Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์20442-20443 (1)

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์20442-20443 (1)

Published by ณัฐนารี ทองจันทร์, 2022-11-14 03:44:02

Description: หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์20442-20443 (1)

Search

Read the Text Version

อบี คุ เร่ือง หลักการทาํ งาน โดย… เดก็ หญงิ ปภาพัศ เกลย้ี งกมล 20442 เด็กหญิงณฐั นารี ทองจนั ทร 20443

การทํางานของคอมพวิ เตอรจะเรม่ิ จากผูใชป อ นขอ มลู ผา นทางอปุ กรณข องหนว ยรับเขา (Input device) เชน คยี บอรด เมาส ขอ มลู จะถูกเปล่ยี นใหเปน สญั ญาณดจิ ิทัล ประกอบดวยเลข 0 และ 1 แลว สงตอไปยังหนวยประมวล ผลกลาง เพ่อื ประมวลผลตามคําส่งั ในระหวา งการประมวลผลขอ มูลจะถกู เกบ็ ไวท ่ี (Random Access Memory: RAM) ทําหนา ท่เี ก็บขอมูล ... หลักการทํางานของคอมพิวเตอร - computero - Google Siteshttps://sites.google.com › maesuaiwit.ac.th › computero

การทาํ งานพน้ื ฐานของ คอมพิวเตอร มี 4 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1. รับขอมูล (Input) คอมพวิ เตอรจ ะทาํ หนา ที่ รบั ขอ มูลไปประมวลผล อุปกรณที่ทําหนาที่ รับขอมูล ไดแ ก แปนพิมพ เมาส เคร่อื งสแกน เปนตน

การทาํ งานพ้นื ฐานของ คอมพวิ เตอร มี 4 ข้ันตอน ดังน้ี 2. ประมวลผลขอ มูล (Process) เมือ่ คอมพิวเตอรรบั ขอมลู เขาสูระบบแลว จะทาํ การประมวลผลตามคาํ สงั่ หรือ โปรแกรมทกี่ ําหนด อปุ กรณท ีทาํ หนา ท่ี ประมวลไผลไดแก CPU

การทาํ งานพื้นฐานของ คอมพวิ เตอร มี 4 ขัน้ ตอน ดังนี้ 3. แสดงผลขอมูล (Output) เมอื่ ทําการ ประมวลผลแลว คอมพวิ เตอรจะแสดง ผลลพั ธ อปุ กรณท่ที ําหนาทใี่ นการ แสดงผลขอมูลคือ จอภาพและเครอื่ ง พิมพ เปน ตน

4. จดั เกบ็ ขอมลู คอมพวิ เตอรจะทาํ การ จัดเกบ็ ขอ มลู ลงในอุปกรณทเี่ กบ็ ขอ มลู เชน ฮารด ดสิ ก แผนซีดี แฟลชไดรว

1. หนวยรบั ขอมลู (input unit) เปน หนว ยท่ีทาํ หนา ท่ีรับขอมลู จากผูใชเขาสูคอมพวิ เตอร เชน ตวั อักษร ตัวเลข สญั ลกั ษณ เปน ตน โดยจะแปลงขอมูลใหอยใู นรูป ของสัญญาณไฟฟาทีคอมพวิ เตอรส ามารถเขา ใจได โดยนาํ มาจดั เก็บไวท ีห่ นวยความจําหลกั และใชป ระมวลผลได อุปกรณห นวย รบั ขอ มูลท่ีนยิ มใชใ นปจจบุ นั

2. หนวยประมวลผลกลาง (central processing unit) ซีพียู (CPU) หรือ Central Processing Unit หมายถึง “หนว ยประมวลผลกลาง” หรือเรียกอีกช่ือ หนง่ึ วา “ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor)” เปน อปุ กรณอ ิเลค็ ทรอนิคสท ีใ่ ชใ นการประมวล ผลขอ มลู ตามชุดคาํ ส่งั ทม่ี าจากซอฟตแวร ตัวของซีพียูนัน้ มลี ักษณะเปน ชปิ (Chip) ตวั เล็กๆ ซึ่ง ภายในบรรจุทรานซิสเตอรจํานวนหลายลานตวั ตอ เขาเปนวงจรอเิ ล็คทรอนคิ สจ ํานวนมหาศาล มีหนาท่คี ํานวณตัวเลขจากชุดคาํ สั่งท่ผี ใู ชป อนโปรแกรมเขาไป โดยซีพยี จู ะทาํ การอานชุดคําส่ังมา แปลความหมาย และทําการคาํ นวณ เมอื่ ไดผ ลลัพธก จ็ ะสง ผลลัพธอ อกไปแสดงผลทางหนา จอ ซพี ียู จงึ เปรียบไดกับ “สมอง”ของคอมพวิ เตอร ทําหนาทคี่ วบคมุ การปฏิบัตงิ านหลกั ของเคร่ือง ทาํ หนา ทใ่ี น การคํานวณ ประมวลผล และควบคุมอปุ กรณอ ืน่ ๆ ในระบบ ประกอบดว ย หนว ยคณิตศาสตรแ ละ ตรรกะหรอื หนวยคาํ นวณทําหนา ที่ประมวลผลขอ มลู ทางคณติ ศาสตรแ ละทางตรรกะ และหนว ย ควบคมุ ทําหนาที่ควบคมุ การทาํ งานของอปุ กรณต า งๆ ในระบบท้ังหมด ใหท าํ งานอยางถูกตอ ง อกี ทง้ั ยงั ควบคุมการทาํ งานของอปุ กรณอืน่ ๆ ในระบบอีกดว ย

3. หนวยความจําหลัก (main memory unit) หนวยความจําหลัก เปนอแุ กรรท ใ่ี ชในการเกบ็ ขอมลู และคําสั่งทอ่ี ยูระหวาง การประมวลผลของคอมพิวเตอรห รือในขณะที่เปดเคร่อื งคอมพวิ เตอร บาง ครัง้ อาจเรยี กวา หนวยเก็บขอมูลหลัก (primary storage) หนวยความจาํ จะทํา งานควบคไู ปกบั CPU และชว ยใหการทาํ งานของ CPU มปี ระสิทธิภาพมากยิ่ง ขนึ้ โดยวงรอบการทํางานของซีพียูนน้ั เร็วมาก หากไมม ที ่เี ก็บขอ มูลหรือทีพ่ กั ขอมูลและความเรว็ ในการเขาถึงขอมลู ท่ีไมมีขนาดเพยี งพอจะทาํ ใหก าร ประมวลผลชาลง

หนวยความจําหลกั แบงออกเปน 2 ประเภท คอื 1. หนว ยความจาํ แรม (RAM : Random Access Memory) แรม เปนหนว ยความจําหลักทีจ่ าํ เปน สามารถเก็บขอ มลู ได เฉพาะเวลาทีม่ กี ระแสไฟฟาหลอ เลย้ี งเทา นน้ั หากไมมีกระแส ไฟฟามาเล้ยี งขอมูลที่เกบ็ ไวจะหายไปทนั ที หนว ยความจาํ แรม ทําหนา ทีเ่ กบ็ ชุดคําสง่ั และขอ มลู ทร่ี ะบบคอมพวิ เตอรท าํ งานอยู แรมหลายชนิดขอมูลจะหายไปหากปดเครอื่ ง แต ปจจบุ นั มักเก็บขอมูลบติ ในรปู ของประจไุ ฟฟาในตวั เก็บประจุ

2. หนว ยความจาํ รอม (ROM : Read-only Memory) ROM ยอมาจาก Read-only Memory คอื หนวยความจําถาวร ทเี่ รา สามารถเขียนหรอื ลบโปรแกรมตา งๆได แตกม็ ี ROM บางชนดิ ไมสามารถที่ จะลบขอมูลในรอมไดเ หมอื นกัน ซึง่ ROM เปน หนวยความจาํ ทไ่ี มตอ งการ ไฟเล้ยี ง แมไมมไี ฟเล้ยี งขอมูลทอี่ ยูใ นรอมก็จะไมหายหรือถกู ลบออกจาก หนวยความจาํ ถาวร

2.1หนวยความจํารอง (secondary storage) หนวยความจาํ รอง เปน หนว ยความจาํ ท่ีใชเ กบ็ ขอมลู และโปรแกรมท่ตี อ งการใชง านในคราวตอไปได ซ่งึ สามารถบรรจุขอมลู และโปรแกรมไดเปนจํานวนมาก เปนหนว ยเกบ็ ขอมลู ถาวรทีผ่ ใู ชสามารถยายขอ มูลและ คาํ สัง่ ที่อยใู นหนว ยความจาํ แรม ขณะท่เี ครอ่ื ง คอมพิวเตอรท าํ งานมาจัดเก็บไวไ ดดวยคําสง่ั บันทกึ ของ โปรแกรมประยกุ ต ทาํ ใหผูใชส ามารถเรยี กขอ มูลและ คําส่ังมาใชในภายหลัง ซึ่งหนว ยความจาํ รองมคี วามจุ ขอ มูลมากกวา หนวยความจาํ หลกั และมรี าคาถกู กวา แต เขาถงึ ขอ มูลไดชากวา หนวยความจาํ แรม

2.2 หนวยแสดงผล (output unit) เปน หนวยท่ที าํ หนาท่ีแสดงผลทีไ่ ดจากการประมวลผลขอมูลท่เี ตรียม ไวใ นหนวยความจําหลัก เพือ่ สง ขอ มูลหรอื ส่อื สารกบั ผูรับโดยมีฮารด แวรท ําหนา ที่เปนสวนแสดงผลหรอื สง ขอมูลท่ีไดจากการประมวลผล จากซพี ียมู ายังผรู บั ท้ังในรปู แบบภาพ เสยี ง และสิง่ พิมพ ฮารดแวรที ทําหนา ทใ่ี นหนวยน้มี ีหลายประเภทดวยกัน ตวั อยา งเชน จอภาพหรอื มอนเิ ตอร ลําโพง หูฟง เครอ่ื งพิมพ และเครอ่ื งแอลซดี โี พรเจคเตอร แตละประเภทจะมลี กั ษณะและการนําเสนอขอมูลทแ่ี ตกตางกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook