หน้าต่าง Define Multiple Response Sets
Multiple Response : Frequencies เป็นคําสงั ทใี ช้ในการหาค่าความถแี ละคา่ ร้อย ละของตวั แปรทีมหี ลายคาํ ตอบ หรือข้อคําถามทีมไี ด้หลายคําตอบ เลือกเมนู Multiple Response -> Frequencies จากนนั จะแสดงหน้าตา่ ง Multiple Response Frequencies ซงึ หน้าต่างด้านซ้าย คือ Multiple Response Sets จะแสดงตวั แปรทที ําการ Define sets ในทนี ีคอื time ($EXE) คลกิ แล้วนํามาวางที หน้าต่างด้านขวา Table(s) จากนนั กดป่ มุ OK
3. การใช้คาํ สัง Compare Means คาํ สัง Means เป็นคาํ สงั ทีใช้ในการหาค่าเฉลียของตวั แปรเชิงปริมาณ จาํ แนกตามตวั แปรเชิง กลมุ่ เชน่ คา่ เฉลียของอายจุ าํ แนกตามเพศ เลอื กเมนู Compare Means -> Means จากนนั จะแสดงหน้าต่าง Means ซงึ ด้านซ้ายประกอบด้วยตวั แปรตา่ ง ๆ ส่วนด้านขวามี 2 กล่อง ได้แก่ 1) Dependent List จะใสต่ วั แปรเชิงปริมาณทตี ้องการหาคา่ สถติ ิตา่ ง ๆ เช่น ผลรวม คา่ เฉลีย คา่ สว่ นเบียงเบนมาตรฐาน ในทนี ีคอื age 2) Independent List จะใสต่ วั แปรเชงิ กล่มุ ทีต้องการจําแนก ในทนี ีคือ sex 3) เลอื ก options เพือใสค่ า่ สถิติ เช่น Mean, STD, Number of Cases, Minimum , Maximum 4) เลือก Continue แล้วเลือก OK ดงั ภาพ
Output
การจดั กระทาํ กบั ข้อมูล 1. การแปลงค่าข้อมูล บางครังอาจมีความจําเป็ นบางประการทีจะต้องเปลียนข้อมูลของบางตัวแปร ถ้าหากกลุ่ม ตวั อยา่ งมีจํานวนมาก การจะเข้าไปเปลยี นข้อมลู ยอ่ มเป็นเรืองลาํ บากและเสยี เวลา โปรแกรม SPSS มี คําสงั ให้การช่วยเหลือ ดงั นี 1.1 คําสัง Recode จากตวั อยา่ งข้อมลู ผ้วู จิ ยั ต้องการแจกแจงความถีจาํ แนกตามความถีในการเข้าใช้งานระบบ สารสนเทศ ให้เป็น 2 ความถี คือ 1) สปั ดาห์ละไมเ่ กนิ 2 ครัง 2) มากกวา่ สปั ดาหล์ ะ 2 ครัง การแปลงข้อมลู จะใช้เมนหู ลกั Transform เมนรู อง Recode และเมนยู ่อย Into Different Variables… เมนยู อ่ ยนีใช้เมือต้องการแปลงค่าข้อมลู แล้วเก็บไว้ในตวั แปรใหม่ ถ้า ต้องการแปลงคา่ ข้อมลู แล้วเก็บไว้ในตวั แปรเดิมให้เลือกทเี มนยู ่อย into Same Variables…
ถ้าคลกิ เลือกเมนยู อ่ ย Into Different Variables… คลิกเลอื กตวั แปรทีจะเปลียน ข้อมลู ในช่องทางขวาให้ย้ายมาอยใู่ นชอ่ งทางซ้าย เชน่ เลือกตวั แปร freq_use คลิกลกู ศร ตวั แปรจะ ย้ายมาอย่ใู นชอ่ ง Numeris Variable Output Variable ตังชือตัวแปรใหม่ทีเกิดจากการเปลียนข้อมูลในตัวแปร freq_use ตังชือใหม่ว่า G_freq ให้พิมพ์ใส่ในช่อง Name และให้คลิกป่ มุ Change ตวั แปร G_freq จะย้ายมาอย่ใู น ช่อง Numeric Variable -> Output คลิกป่ มุ Old and New Values… เพือแปลง ข้อมลู
ต้องการแปลงข้อมลู ความถีของการใช้งานระบบสารสนเทศ โดยให้กล่มุ ทใี ช้งานไม่ เกนิ สปั ดาห์ละ 2 ครังให้เป็นกลมุ่ ที 1 และใช้งานมากกว่าสปั ดาห์ละ 2 ครังให้เป็นกลมุ่ ที 2 ดงั นนั ใน กรอบ Old Value ให้คลกิ ที Range ชอ่ งแรกใสเ่ ลข 1 ช่องทสี อง ใส่เลข 2 ในกรอบ New value ให้คลกิ ที Value ใสเ่ ลข 1 ป่ มุ Add จะกลายเป็นสีดํา ให้ คลกิ ทีป่ มุ Add
กดป่ มุ Continue โปรแกรมจะทาํ การแปลงข้อมลู ให้ใหม่ และจะมีตวั แปรเพมิ เข้ามาในสว่ นของ หน้าจอ Data View อีก 1 ตวั แปร คอื G_freq
1.2 คาํ สัง Compute จากข้อมลู แบบสอบถามในสว่ นของข้อมลู ตอนที 3 หากต้องการหาค่าเฉลียรวมของหวั ข้อที 1 ให้คลิกทีเมนูหลกั Transform เมนูรอง Compute จะปรากฏหน้าต่าง Compute Variable
ให้ตงั ชือตวั แปรใหม่ในช่อง Target Variable: เชน่ ตงั ชอื วา่ Satisfy1 ซงึ เป็นตวั แปรทีจะ เก็บผลทไี ด้จากการบวกคา่ ตวั เลขและนํามาหารด้วยจาํ นวนข้อย่อยทงั หมด ตงั แต่ satisfy1.1 – satisfy1.4 ภายในช่อง Numeris Expression ให้ใส่ชือตวั แปรทีต้องการนาํ มาบวก โดยการนําเม้าท์ ไปคลกิ เลือกเครืองวงเลบ็ เปิ ดเลอื กชือตวั แปรแล้วกดป่ มุ ลกู ศร แล้วคลิกเครืองหมาย + คนั ทกุ ตวั แปร ใส่ เครืองหมายวงเล็บปิ ด แล้วใสเ่ ครืองหมายสแลท (/) และใส่เลขจาํ นวนข้อย่อย คอื 4 ปิ ดท้าย แล้วคลิกป่ มุ OK
ภายในตารางข้อมลู จะเกดิ ตวั แปรใหมข่ นึ มาคอื Satisfy1
2. การเลือกข้อมูล คาํ สัง select cases จากข้ อมูลตัวอย่างหากต้ องการเลือกเฉพาะกลุ่มตัวอย่างทีเป็ นเพศชายมา คํานวณค่าสถิติ สามารถทําได้โดยใช้เมนหู ลกั DATA และเมนรู อง Select Cases จะปรากฏ หน้าตา่ ง Select Cases ให้คลิกเลือก If condition is satisfied และคลกิ ป่ มุ if
จะปรากฏหน้าต่าง Select Cases if ต้องการเลอื กเฉพาะกล่มุ ตวั อยา่ งทีเป็ นเพศชายมาใช้ ในการคํานวณ ให้คลกิ ตวั แปร sex แล้วกดป่ มุ ลกู ศร ชือตวั แปรจะย้ายมาอย่ดู ้านขวา คลิกเครืองหมาย = และพมิ พ์ 1 แล้วคลิกป่ มุ Continue
โปรแกรมจะแสดงผลการเลอื กเฉพาะกล่มุ เพศชาย โดยจะเพิมตวั แปรใหม่ชือ Filter_$ โดยจะ มีรหัสข้อมลู เป็ น 1 และ 0 รหสั 1 คือ เลือกกลุ่มตัวอย่างนันมาคํานวณ และรหสั 0 คือ ไม่เลือกกลุ่ม ตวั อย่างนนั มาคํานวณ หรือสงั เกตตรงตวั เลขทีแสดงลําดบั ของกล่มุ ตวั อย่าง จะมีเครืองหมายขีดอยู่ นนั คอื กลมุ่ ตวั อยา่ งลาํ ดบั นนั ไมถ่ กู เลอื กเข้ามาคาํ นวณ ในการกําหนดเงือนไขสามารถกําหนดได้หลาย ๆ เงือนไข เชน่ เลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งทเี ป็นเพศชาย และ ประเภทบคุ ลากรสายวชิ าการ เงอื นไข คือ sex = 1 & personal = 2
