาส่วนปลายประมาณ 0.5 มิลลเิ มตร สว่ นโคนจะมคี วามหนามากกวา่ ส่วนปลาย ใบเกรียงทาด้วยแผ่นเหลก็ เหนยี ว คณุ ภาพดี มีความแข็งแรงทนทาน ไมอ่ ่อนตวั งา่ ย มลี กั ษณะคลา้ ยสปริง- ในตวั ตรงสว่ นโคนของใบเกรยี งมเี หลก็ เสน้ กลมเช่ือมต่อไปยงั ด้ามไมเ้ พ่ือใช้จบั และกาได้ถนดั มือ สว่ นปลายดา้ ม ไม้มีปุ่มโลหะติดอยู่เอาไวใ้ ชก้ ระท้งุ ก้อนอฐิ ในขณะทีก่ ่อเพ่ือให้อิฐไดร้ ะดับเสมอกันทุกก้อน รูปเกรียงเหล็กขนาดกลาง เกรยี งเหล็กขนาดกลางมหี น้าที่ใช้ตกั ปนู กอ่ ผสมปนู กอ่ ในกระป๋องปนู ตดั อิฐมอญให้ขาดออก จากกนั เป็น 2 ก้อน ใช้แต่งอิฐมอญใหม้ ขี นาดตามต้องการ ใช้ตักปนู กอ่ ทีท่ ะลักออกมาทางด้านข้างของอฐิ ใช้ ขูดทาความสะอาดผนงั ที่กอ่ ใช้ขดู ทาความสะอาดกระป๋องปนู เพือ่ ให้ปูนก่อที่ตดิ อยู่ตามขอบของกระป๋องปนู ได้ หลดุ ออกมารวมกนั อยตู่ รงก่งึ กลางของกระปอ๋ งจะไดต้ ักไปใช้งานต่อไป
เนอื้ หาการสอน สปั ดาหท์ ี่ หน้าท่ี 1 3 รหสั และชอื่ วชิ า : 20106 - 1003 พ้ืนฐานงานปนู วันที่ : เวลา แผนกวชิ า : ชา่ งกอ่ สร้าง ชอ่ื สถานศกึ ษา : เครือ่ งมอื และวัสดุท่ใี ช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปนู 1.2 ระดับนา้ (Level) เป็นเคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการตรวจสอบระดับเพ่ือใหง้ านก่ออฐิ ในแตล่ ะช้ันได้ระดับหรือมีความลาดเอียง ตา่ งไปจากระดบั ตามทีต่ ้องการ ระดับนา้ แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ ดว้ ยกนั คอื 1. ระดบั น้าอะลมู ิเนียมหรือไม้ มลี กั ษณะเปน็ แท่งอะลูมเิ นยี มรูปพรรณหน้าตัดรปู ตวั ไอ (I ) หรอื เป็น ไมท้ ่อนตัน มคี วามยาวหลายขนาดใหเ้ ลอื กใช้ตั้งแต่ขนาดความยาว 40 - 60 เซนตเิ มตร สว่ นระดับนา้ อะลูมิเนียมมีความยาว 2 เมตร ขนาดความยาวท่ีสะดวกแก่การใชก้ ็คือ ขนาดความยาวประมาณ 40-60 เซนตเิ มตร เพราะถา้ ใช้ขนาดที่มคี วามยาวมากกว่านี้การตรวจสอบระดบั จะทาไดล้ าบาก และอาจเกิดความ ผดิ พลาดไดง้ ่าย อาจต้องใช้ผู้ช่วยในการปฏิบัตงิ านอีก 1 คน ความยาวมาก ๆ ของระดบั น้าทาให้ไมส่ ามารถ นาตดิ ตวั ไปใช้งานในทต่ี ่าง ๆ ได้ ระดับนา้ จะมีรูปรา่ งท่ีตา่ งกนั ไปแล้วแต่บริษทั ผู้ผลิต แต่ส่วนที่สาคัญท่สี ดุ อยู่ท่ี หลอดระดับซ่ึงจะติดต้งั อยู่ทก่ี ่ึงกลางความยาวของระดบั น้ามี 2 หลอดติดตง้ั อยู่ภายในโครงสร้างของหลอดระดับ ในลกั ษณะขนานไปกบั ความยาวของระดับน้า ขนานหรือแอ่นตรงกลางเขา้ หากนั เล็กน้อยเพอ่ื ใช้ตรวจสอบระดบั แนวนอน และอีกตาแหน่งคือดา้ นปลายของระดบั น้า หลอดระดับมี 2 หลอดตดิ ตง้ั อย่ใู นลกั ษณะตงั้ ฉากกับ ความยาวของระดับน้า เมื่อนาระดับน้าต้ังขึ้นในแนวดิง่ หลอดระดับจะอยู่ในแนวราบ ตรง-กลางหลอดระดบั โค้งขนึ้ เลก็ น้อยเพ่ือใช้ในการตรวจสอบแนวดง่ิ กับขอบนอกของระดับนา้ รปู ระดบั น้าอะลมู ิเนียม 2. ระดับสายพลาสติกใส ลกั ษณะเปน็ สายพลาสติกใสขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางภายใน ¼ - ½ น้ิว มีความยาวประมาณ 3-15 เมตร เปน็ สายพลาสตกิ ใสทีม่ ีลกั ษณะอ่อนและโปร่งแสงเพื่อสามารถมองเหน็ นา้ -
เนอ้ื หาการสอน สัปดาห์ที่ หนา้ ท่ี 1 4 รหัสและชอื่ วิชา : 20106 - 1003 พน้ื ฐานงานปูน วันท่ี : เวลา แผนกวชิ า : ชา่ งกอ่ สร้าง ชอ่ื สถานศึกษา : เครอ่ื งมอื และวสั ดุทใี่ ช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปนู ทีอ่ ยู่ภายในสายพลาสตกิ ไดส้ ะดวก หน้าทีใ่ ช้ในการตรวจสอบระดับจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจดุ หน่ึง เช่น จากเสาตน้ หนึ่งไปยังเสาอกี ต้น หนง่ึ หรอื จากมุมกาแพงหนงึ่ ไปยังมมุ กาแพงอีกดา้ นหนง่ึ เพ่ือใหจ้ ุดท้งั 2 ไดร้ ะดับ นยิ มใช้ในการถา่ ยระดบั กอ่ น การก่ออิฐเพอ่ื ให้ทราบวา่ ตอ้ งกอ่ อิฐสูงเทา่ ไร บางครั้งจะใช้ตรวจสอบหลงั ก้อนอฐิ ท่ีก่อเสรจ็ แลว้ เพอื่ ให้เกดิ ความ ถกู ต้องก่อนทีจ่ ะปฏบิ ตั งิ านอย่างอนื่ ต่อไป หรือใช้ตรวจสอบเมอ่ื เหน็ วา่ งานกอ่ อิฐก้อนบนสุดมคี วามผดิ พลาด มี ความเที่ยงตรงมากกวา่ ระดับน้าอะลูมิเนียม แตก่ ารปฏิบัตงิ านจะต้องใชค้ น 2 คนมาจับท่ีปลายของระดับสาย พลาสติก 1.3 ไมบ้ รรทัดปาดปนู ตวั สัน้ และตวั ยาว (Leveling rules) ไมบ้ รรทัดปาดปนู ตวั ส้นั เปน็ ไมบ้ รรทัดขนาดหนา 15 มลิ ลเิ มตร กว้าง 70 มิลลิเมตร ยาว นอ้ ยกวา่ 1 เมตร ทาด้วยไม้สกั เพราะเปน็ ไมท้ ีย่ ดื หดตวั นอ้ ยมากมีนา้ หนักเบา ลอยน้า ไมบ้ รรทดั ปาดปนู ตวั สัน้ เป็นไม้บรรทดั ท่ีมคี วามตรงใช้รว่ มกับดนิ สอดาชา่ งในการขีดเส้นตรงที่พ้นื โรงฝกึ งานเพ่ือการวางผงั พร้อมทงั้ ใช้ตรวจสอบผนังช้ันที่ 1 ฐานเสาชัน้ ที่ 1 ให้มคี วามตรงตามไม้บรรทัดปาด ปนู ดังกล่าว รปู ไมบ้ รรทดั ปาดปนู ตวั สน้ั ไมบ้ รรทัดปาดปนู ตวั ยาวลักษณะเป็นไมบ้ รรทัดขนาดหนา 15 มลิ ลเิ มตร กว้าง 70 มลิ ลิเมตร ยาวมากกวา่ 1 เมตรขึน้ ไป ทาด้วยไม้สกั เพราะเป็นไมย้ ดื หดเลก็ น้อย มนี า้ หนักเบา ลอยน้า มี 2 ลกั ษณะคือ 1. ลักษณะทาจากไมส้ ักท่อนเดยี วกนั นามาไสเพลาะ ไสขนาดจนกระท่ังมผี วิ เรียบไดฉ้ ากและ ตรงทงั้ 4 ด้าน จากนน้ั นามาเล่ือยซอยดว้ ยเครื่องเลอ่ื ยวงเดอื น 4 ครงั้ พร้อมทั้งเลื่อยตัดเฉียงทีห่ วั และทา้ ย ของไม้บรรทัดปาดปนู ตัวยาว
เนื้อหาการสอน สปั ดาห์ที่ หน้าท่ี 1 5 รหัสและชื่อวชิ า : 20106 - 1003 พืน้ ฐานงานปนู วนั ที่ : เวลา แผนกวิชา : ช่างกอ่ สร้าง ชอื่ สถานศึกษา : เครอื่ งมอื และวสั ดุท่ใี ชใ้ นการก่ออิฐฉาบปูน 2. ลักษณะท่ีทาจากไมส้ ัก 2 ท่อน นามายึดติดกนั ด้วยตะปู ตะปูเกลียว ดว้ ยการใชไ้ ม้สกั แผ่นบางขนาดหนา ½ นว้ิ กว้าง 2 น้วิ จานวน 2 ทอ่ น นามาไสใหเ้ รียบตรงได้ฉากตามต้องการ จากนน้ั เล่ือยตัดเอยี งใหป้ ลายแหลม 2 ปลาย นามาประกอบยึดติดให้มีลักษณะเปน็ ตัวที (T ) ยึดดว้ ยตะปูเกลียวหรอื ตอกตะปฝู ังหวั กจ็ ะได้ไม้บรรทดั ปาดปนู ตวั ยาว รปู ไมบ้ รรทดั ปาดปูนตวั ยาว 2. วสั ดทุ ี่ใช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปนู 2.1 ปูนซเี มนตผ์ สม (Mixed Cement) เปน็ ปนู ซีเมนตท์ ีผ่ ลติ ได้จากการนาเอาปนู ซเี มนตป์ อร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 มาผสมรวม กบั วัสดเุ ฉื่อยจาพวกทรายหรือหินปูนทบ่ี ดละเอียดประมาณ 25-30 % เพอ่ื ให้เปน็ ปูนซีเมนตผ์ สมทม่ี ีคุณสมบัติ งา่ ยและสะดวกต่อการใช้งาน มกี ารรวมตัวและการแข็งตัวช้ากว่าปนู ซีเมนต์ปอรต์ แลนด์ทาให้มรี ะยะเวลาในการ ตกแตง่ ผลิตภัณฑ์ เปน็ ปนู ซีเมนตท์ ี่มรี าคาประหยดั ปูนซีเมนต์ผสมมชี ่ือเรียกอีกช่อื หนึ่งว่า ปนู ซเี มนต์ ซลิ กิ าหรอื ซลิ ิกาซเี มนต์ (silica cement) เปน็ ปนู ซเี มนตท์ มี่ จี าหนา่ ยอยู่ท่ัวราชอาณาจักรของไทย ได้แก่ ปนู ซีเมนตต์ ราเสือ, ตรางูเห่า, ตราดอกบัว, ตรา ที พี ไอ สีเขียว, ตราอนิ ทรีแดง, ตราอนิ ทรีทอง เปน็ ตน้ 2.2 ทราย เป็นวสั ดทุ ่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ นามาเป็นส่วนผสมที่สาคัญของปูนก่อ งานก่ออิฐ นิยมแบง่ ทรายออกเป็น 2 ชนดิ ด้วยกัน คือ
เนื้อหาการสอน สปั ดาห์ที่ หน้าท่ี 1 6 รหสั และช่อื วิชา : 20106 - 1003 พืน้ ฐานงานปูน วนั ที่ : เวลา แผนกวชิ า : ช่างกอ่ สรา้ ง ชื่อสถานศกึ ษา : เครือ่ งมอื และวัสดุท่ใี ช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปนู 1. ทรายหยาบ ลักษณะเปน็ ทรายเมด็ ใหญ่ แข็ง มีแง่มมุ และเหล่ียมคม ขนาดของเมด็ ทรายประมาณ 2-3 มลิ ลิเมตร แหล่งทเี่ กิดอยทู่ ี่จงั หวัดราชบุรี จึงเรยี กว่า ทรายราชบุรี เหมาะสาหรบั นามาใช้ผสมกบั ปูนซเี มนต์ผสมเพื่อใช้ในการกอ่ อิฐ ก่อหนิ ท่ตี ้องการใหเ้ กิดความแขง็ แรงทนทาน รบั นา้ หนกั ไดม้ าก เชน่ งานกอ่ อฐิ ฐานราก งานกอ่ หนิ เขอ่ื น เปน็ ตน้ 2. ทรายกลาง ลักษณะเป็นทรายเม็ดปานกลางไม่หยาบและไม่ละเอยี ด ขนาดของเมด็ ทรายประมาณ 1.5-2 มลิ ลิเมตร แหล่งทีเ่ กิดอยู่ที่จังหวัดอา่ งทอง จงึ เรยี กว่า ทรายอ่างทอง เหมาะสาหรับ นามาใชผ้ สมกบั ปนู ขาวเพื่อให้เปน็ ปูนกอ่ ฝึกหัดของนักศึกษา ใชผ้ สมกับปูนซีเมนตผ์ สมเพ่อื ใชเ้ ปน็ ปนู กอ่ ท่ี ป้องกันนา้ ซมึ ผ่าน ใช้ผสมกบั ปนู ขาว ปูนซเี มนตผ์ สม เพ่ือใชเ้ ปน็ ปนู กอ่ ทั่ว ๆ ไป 2.3 น้า (Water) นา้ เปน็ อีกปจั จยั หนึ่งท่มี ีความสาคญั ต่องานก่ออฐิ เน่ืองจากงานกอ่ อฐิ จะต้องใช้นา้ เพื่อ การผสมปูนก่อ ล้างเครอื่ งมือ ลา้ งวัสดุ รวมไปถงึ ล้างผิวหนา้ ของงานก่อนทีจ่ ะฉาบและให้ผนงั มคี วามชมุ่ นา้ อยู่ เสมอในขณะปฏบิ ตั งิ าน หนา้ ท่ีของน้าท่ใี ช้ในการก่ออิฐและฉาบปูน สามารถจาแนกออกไดด้ งั น้ี 1. ทาปฏิกิริยากบั ปนู ซีเมนตผ์ สมกลายเป็นวนุ้ เหนยี ว ยึดเกาะทรายให้ตดิ กับวัสดทุ ีน่ ามาก่อ 2. ทาให้วสั ดุทกี่ ่อไวแ้ ล้วซ่งึ มีความแห้งใหเ้ ปียกชื้น เพอื่ ให้ปูนก่อยึดเกาะในช้นั ต่อไปไดด้ ี 3. ทาใหผ้ ิวหนา้ ของงานท่จี ะฉาบปนู มคี วามสะอาด เพือ่ ใหป้ นู ฉาบยึดเกาะกบั ผวิ หน้าได้ดี 4. ทาใหเ้ ครื่องมือทนี่ ามาใชใ้ นงานดังกลา่ ว มีความสะอาด คุณภาพของน้า นา้ ที่นามาใชใ้ นงานจะต้องเป็นนา้ ท่สี ะอาด ไมม่ สี ี ไม่มีกลน่ิ ปราศจาก นา้ มัน กรด ด่าง เกลอื หรือสารอ่ืน ๆ จะต้องเปน็ น้าที่ใส ถา้ เป็นนา้ ทม่ี ีความข่นุ อนญุ าตใหม้ คี วามขนุ่ ได้ไม่เกิน 2000 ส่วนในล้านสว่ น ดงั น้ันน้าทีเ่ หมาะทีส่ ุดทีจ่ ะนามาใช้ในงานควรเป็นน้าสะอาดที่ใช้ด่มื ได้ เชน่ น้าประปา และนา้ จดื จากแหล่งธรรมชาติ เช่น คลอง หนอง บึง บ่อ แมน่ า้ ลาธาร เป็นต้น นา้ ทะเลหรือ น้ากรอ่ ยไมค่ วรนามาใชเ้ พราะความเค็มจะไปทาปฏิกริ ิยากับปูนซเี มนต์ผสม ทาใหค้ ุณสมบัตขิ องปนู ซเี มนตผ์ สม ลดกาลังลง และท่ผี วิ ด้านนอกของผนงั ฉาบปนู จะเปน็ คราบเกลอื สขี าวให้เหน็ อยา่ งชัดเจน
เนอื้ หาการสอน สปั ดาหท์ ่ี หนา้ ท่ี 1 7 รหสั และช่อื วชิ า : 20106 - 1003 พื้นฐานงานปนู วนั ที่ : เวลา แผนกวชิ า : ชา่ งก่อสร้าง ช่ือสถานศึกษา : เครื่องมอื และวัสดุที่ใชใ้ นการกอ่ อฐิ ฉาบปูน 2.4 ปูนขาว เป็นวสั ดทุ ี่ผลิตจากผลติ ภัณฑ์ธรรมชาตทิ ่เี ก่าแกท่ ี่สดุ ทมี่ นษุ ย์รู้จกั และเป็นวัสดกุ ่อสรา้ ง ในการใช้ผสมปูนก่อ ผสมปูนฉาบให้มคี วามเหนยี ว ใช้ผสมกบั นา้ ทาเป็นสนี ้าปูน ใช้เป็นยาฆา่ และป้องกนั แมลง ต่าง ๆ โดยนาไปโรยรอบ ๆ อาคาร นาไปใช้โรยและผสมลงไปในดินเพื่อให้ดินมีความรว่ นซยุ ทาใหต้ น้ ไม้เจรญิ งอกงาม การผลติ ปูนขาวทาไดด้ ้วยการนาหินปนู ไปเผาดว้ ยความร้อนประมาณ 750-1500 องศาเซลเซียส ใชร้ ะยะเวลาในการเผาประมาณ 6 วัน 6 คืน จนไดป้ ูนขาวทีม่ เี น้ือของปูนเป็นสขี าว คณุ สมบัตขิ องปนู ขาว 1. ดดู น้า เพราะผลติ จากการเผาในอุณหภมู ทิ ่ีสูง 2. เมอ่ื ผสมกับน้าสะอาดแลว้ จะละลายเปน็ นา้ สีขาวเหมือนแป้งมัน 3. มคี วามเหนียว มีกาลังยึดเกาะพอประมาณ 4. มรี าคาถูกกว่าปนู ซเี มนตผ์ สม จงึ นามาใชใ้ นส่วนผสมของปูนก่อ ปูนฉาบเพ่ือลดคา่ ใชจ้ า่ ย 5. มคี วามเป็นดา่ งสามารถฆา่ เชื้อโรคได้ 6. มีฤทธิก์ ดั ผวิ หนงั ให้ทะลไุ ด้ ประโยชนข์ องปนู ขาว 1. ใช้เป็นวัสดุประสานร่วมกับปูนซเี มนต์ผสมในงานก่ออฐิ ฉาบปนู ท่ัวไป 2. นามารอ่ นในน้าสะอาดทาเป็นสีน้าปนู ใช้ทาผนงั ตึก 3. ใชเ้ ป็นวัสดุประสานในงานก่ออิฐฝึกหดั ของนักศกึ ษา 4. ใชโ้ รยรอบอาคารเพ่ือป้องกนั ปลวก มอด และแมลงต่าง ๆ 5. ใชโ้ รยเพ่ือแสดงขอบเขตของหลุมที่จะขุดในงานฐานราก 6. ใช้โรยเพอ่ื แสดงขอบเขตของสนามกีฬาและลู่วงิ่
เนอื้ หาการสอน สปั ดาห์ท่ี หนา้ ท่ี 1 8 รหสั และชือ่ วชิ า : 20106 - 1003 พนื้ ฐานงานปูน วนั ที่ : เวลา แผนกวิชา : ชา่ งก่อสรา้ ง ช่ือสถานศึกษา : เครือ่ งมือและวสั ดุท่ใี ช้ในการกอ่ อฐิ ฉาบปูน 2.6 อิฐ (Brick) อิฐเป็นวัสดุก่อท่ีมนุษย์นามาใช้ในงานก่อต้ังแต่สมัยโบราณมาแล้วจนถึงปัจจุบัน ชาวอียิปต์เป็นชนชาติ แรกที่นาอิฐมาก่อเป็นผนังอาคาร โดยนาโคลนจากแม่น้าไนส์มาทาเป็นแท่งส่ีเหลี่ยม แล้วนาไปตากแดดให้แห้ง เรียกว่า ซันเบคบริค (sun baked bricks) การผลิตอิฐก็มีการพัฒนาต่อมาเรือ่ ย ๆ โดยเปล่ียนจากการนาไป ตากแดดให้แห้งมาเป็นนาไปเผาไฟ เพื่อให้ดินทแ่ี ห้งแล้วได้รบั ความร้อนสูง เกิดการสุกระอทุ ี่เนอ้ื ดิน ทาให้อิฐมี ความแขง็ แกร่งเพิม่ มากขน้ึ ทนแดด ทนฝน ทนน้า ไดด้ ีกว่าอิฐในยุคแรก ๆ ลักษณะของอฐิ ทีด่ ี 1. มขี นาดและน้าหนักทีเ่ ท่ากันหรือใกลเ้ คยี งทุกก้อนโดยเฉลีย่ 2. มคี วามแขง็ แรงทนทาน รับน้าหนกั ได้มาก 3. มีความเหนยี วและแขง็ ไมแ่ ตกงา่ ย 4. ผลิตดว้ ยมืออย่างประณีตหรือเครือ่ งจักร 5. ผา่ นการเผาด้วยอณุ หภูมสิ งู ประมาณ 1000-1200 องศาเซลเซียส มรี ะยะเวลาในการ เผาและเผาแช่อยู่นานประมาณ 2-3 สปั ดาห์ ถ้าเป็นเตาเผาด้วยไมฟ้ ืนและแกลบ 6. เม่อื อฐิ ถูกหักออก จะเหน็ เนื้ออิฐภายในคล้ายหนิ และมเี นื้อแนน่ มาก ไม่มีรูพรุน ไมร่ า้ ว 7. อฐิ จะต้องมีมุม มเี หล่ยี มท่ีได้ฉากทุกก้อนและมีสีสม่าเสมอเท่ากันตลอด 8. เมื่อทดลองแช่อฐิ เอาไว้ในนา้ 24 ชว่ั โมง อฐิ จะต้องดูดน้าไม่เกิน 10 % ของนา้ หนกั อิฐ 9. มรี ูปร่างลักษณะที่เรียบรอ้ ย ไมแ่ อ่นตัว ไมม่ ีขอบขรขุ ระมาก 10.ใชด้ า้ มเกรียงเคาะจะมีเสยี งดงั กงั วาน แสดงวา่ มเี น้ือแกร่ง
เนอื้ หาการสอน สัปดาหท์ ่ี หนา้ ท่ี 1 9 รหสั และชื่อวชิ า : 20106 - 1003 พื้นฐานงานปูน วันที่ : เวลา แผนกวชิ า : ช่างก่อสรา้ ง ชื่อสถานศึกษา : รูปแบบการกอ่ อฐิ 1.กอ่ หนา ½ แผน่ อิฐ เป็นแบบทีไ่ ดร้ บั ความนยิ มและพบเห็นได้ทว่ั ไป ใชใ้ นการกอ่ สรา้ งบา้ นพักอาศัยหรอื อาคารตา่ ง ๆ ให้เรียกความกวา้ งของพื้นท่สี ่วนหวั ของแผ่นอฐิ (Header) ในผนงั ท่ีเรยี งก่อเปน็ แบบหนาเท่ากบั ½ ของความกว้างของพนื้ ท่สี ว่ นขา้ งของแผน่ อิฐ (Stretcher) รปู การก่อหนา ½ แผน่ อฐิ 2.ก่อหนา ¾ แผ่นอิฐ เปน็ รปู แบบการก่อท่ีเรียงซ้อนในสว่ นความกว้างของพน้ื ท่สี ว่ นหวั ของแผน่ อิฐ (Header)รวมกบั ความหนาของแผ่นและนาความหนาของปูนก่อ 1-1.5 ซม. รวมเขา้ ไปดว้ ยเปน็ ความหนารวม รูปการก่อหนา ¾ แผน่ อฐิ