3. การเพมิ ลดข้อมูล การลบตัวแปรและกลุ่มตวั อย่าง หากมตี วั แปรทีไม่ต้องการ หรือข้อมลู แถวใดทีอยากจะลบทิงไป ให้คลิกเลอื กชือตวั แปรหรือแถว จะมีแถบดาํ คลกิ ขวาทเี ม้าท์แล้วเลอื ก cut ตวั แปรหรือข้อมลู บางแถวก็จะถกู ลบทงิ การแทรกตัวแปรและกลุ่มตัวอย่าง การแทรกตวั แปร ให้คลิกไปทตี ําแหน่งของตวั แปรหรือแถวทีต้องการแทรกจะเกดิ แถบดํา ให้คลกิ ขวาทีเม้าท์แล้วเลือก Insert Variable หรือ Insert cases จะเกิดคอลมั ภ์หรือแถววา่ งขนึ ณ ตําแหนง่ ทเี ลอื ก การรวมแฟ้ มข้อมลู : กรณีรวมตวั แปร ในการแทรกกล่มุ ตวั อย่างหรือแทรกตวั แปร เชน่ ต้องการรวมข้อมลู ทเี คยป้ อนในตอนที 1 และ 2 ในชือแฟ้ ม Data1.sav ส่วนในตอนที 3 ตงั ชือแฟ้ มว่า Data2.sav แล้วต้องการเอาข้อมลู มา รวมกนั ทาํ ได้ดงั นี
1. เปิ ดแฟ้ มข้อมลู Data1.sav ขนึ มากอ่ น 2. จากนนั คลิกทเี มนหู ลกั Data เมนรู อง Mearge file และเมนยู อ่ ย Add Variables…
จะปรากฏหน้าตา่ ง Add Variables ให้เลือกข้อความ An extenal SPSS data file แล้วกดป่ มุ Browse เลือกแฟ้ มข้อมลู ทีต้องการนํามารวม แล้วคลิก open
เมือปรากฏหน้าตา่ ง Add Variables from แล้วกดป่ มุ OK โปรแกรมจะจดั การแทรกตวั แปรจาก แ ฟ้ ม ข้ อ มู ล ที 2 ต่ อ ท้ า ย จ า ก แฟ้ มข้อมูลที 1 แล้วให้ทําการบันทึก แฟ้ มเป็นชอื ใหม่ ในการแทรกกล่มุ ตวั อย่างก็ใช้วิธีการแบบเดียวกนั เพียงแตเ่ มนหู ลกั Data เมนรู อง Merge files เมนยู ่อย Add cases
การทดสอบสมมตฐิ านทางสถติ ิ การทดสอบสมมติมีจุดมุ่งหมายทีจะอธิบายหรื อสรุปลักษณะของประชากร (ค่าพารามิเตอร์) ด้วยข้อมลู ทเี ก็บรวบรวมได้จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง โดยใช้สถิติเชิงสรุปอ้างอิง ขันตอนการทดสอบสมมตฐิ านทางสถติ ิ 1. การตงั สมมติฐานทางสถิติเพือทดสอบเป็นการตงั สมมตฐิ านเกียวกบั คา่ พารามิเตอร์ ของประชากร โดยต้องมีทงั สมมตฐิ านหลกั หรือสมมตฐิ านทางการวิจยั ( ) และสมมตฐิ านรอง หรือสมมติฐานทางสถิติ หรือสมมตฐิ านทีนกั วจิ ยั ตงั ไว้ ( )
การกาํ หนดสถติ ทิ ดสอบ 1. การทดสอบสมมติฐานเกียวกบั คา่ เฉลียของประชากร ( ) โดยใช้คา่ เฉลียของ ตวั อยา่ ง × (การใช้คําสงั Compare Means : Means) แต่ในกรณีต่อไปนี 1.1 ทดสอบค่าเฉลียของประชากรเดยี ว โดยใช้สถิติทดสอบ t-Test จะเลอื กใช้ One-Sample T Test 1.2 ทดสอบความแตกต่างระหว่างคา่ เฉลยี ของ 2 กลมุ่ ประชากร โดยใช้สถิติ ทดสอบ t-Test จะเลือกใช้ Independent-Sample T Test 1.3 ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งคา่ เฉลยี ของ 2 กลมุ่ ประชากรแบบจบั คู่ โดยใช้ สถิติแบบ t-Test จะเลือกใช้ Paired-Sample T Test 1.4 การเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของค่าเฉลยี มากกวา่ 2 กลมุ่ ประชากร หรือการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว โดยใช้สถิติทดสอบ F-Test จะเลือกใช้ One-way Anova
1.5 การเปรียบเทียบคา่ เฉลียของประชากรเป็นรายคู่ หรือการเปรียบเทียบเชิงซ้อน ในกรณี ทที ราบวา่ มีความแตกตา่ งของค่าเฉลียมากกวา่ 2 กลมุ่ ประชากร โดยสว่ นใหญ่จะใช้ LSD (Least- Significant Different) โดยเลอื กใช้ One-way Anova : Post Hoc Multiple Comparisons 2. การวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรเชงิ กลมุ่ 2 ตวั ในการทดสอบความเป็นอสิ ระกนั ของ 2 ตวั แปร โดยเลอื กใช้สถิติทดสอบ Chi-Square ใน spss จะเลือกใช้คาํ สงั Crosstabs และ เลอื กสถิติทดสอบแบบ Chi-Square เชน่ การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างประเภทบคุ ลากร กบั ความถีใน การใช้งานระบบ 3. การวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั หรือการทดสอบ สมั ประสทิ ธิ สหสมั พนั ธ์ (Correlation Coefficient) ว่าด้วยตวั แปร 2 ตวั มีความสมั พนั ธ์มากน้อยเพียงใด ใน spss จะเลอื กใช้ Correlate และมี 2 คาํ สงั ให้เลอื ก คือ 3.1 Bivariate เป็ นการหาค่าสมั ประสิทธิสหสมั พันธ์ของตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั ที แสดงความสมั พนั ธ์ในรูปเชิงเส้น โดยไม่คํานึงถึงตวั แปรอืน ๆ ทเี กียวข้องเลย จงึ ทําให้ความสมั พนั ธ์ทไี ด้ไม่ใช่ ความสมั พนั ธ์ทแี ท้จริง ระหวา่ งตวั แปร 2 ตวั อาจจะมีตวั แปรอืน ๆ แอบแฝงอยู่ 3.2 Partial เป็นการหาความสมั พนั ธ์ของตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั ทีได้ควบคมุ หรือกําจดั อิทธิพลของตวั แปรอนื ๆ โดยจะเหลือเพยี งตวั แปร 2 ตวั ทตี ้องการหาความสมั พนั ธ์ เทา่ นนั
สรุปข้อมูลประเภทต่าง ๆ ทสี ามารถวเิ คราะห์ทางสถิติได้ การวเิ คราะห์ ประเภท ตวั อย่างวิธีการทางสถติ ิ การเปรียบเทียบ เชิงปริมาณ การทดสอบเกียวกบั คา่ เฉลยี เชิงปริมาณ + เชิงคณุ ภาพ ความสมั พนั ธ์ เชิงปริมาณ + เชิงคณุ ภาพ (t-Test, pair-test, F-Test) เชงิ คณุ ภาพ + เชงิ คณุ ภาพ สหสมั พนั ธ์ (correlation) เหตผุ ล เชงิ ปริมาณ + เชิงปริมาณ ตาราง crosstab (chi-square) การวิเคราะห์ความถดถอย เชงิ คณุ ภาพ + เชงิ คณุ ภาพ (Regression Analysis) ตาราง crosstab
สถติ ใิ นการทดสอบสมมตฐิ าน 1. ทดสอบค่าเฉลียของประชากรเดียว ใช้สถิติทดสอบ t-Test ใน spss จะ เลือกใช้การวิเคราะห์ข้อมลู แบบ One-Sample T Test เช่น การทดสอบรายได้เฉลียของกล่มุ ตวั อยา่ ง เทา่ กบั 25,000 บาทต่อเดอื นหรือไม่ : = 25,000 ≠ 25,000 - เลือกเมนู Analyze -> Compare Mean -> One-Sample T Test จากนนั จะแสดงหน้าต่าง One-Sample T – Test - คลกิ ตวั แปร salary แล้วคลิกลกู ศรย้ายตวั ไปช่อง Test Variable(s) - ให้ใสค่ า่ คงทใี นการทดสอบ คือ 25,000 แล้วกดป่ มุ OK จะปรากฎดงั ภาพ - กดป่ มุ Option เพือระบคุ า่ Confidence Interval (ระดบั นยั สําคญั ) 95% จากนนั กดป่ มุ Continue และกดป่ มุ Ok
ผลลพั ธ์ในการทดสอบค่าเฉลยี ของประชากรเดยี ว รายได้เฉลียของกลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื 34,530 บาท ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน คือ 12,127.65 ผลการทดสอบสมมติ พบวา่ คา่ สถิตทิ ดสอบ t-Test = 7.858 ค่า Sig. = 0.000* ซงึ มีคา่ น้อยกวา่ ระดบั นยั สาํ คญั ทีตงั ไว้ (0.05) สรุปได้วา่ ปฏิเสธสมมตฐิ านหลกั และยอมรับสมมตฐิ าน แสดงวา่ รายได้เฉลยี ของกลมุ่ ตวั อย่างไมเ่ ทา่ กบั 25,000 บาทตอ่ เดือนอย่างมี นยั สาํ คญั ทรี ะดบั 0.05 (มากกวา่ 25,000 บาทตอ่ เดอื น)
2. ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลียของ 2 กลุ่มประชากร โดยใช้สถิติทดสอบ t-Test ใน จะเลือกใช้ Independent-Samples T Test เช่น การทดสอบรายได้เฉลียของกลมุ่ ตวั อยา่ งเพศชาย และหญิง วา่ มีความแตกตา่ งกนั หรือไม่ (กลมุ่ 1 คอื เพศชาย กลมุ่ 2 คอื เพศหญิง) ตงั สมมติฐาน := :≠ - เลอื กเมนู Analyze -> Compare Mean -> Independent-Samples T Test จากนนั จะแสดงหน้าต่าง Independent-Samples T Test - คลิกตวั แปรทตี ้องการทดสอบ คือ salary คลกิ ลูกศร ตวั แปรจะย้ายไปอยู่ในช่องด้านขวา Test Variable(s) - คลิกตวั แปรกล่มุ ทีต้องการจําแนก ในทนี ี คือ sex คลิกลกู ศรด้านล่าง ตวั แปรจะย้ายไปอย่ใู น ชอ่ ง Grouping Variable สงั เกตเหน็ วา่ ตวั แปร sex จะมีเครืองหมาย ? ? - คลิกป่ มุ Define Groups จําแนกเป็ น Group1 ใสเ่ ลข 1 (ชาย) Group2 ใสเ่ ลข 2 (หญิง) - กดป่ มุ Option เพือระบุคา่ Confidence Interval (ระดบั นยั สําคญั ) 95%จากนนั กดป่ มุ Continue และกดป่ มุ Ok
ผลลพั ธ์ในการทดสอบความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉลียของ 2 กล่มุ ประชากร รายได้เฉลียของกลมุ่ ตวั อย่างเพศชาย 32,526 บาท ส่วนเบยี งเบนมาตรฐาน 12,654.91 บาท และรายได้เฉลียของกลมุ่ ตวั อย่างเพศหญิง 37,186 บาท สว่ นเบียงเบน มาตรฐาน 10,976.72 บาท ผลการทดสอบสมมตฐิ าน พบว่า 1) ค่าสถิติทดสอบความแปรปรวนของกล่มุ ตวั อย่าง (Levene’s Test for Equality of Variance) F-Test = .087 คา่ sig = .768 ซงึ มากกวา่ ระดบั นยั สาํ คญั ทีตงั ไว้ (0.05) สรุปได้ว่า ยอมรับสมมติฐานหลกั ( ) คือ ความแปรปรวนของกลุ่ม ตวั อย่างไม่มคี วามแตกต่างกนั ให้ใช้ Equal variances assumed 2) คา่ สถิตทิ ดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลยี ของ 2 กล่มุ ประชากร (t-Test for Equality of Means) t-Test = -1.928 , df = 98 , Sig = .057 ซึงมากกวา่ ระดบั นยั สําคญั ทีตงั ไว้ (0.05) สรุปได้วา่ ยอมรับสมมติฐานหลกั ( ) นนั คือ รายได้เฉลยี ของ กลมุ่ ตวั อย่างเพศชายและเพศหญิงไมแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สําคญั ทางสถิติทีระดบั 0.05
3. ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลียของ 2 กลุ่มประชากรแบบจับคู่ โดย ใช้สถิตทิ ดสอบ t-Test ใน spss จะเลือกใช้ Paired-Samples T Test เชน่ การทดสอบ คะแนนเฉลยี ก่อนอบรมและหลงั การอบรม ตวั อย่างการทดสอบความรู้เกียวกบั โปรแกรม spss ข้อที คะแนนก่อนอบรม คะแนนหลงั อบรม 19 12 28 13 37 15 48 17 55 18 66 16 77 14 84 18 95 13 10 4 19
- เลือกเมนู Analyze -> Compare Mean -> Paired-Samples T Test จากนนั จะแสดงหน้าต่าง Paired-Samples T Test - คลกิ เลือกตวั แปร pre และ post คลกิ ลกู ศร ตวั แปรทงั สองจะย้ายมาอยใู่ นชอ่ ง Paired Varliables โดยตวั แปร pre จะอยใู่ นช่อง Variables1 ตวั แปร post จะอยใู่ น ช่อง Variable2 - คลิกป่ มุ Options เพือระบคุ ่า Confiedence Interval ในทีนีเลอื ก 95% จากนนั กดป่ นุ Continue และกด Ok ดงั ภาพ
ผลลพั ธ์ในการทดสอบความแตกต่างระหวา่ งค่าเฉลยี ของ 2 กลมุ่ ประชากรแบบจบั คู่ คะแนนเฉลียก่อนการอบรมเทา่ กบั 6.3 คะแนน สว่ นเบียงเบนมาตรฐาน 1.77 คะแนน และคะแนนเฉลยี หลงั การอบรมเท่ากบั 15.5 คะแนน ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน 2.46 คะแนน คา่ สมั ประสิทธิสหสมั พนั ธ์ (correlation หรือ (r) ) = -.677 , sig = .031 ซงึ มากกวา่ ระดบั นยั สาํ คญั ทตี งั ไว้ (0.05) สรุปได้ว่า ปฏเิ สธสมมตฐิ านหลกั ( ) ยอมรับสมมติฐานรอง ( ) คอื ค่าเฉลีย ก่อนการอบรมและหลงั การอบรมมคี วามสมั พนั ธ์กนั ค่าสถิตทิ ดสอบความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉลียของ 2 กล่มุ ประชากรแบบจบั คู่ Paired Differences Sample t-Test = -7.495 , df = 9 , Sig = .000 ซงึ น้อยกว่าระดบั นบั สาํ คญั ทีตงั ไว้ (0.05) สรุปได้วา่ ปฏิเสธสมมตฐิ านหลกั ( ) ยอมรับสมมตฐิ านรอง ( ) คือ คา่ เฉลยี กอ่ นการอบรมและหลงั การอบรมมีความแตกตา่ งกนั
4. การเปรีบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลียมากกว่า 2 กลุ่มประชากร หรือการ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว โดยใช้สถิตทิ ดสอบ F-Test ใน spss จะเลือกใช้ One-way ANOVA เชน่ การทดสอบอายเุ ฉลยี ของกลมุ่ ตวั อย่าง จําแนกตามระดบั การศกึ ษา (กลมุ่ 1 ตาํ กวา่ ป.ตรี 2 ป.ตรี 3 ป.โท 4 ป.เอก) วา่ มคี วามแตกตา่ งกนั หรือไม่ ตังสมมตฐิ าน :=== , : ≠≠≠ และการเปรียบเทียบคา่ เฉลยี ของประชากรเป็นรายคู่ หรือการเปรียบเทียบเชงิ ซ้อน ในกรณีทที ราบ วา่ มีความแตกต่างของค่าเฉลียมากกว่า 2 กลมุ่ ประชากร โดยส่วนใหญ่จะใช้ LSD (Least- Significant Different) โดยเลอื กใช้ One-Way ANOVA : Post Hoc Multiple Comparisons : = = = : = อย่างน้อย 1 คู่ I ≠ j
- เลอื กเมนู Analyze -> Compare Mean -> One-Way ANOVA จากนนั จะแสดงหน้าต่าง One-Way ANOVA - คลิกเลอื กตวั แปรเชิงปริมาณทีต้องการทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลยี ในทีนีคอื age แล้วคลกิ ลกู ศร ตวั แปรจะย้ายไปอย่ใู นชอ่ ง Dependent List คลกิ เลือกตวั แปรเชิงกลมุ่ ทีต้องการจาํ แนกตามกลมุ่ ในทนี ีคือ ระดบั การศกึ ษา - จากนนั เลอื ก Post Hoc ซงึ จะแสดงหน้าต่าง One-Way ANOVA : Post Hoc Multiple Comparisons เลอื ก Equal Variances Assumed: LSD และ เลือก Significance level = 0.05 จากนนั เลอื ก Continue - เลือก Options เพือระบคุ ่า Confidence Interval ในทีนีเลอื ก 95% จากนนั คลกิ ป่ มุ Continue และป่ มุ OK ดงั ภาพ
ผลลพั ธ์ในการทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลยี มากกว่า 2 กลมุ่ ประชากร และความ แตกตา่ งของคา่ เฉลยี เป็นรายคู่ จากตาราง ANOVA จะได้คา่ ของ Sum of Squares และ Mean Square ใน Between Groups, Within Groups ค่าสถิตทิ ดสอบ F-Test = 7.561 , Sig = .001 ซงึ น้อยกว่าระดบั นยั สําคญั ทตี งั ไว้ (0.05) สรุปได้ว่า ปฏิเสธสมมตฐิ านหลกั ( ) ยอมรับสมมติฐานรอง ( ) นนั คือ กล่มุ ตวั อย่างทมี ีอายเุ ฉลยี แตกต่างกนั จะมีระดบั การศกึ ษาแตกต่างกนั ด้วย ในกรณีทผี ลการทดสอบ พบว่า อายเุ ฉลยี มคี วามแตกตา่ งกนั ถ้าระดบั การศกึ ษาของ กลมุ่ ตวั อยา่ งมคี วามแตกตา่ งกนั จําเป็นจะต้องทาํ การทดสอบสมมตฐิ านตอ่ เพือให้ทราบวา่ ระดบั การศกึ ษาคใู่ ดมีความแตกต่างกนั โดยใช้ค่า LSD พบว่า กลมุ่ ตวั อยา่ งทีมรี ะดบั การศกึ ษาทกุ ลมุ่ มี อายแุ ตกต่างกนั ทกุ กลมุ่ โดยมีคา่ Sig น้อยกว่าระดบั นยั สาํ คญั ที 0.05
5. การวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรเชิงกลมุ่ 2 ตวั ในการทดสอบความเป็ น อิสระกันของ 2 ตวั แปร โดยเลือกใช้สถิติทดสอบ Chi-Square ใน spss จะเลือกใช้คําสงั Crosstabs และเลือกสถิติทดสอบแบบ Chi-Square เช่น การหาความสมั พนั ธ์ระหว่าง ประเภทบคุ ลกรกบั ความถีในการใช้งานระบบ - เลือกเมนู Analyze -> Descriptive Statistics -> Crosstabs จากนนั จะแสดงหน้าตา่ ง Crosstabs - คลิกเลือกตัวแปรทีต้องการจําแนกตามแถว ในทีนี คือ ประเภทบุคบากร (person1) แล้วคลิกลกู ศรด้านบน ตวั แปรจะย้ายไปอย่ใู นชอ่ ง Rows และคลิกเลอื กตวั แปรที ต้องการจําแนกตามคอลมั ภ์ ในทีนีคือ ความถีในการใช้งาน (freq_use) คลิกลกู ศรด้านลา่ ง ตวั แปรจะย้ายไปอยใู่ นชอ่ ง Columns - จากนนั เลือกป่ มุ Statistics ซึงจะแสดงหน้าต่าง Crosstabs: Statistics เลอื ก Chi-Square (สถิตทิ ดสอบ) จากนนั กดป่ มุ Continue และกดป่ มุ OK
ผลลพั ธ์ในการทดสอบความสมั พนั ธ์ของตวั แปรเชิงกล่มุ 2 ตวั จากตาราง Crosstabs เพือแสดงค่าความถีและค่าร้อยละระหวา่ งประเภทบคุ ลากร (ตามแถว) กบั ความถีในการใช้งาน (ตามคอลมั ภ์) เมอื ทดสอบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระหวา่ ง ประเภทบคุ ลากรกบั ความถีในการใช้งาน พบว่า Person Chi-Square = 93.792 และ Sig = .000 ซงึ น้อยกวา่ ระดบั นยั สาํ คญั ทตี งั ไว้ (0.05) สรุปได้วา่ ปฏิเสธสมมตฐิ านหลกั ( ) ยอมรับสมมตฐิ านรอง ( ) นนั คือ ประเภท บคุ ลากรและความถีในการใช้งานระบบสารสนเทศมีความสมั พนั ธ์กนั
6. การวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั หรือการทดสอบ สมั ประสิทธิสหสมั พนั ธ์ (Correlation Coefficient) วา่ ตวั แปร 2 ตวั มีความสมั พนั ธ์มาก น้อยเพยี งใด ใน spss การคํานวณหาคา่ สมั ประสิทธิสหสมั พนั ธ์จะเลอื กใช้คาํ สงั correlate และมี 2 คําสงั ให้เลอื ก คือ Bivariate กบั Partial การประมาณค่าสมั ประสิทธิสหสมั พันธ์ของประชากร ( ) โดยใช้ค่าสมั ประสิทธิ สหสมั พนั ธ์ของตวั อย่าง (r) ค่าสมั ประสทิ ธิสหสมั พนั ธ์มีคา่ สงู สดุ เป็น 1 และคา่ ตําสดุ เป็น -1 โดยที 1) ถ้าคา่ r มีคา่ เข้าใกล้ 1 หมายถึงตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั มีความสมั พนั ธ์ในทิศทาง เดียวกนั และมคี วามสมั พนั ธ์กนั มาก 2) ถ้าค่า r มีค่าเข้าใกล้ -1 หมายถึงตวั แปรเชิงปริมาณ 2 ตวั มีความสมั พนั ธ์ใน ทิศทางตรงกนั ข้ามและสมั พนั ธ์กนั มาก 3) ถ้าค่า r มีค่าเข้าใกล้ 0 หรือเท่ากับ 0 แสดงว่ามีความสมั พนั ธ์กันน้อยหรือไม่มี ความสมั พนั ธ์กนั เลย
ถ้าเลอื ก Bivariate - เลือกเมนู Analyze -> Correlate -> Bivariate จากนนั จะแสดงหน้าตา่ ง Bivariate Correlations - คลิกเลือกตวั แปรเชิงปริมาณทีต้องการหาความสมั พนั ธ์ ในทีนีเลือกอายุ (age) และ เงนิ เดือน (salary) - กล่อง Correlation Coefficients ให้เลือก Pearson Correlation และเลือก OK
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104