เนื้อหาการสอน สัปดาหท์ ่ี หนา้ ที่ 1 10 รหสั และช่อื วชิ า : 20106 - 1003 พนื้ ฐานงานปนู วันท่ี : เวลา แผนกวชิ า : ชา่ งก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : รูปแบบการก่ออฐิ 3.ก่อหนา 1 แผ่นอิฐ เป็นการก่ออฐิ อีกรปู แบบหนง่ึ ทไี่ ด้รบั ความนิยมพอสมควรและสามารถพบเห็นได้ ทวั่ ไปตามงานก่อสรา้ งที่ต้องการความแข็งแรงคงทนมาก ความหนาทไี่ ด้จากความกวา้ งของพนื้ ที่สว่ นหัวของ แผน่ อฐิ (Header) 2 เท่า และรวมกบั ความหนาของรอยตอ่ ทเ่ี ปน็ ปนู กอ่ 1-.5 ซม. หรอื จะคิดความหนาได้ จากความกวา้ งของพน้ื ท่สี ว่ นข้างของแผ่นอฐิ (Stretcher) รูปการก่อหนา 1 แผน่ อิฐ 4.ก่ออิฐหนา 1 ½ แผ่นอิฐ เป็นการรวมความกวา้ งของพ้นื ท่สี ่วนข้างของแผ่นอฐิ (Stretcher) กบั ความกวา้ ง ของพนื้ ที่สว่ นหัวของแผ่นอิฐ (Header) และปนู ก่อ 1-1.5 ซม. หรือจะรวมความกวา้ งสามเท่าของพื้นทส่ี ่วน หวั ของแผ่นอิฐ (Header) กบั สองเท่าของรอยต่อ 2-3 ซม. ก็ได้ รปู การก่อหนา 1 ½ แผน่ อฐิ
เนื้อหาการสอน สปั ดาห์ที่ หนา้ ท่ี 1 11 รหสั และชอ่ื วชิ า : 20106 - 1003 พน้ื ฐานงานปูน วันที่ : เวลา แผนกวชิ า : ช่างกอ่ สร้าง ชอ่ื สถานศึกษา : รูปแบบการก่ออิฐ 5.กอ่ อฐิ หนา 2 แผ่นอิฐ เป็นการนาไปใชใ้ นส่วนของโรงงานหรอื อาคารกอ่ สร้างขนาดใหญ่ท่ีต้องการความ แขง็ แรงคงทนมาก ๆ น่ันก็คอื การรวมความกวา้ งของพื้นท่ีส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher) เปน็ สองเท่ากับ ความหนา 1-1.5 ซม. ท่เี ปน็ รอยต่อ หรือจะคดิ กับความกว้างพน้ื ท่ีสว่ นหัวของแผน่ อิฐ (Header) เปน็ สองเท่า กับความกวา้ งของพน้ื ที่สว่ นข้างของแผน่ อฐิ (Stretcher) รวมกนั กับ 2-3 ซม. ที่เป็นสองรอยต่อมอร์ตา้ รปู การกอ่ หนา 2 แผน่ อิฐ เมอื่ มีโอกาสทราบรปู แบบของการก่อ ก็เพื่อความเข้าใจลักษณะยึดเหน่ยี วกนั ของ แผน่ อิฐ และจะไดน้ าไปใช้กบั การก่ออิฐที่โชว์ผิวอิฐ หรือต้องการผนังทีม่ ีการก่อแลว้ เป็นผนังทแี่ ข็งแรงดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: